Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Access KT

Access KT

Published by 1.patanrad, 2019-10-20 11:53:23

Description: Access KT

Search

Read the Text Version

ปกานต์ ปธานราษฎร์

Preparing patients and family access to KT การเตรยี มการปลกู ถ่ายไตในผปู้ ว่ ยลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง



แบ่งการปลูกถ่ายไตออกเป็น 2 ชนดิ Living-related KT การปลกู ถ่ายไตจากญาตพิ ีน่ ้อง(สายเลือด, สาม-ี ภรรยา) มคี วามคลา้ ยกันของ HLA-complatibility สาเรจ็ > 80 % คอื การเข้ากนั ได้ของ แอนตเิ จน human leukocyte antigen (HLA) Cadaveric/Deceased donor (CD) การปลกู ถา่ ยไตจากผูท้ ่เี สียชวี ิตทบ่ี ริจาคไต

คุณสมบัติของผู้รับไต Inclusion criteria - อายุ 15-60 ปี - ESRD

Exclusion criteria Absolute contraindication (ขอ้ ห้ามสมบรู ณ)์ Active infection HIV infectionExclusion criteria Severe metabolic Disease เช่น febry”s Disease Malignancy High risk perioperative เช่น CHF COPD IHD

Mental retardation Active pancreatitis,hepatitis Malignancy High risk perioperative เชน่ CHF COPD IHD

Relative contraindication (ข้อหา้ มสมั พทั ธ)์ Renal diesease ท่มี ีอัตราเสี่ยงRecurrent rate สงู Unrepaired urological abnormality amyloidosis ตาบอด Recipient ไม่เต็มใจระหวา่ งทจ่ี ะรบั การผา่ ตดั Carrier สาหรบั hepatitis B,C

ขอ้ หา้ มสาหรบั ผบู้ ริจาคที่มชี ีวติ 1. ไมส่ ามารถให้ความยินยอม 2. เกยี่ วข้องกับการซือ้ ขายอวยั วะ 3. BP สูงจนอวยั วะภายในเสือ่ มโทรม 4. BMI > 35

ขอ้ หา้ มสาหรบั ผบู้ ริจาคท่มี ีชวี ติ 5. มะเร็ง ยกเว้น ผิวหนังและปากมดลูกระยะแรก 6. ตั้งครรภ์ 7. ตดิ ยาเสพตดิ ชนดิ ฉีดเข้าเสน้ 8. โรคปอด ไต โรคหวั ใจร้ายแรง เบาหวาน 9. เกล็ดเลอื ดตา่

การวินิจฉัยสมองตายให้ทาได้ในสภาวะและเงอ่ื นไข ดงั ต่อไปน้ี (๑) ผู้ป่วยตอ้ งไมร่ สู้ ึกตวั และไม่หายใจโดยมีข้อวินิจฉัยถงึ สาเหตุ ให้รูแ้ นช่ ดั วา่ สภาวะของผูป้ ่วยน้เี กดิ ขนึ้ จากการที่สมองเสียหายโดยไมม่ หี นทางเยียวยาได้ (irremediable and irreversible structural brain damage)

(๒) การไม่ร้สู กึ ตวั และไมห่ ายใจน้ไี ม่ได้เกดิ จาก ก. พิษยา (drug intoxication) เช่น ยาเสพติด ยานอนหลับ ยาคลายกลา้ มเนอ้ื สารพิษท่มี ีผลให้กล้ามเนื้อไม่ทางาน ข. ภาวะอณุ หภูมิในร่างกายต่ารุนแรง (น้อยกว่า ๓๒ องศาเซลเซยี ส) ค. ภาวะผิดปกติของระบบต่อมไรท้ อ่ และเมตาโบลิก (endocrine and metabolic disturbances) ง. ภาวะช็อก (shock) ยกเวน้ ทเ่ี กดิ จากการสูญเสียหน้าทข่ี องระบบประสาทท่ี ควบคุมการเต้นของหวั ใจและการหดตัวของหลอดเลือด(neurogenic shock)

เพื่อยืนยนั การวินฉิ ัยสมองตาย ใหต้ รวจตามเกณฑ์ ดังนี้ (๑) ตรวจไมพ่ บการเคลื่อนไหวใด ๆ ไดเ้ อง ยกเว้นการเคล่ือนไหวท่เี กดิ จากรเี ฟลกซ์ของ ไขสนั หลัง (spinal reflex) (๒) ตรวจไมพ่ บรเี ฟลกซ์ของก้านสมอง (absence of brainstem reflexes) ตอ่ ไปนที้ ง้ั หมด ยกเวน้ ในส่วนท่ีมขี ้อจากัดไม่สามารถตรวจได้

(๒) ตรวจไมพ่ บรีเฟลกซ์ของก้านสมอง (absence of brainstem reflexes) ต่อไปนท้ี ง้ั หมด ยกเว้นในสว่ นทม่ี ขี อ้ จากดั ไม่สามารถตรวจได้ ก. รีเฟลกซ์ของรมู า่ นตาต่อแสง(pupillary light reflex ข. รีเฟลกซ์ของกระจกตา(corneal reflex) ค. การเคลอ่ื นไหวของกลา้ มเนอ้ื ใบหนา้ และลูกตา ( motor response within the cranial nerve distribution) ง. เวสติบูโลออกคลู าร์รีเฟลกซ์(vestibulo-ocular reflex) จ. ออกคโู ลเซฟาลกิ รีเฟลกซ์( oculocephalic reflex) ฉ. รเี ฟลกซ์ของการกลนื และการไอ(gag and cough reflexes)

(๓) สภาวะการตรวจพบใน ข้อ ๔ (๑) และ ๔ (๒) นตี้ ้องไมม่ กี าร เปลีย่ นแปลงเปน็ เวลาอย่างนอ้ ย ๖ ช่วั โมง จึงวินจิ ฉยั สมองตาย ยกเว้นใน ทารกอายุนอ้ ยกวา่ ๗ วันไมส่ ามารถตรวจวนิ ิจฉัยด้วยเกณฑ์ ดงั กล่าวได้ สาหรับทารกอายรุ ะหว่าง ๗ วนั ถงึ ๒ เดอื น ตอ้ งไมม่ กี าร เปลีย่ นแปลงเปน็ เวลาอย่างน้อย ๔๘ ชัว่ โมง และทารกอายุระหวา่ ง ๒ เดือนถึง ๑ ปี ต้องไม่มกี ารเปลย่ี นแปลงเปน็ เวลา อย่างน้อย ๒๔ ช่ัวโมง

(๔) ทดสอบการไมห่ ายใจ(apnea test)เปน็ บวก(positive)หมายความวา่ ไม่มี การเคล่อื นไหวของทรวงอกและหน้าท้องเมอ่ื หยุดเคร่ืองช่วยหายใจเปน็ เวลา อยา่ งน้อย ๑๐ นาที บง่ บอกถึงกา้ นสมองสญู เสียหนา้ ทโ่ี ดยสิน้ เชงิ และสมองตาย ขัน้ ตอนก่อนการทดสอบน้ตี ้องเตรยี มผู้ป่วย เพอื่ ให้มคี ่าความดันของออกซเิ จนในกระแสเลอื ด (PaO2) มรี ะดบั ทีส่ งู เพียงพอ (มากกว่า๒๐๐ มลิ ลเิ มตรปรอท) เพื่อปอ้ งกนั ภาวะขาดออกซเิ จนในระหวา่ งการทดสอบ โดยตั้งเครอ่ื งชว่ ยหายใจดงั นี้ ให้ความเข้มข้นออกซเิ จน๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ (FiO2เทา่ กับ ๑.๐) ปริมาตรการหายใจตอ่ คร้ัง (tidal volume) เทา่ กับ ๑๐ มิลลิลิตร /กโิ ลกรมั อตั ราการหายใจ ๑๐ คร้ัง/นาที เป็นเวลาประมาณ ๓๐ นาที เพ่ือให้ไดค้ ่าความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ใกล้เคียง ๔๐ มลิ ลิเมตรปรอท จงึ เร่มิ ทดสอบ และระหวา่ งการทดสอบ ใหส้ อดสายยางนาออกซิเจนความเข้มข้นเทา่ กบั ๑๐๐เปอรเ์ ซน็ ต์ เข้าในหลอดลมระดับคาไรนา (carina) ในอัตรา ๖ ลิตร/นาที หลังจากหยุดเครือ่ งช่วยหายใจอย่างนอ้ ย ๑๐ นาที จากนนั้ ใหเ้ จาะตรวจวัดค่าความดนั ของ คาร์บอนไดออกไซด์ในกระแสเลือด(PaCO2) ซ่งึ มคี า่ ไม่น้อยกวา่ ๖๐ มลิ ลิเมตรปรอท หรือมีค่าเปล่ยี นแปลงมากขนึ้ ตา่ งกนั ระหว่างก่อนและหลังถอดเครอื่ งช่วยหายใจไมน่ อ้ ยกว่า ๒๐ มลิ ลเิ มตรปรอท

ขอ้ ๕ กรณไี มส่ ามารถทดสอบการไมห่ ายใจตามขอ้ ๔(๔)ได้ สามารถวินิจฉัย สมองตายได้ โดยการตรวจด้วยวธิ ีท่ยี ืนยันวา่ ไมม่ เี ลือดไหลเวียนเขา้ สูส่ มองได้แก่ cerebral angiography หรอื isotope brain scan เปน็ ตน้ ขอ้ ๖ กรณเี ด็กทารกอายุระหว่าง ๗ วันถึง ๒ เดอื น ใหม้ ีการตรวจยนื ยนั ดว้ ยการ ตรวจคลน่ื ไฟฟา้ สมอง (electroencephalogram) ๒ คร้ัง หา่ งกนั ๔๘ ชัว่ โมง หาก อายุระหวา่ ง ๒ เดอื นถึง ๑ ปใี หต้ รวจยืนยนั ด้วยการตรวจคล่นื ไฟฟา้ สมอง (electroencephalogram) ๒ ครง้ั หา่ งกนั ๒๔ ชั่วโมง

(๑) การวนิ ิจฉัยสมองตายให้กระทาโดยองค์คณะของแพทยไ์ มน่ ้อยกวา่ ๓ คน และตอ้ งไม่ประกอบดว้ ยแพทย์ผ้ทู าการผา่ ตดั ปลกู ถ่ายอวัยวะรายนนั้ หรอื แพทย์ท่ีดแู ลผปู้ ว่ ยท่ีต้องการอวัยวะไปปลูกถา่ ย หากมีขอ้ สงสัยให้ ปรึกษาแพทย์ผูเ้ ชย่ี วชาญด้านระบบประสาท แพทย์ผู้ดแู ลผู้ปว่ ยสมองตายทอ่ี ยใู่ นข่ายเปน็ ผบู้ รจิ าคอวัยวะไดต้ ามเกณฑ์ของศนู ย์ รบั บรจิ าคอวยั วะสภากาชาดไทย ควรดาเนินการตรวจวนิ ิจฉยั สมองตาย โดยไมช่ กั ชา้ และแจ้งให้ญาตขิ องผปู้ ว่ ยทราบ เม่อื ผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ทจี่ ะทดสอบการไม่หายใจ เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มของญาติ และให้โอกาสในการบรจิ าคอวยั วะเม่อื วนิ จิ ฉัยสมอง ตายแลว้ ผู้อานวยการโรงพยาบาลหรอื ผไู้ ดร้ บั มอบหมาย จะต้องร่วมเปน็ ผู้รบั รองการ วินจิ ฉยั สมองตายและเปน็ ผู้ลงนามรบั รองการตาย

การปอ้ งกนั ภาวะสลัดไต 1 ทดสอบความเขา้ กนั ได้ของแอนติบอดบ้ี นผวิ เซลล์ หม่เู ลอื ด human leukocyte antigen (HLA) เลือก ABO compatible doner ท่ี (HLA) cross matching กบั recipient serum

Human lymphocyte antigen (HL-A) การทดสอบนี้อาศยั หลักการแยกลิมโฟซยั ทข์ องผทู้ ่ี ตอ้ งการจะทดสอบแลว้ นาไปบ่มหรอื อบ (incubate) กบั แอนติซรี ่มั จานวนหน่งึ (แอนติซีรมั่ น้ีไดม้ า จากซรี ่มั ของคนบางคนท่ีเคยไดร้ บั เลือดในอดีตหรอื ในหญงิ ที่มีบตุ รหลายคน คนเหล่านี้จะสรา้ ง isoantibody ซึ่งจะมีปฏกิ ิริยาคอ่ นข้างเฉพาะตัวกับลิมโฟซยั ท์ของผทู้ ่ตี อ้ งการจะทดสอบ) โดยการ ทดสอบปฏกิ ริ ยิ าของลิมโฟซัยทซ์ ึง่ เกิดหลงั จากบ่มหรอื อบกบั แอนติซรี ั่มแลว้ ทาให้จดั กลุ่มลมิ โฟซัยท์ ได้ทานองเดียวกับการจัดหม่เู ลือด แต่แทนทจ่ี ะเรยี กเป็นหมู่ A, B, AB หรอื O นนั้ หมู่ของลมิ โฟ ซัยทม์ ีเคร่อื งหมายเปน็ ตวั เลขและมี ๒ ตาแหน่ง (loci) แต่ละตาแหนง่ มีได้ ๒ แอนติเจน ตาแหน่ง ที่ ๑ ได้แก่ HL-A1, HL-A2, HL-A3, HL-A9, HL-A10, HL-A11 ตาแหน่งที่ ๒ ได้แก่ HL-A5, HL-A7, HL-A8, HL-A12, HL-A13 นอกจากน้ยี งั มแี อนติเจนอื่น ๆ ซึ่งค้นพบใหม่ในห้องปฏิบัตกิ ารของแต่ละแห่งอกี ซึง่ บางแอนตเิ จนก็ ยังไม่มีชื่อทีย่ อมรบั กนั อยา่ งสากลตวั อย่างการบอก HL-A ของแต่ละคน เช่นเปน็ HL-A 1,5,9,12 ซึ่งหมายความว่า ถ้าคนสองคนมแี อนติเจนเหมอื นกนั เช่นนก้ี แ็ สดงว่าร่างกายจะยอมรบั อวยั วะของอีกคนหนง่ึ ไว้เกือบ เหมือนอวัยวะของตวั เอง และการสลดั ทงิ้ จะไม่รนุ แรง

Mix lymphocyte culture หลักการก็คอื นาเอาลิมโฟซัยท์ของผ้ใู ห้ และผู้รับนามาเล้ียงไวด้ ้วยกัน แล้วสังเกตดูการเกิดบลาสท์เซลล์ทง้ั นี้ ถอื หลกั วา่ ถ้าลิมโฟซัยท์เข้ากันไดด้ ี การเกดิ บลาสทเ์ ซลล์กจ็ ะไมม่ ี แต่ ใช้เวลานาน

การใหย้ ากดภมู คิ มุ้ กนั ทใ่ี ชบ้ อ่ ยมี 4 ชนิด 1.เอซาไธโอพรนี (Azathioprine) ลดการสร้างDNA เป็นยาท่ีใชใ้ นการรกั ษาโรคตุ่มน้าพอง โรคเอสแอลอี นอกเหนอื จากฤทธกิ์ ดภมู ิคุ้มกันแล้ว อาจมีฤทธ์กดการทางานของไขกระดูก กด การสร้างเกร็ดเลือด, เม็ดเลือดขาวและเมด็ เลอื ดแดงและอาจยงั มผี ลขา้ งเคียง คือเปน็ พษิ ตอ่ ตบั ได้ ดงั นั้นควรหลกี เลยี่ งการด่มื เครอื่ งดม่ื ท่มี แี อลกอฮอล์และ หากมีแผลในปาก ออ่ นเพลียผดิ ปกตหิ รือตวั เหลอื ง เหลือง ให้รีบไปพบแพทย์

2.เพร็ดนโิ ซโลน (Prednisolone) เป็นยาในกลมุ่ สเตียรรอยด์ ใชใ้ นการรักษาโรคตมุ่ น้าพอง, โรคภมู แิ พ้ผวิ หนงั , โรคเอ สแอลอี (SLE) เปน็ ต้น มผี ลข้างเคียงท่ีสาคัญ นอกเหนือจากฤทธิก์ ดภมู คิ ้มุ กัน ดงั นี้ 1.ผลข้างเคียงเหลา้ นเี้ ป็นผลขา้ งเคียงทเ่ี กดิ ไดบ้ อ่ ย แตม่ ักไมเ่ ป็นอันตรายรุนแรง หากไม่แน่ใจ ใหป้ รกึ ษาแพทย์ เช่น อว้ น นา้ หนักเพม่ิ ความอยากอาหารเพ่มิ ขึน้ บวม หน้ากลม เป็นสิว ผวิ แตกลาย เปน็ ตน้ ผปู้ ว่ ยควรควบคมุ น้าหนัก โดยเลอื กรบั ประทานอาหารทม่ี ีกากใยสูง ไดแ้ ก่ ผักและผลไม้ท่ีมรี สชาตไิ มห่ วาน เชน่ ฝรั่ง แอปเปิล้ แก้วมงั กร มะละกอ เป็นต้น 2.ระคายกระเพาะอาหารและอาจทาใหเ้ กิดแผลในกระเพาะอาหารได้ ดังนน้ั แพทยจ์ ะสง่ั ยา ลดกรดควบคู่ไปด้วยกรณีทีต่ ้องรับประทานยาในขนาดสงู นอกจากนผ้ี ู้ปว่ ยควรรับประทานยา หลงั อาหารทันทแี ละดื่มน้าตามมากๆ หากมีอาการอาเจยี นหรอื ถ่ายอุจจาระเป็นสีดาหรอื เปน็ เลือด มอี าการซดี หน้ามดื วิงเวยี น ให้รีบไปพบแพทย์

3.กระดูกบาง หากใช้ยาต่อเนอ่ื งเปน็ เวลานาน ซ่งึ แพทยจ์ ะพิจารณาให้ รับประทานแคลเซยี มและวติ ามนิ ดีเสริมหรือยาที่ชว่ ยลดการสลายตวั ของ กระดกู ควบคู่ไปด้วย 4.ระดับนา้ ตาลในเลือดสูงขนึ้ ไดใ้ นบางรายและทาใหก้ ารควบคมุ นา้ ตาลยาก ข้นึ ไดใ้ นผู้ปว่ ยเบาหวาน ซึง่ แพทย์จะพิจารณาตรวจนา้ ตาลและใหก้ ารดแู ล อยา่ งใกลช้ ิด หากมีน้าหนักเพิ่มขนึ้ ปัสสาวะบอ่ ย ควรรายงานให้แพทยท์ ราบ 5.หากรับประทานต่อเนอ่ื งเปน็ เวลานาน มฤี ทธก์ิ ดการทางานของตอ่ มหมวก ไตได้ ดังนัน้ ไม่ควรหยุดยาเพร็ดนิโซโลนเอง ควรลดยาตามคาสง่ั ของแพทย์ เทา่ น้นั

3.ไซโคลสปอริน (Cyclosporin) ไดร้ ับความสนใจมากในการปอ้ งกันภาวะสลดั ไต ไมม่ ีผลอื่นใคต่อเซลล์อื่นของระบบภมู คิ มุ้ กนั นอกจาก T-lymphocyte เป็นยาที่ใชใ้ นการรกั ษาโรคสะเกด็ เงนิ และโรคผน่ื ผิวหนังอักเสบภมู แิ พ้ 1.หา้ มรบั ประมานยากับผลไม้ Grapefruit เนื่องจากทาให้ระดับยาในเลอื ดสูงขึ้น และอาจเปน็ พษิ ได้ 2.ผลข้างเคยี งทส่ี าคัญ ได้แก่ ติดเช้อื ไดง้ ่าย ความดนั โลหติ สงู ขนดก K สูงและ เปน็ พษิ ต่อไต จงึ ควรใชย้ าและติดตามการรักษากับแพทยอ์ ยา่ งเคร่งครดั

4. Antilymphocyte globulin เป็นยาลด cell mediate immune responce ผลข้างเคียงคอื ติดเชอื้ ไดง้ ่าย

ภาวะแทรกซอ้ นจากการปลกู ถา่ ยไต 1.ภาวะแทรกซ้อนจากเทคนคิ การผา่ ตดั 1.1 ภาวะหลอดเลือดอดุ ตันจาก thrombosis หรอื Renal atery stenosis 1.2 Urinary infection ,Obstruction 1.3 แผลผา่ ตดั

2 ภาวะสลดั ไต 2.1 ภาวะสลัดไตทันที 24-48 ชม 2.2 ภาวะสลัดไตเฉยี บพลัน 48ชม-3เดือน 2.3 ภาวะสลัดไตเรอ้ื รัง เกดิ ขึ้นชา้ ๆ 3. ผลจากการได้รบั ยากดภูมคิ ุ้มกนั บวม เลอื ดออกในกระเพาะอาหาร เบาหวานตดิ เช้อื

3. ผลจากการไดร้ ับยากดภูมคิ มุ้ กัน บวม เลือดออกในกระเพาะอาหาร เบาหวานตดิ เช้อื 4. ความผิดปกติอื่นๆ HT ความผดิ ปกติของการเผาพลาญCa

การคดั เลือกและเตรียมผ้ปู ่วยเข้ารับการปลูกถา่ ยไต 1.ให้ความรู้แก่ผปู้ ว่ ยและบคุ ลากร เรม่ิ CKD stage 4 ทกุ รายทราบเรอ่ื งKT 2.สร้างแรงบนั ดาลใจแกผ่ ้ปู ว่ ย 3.คน้ หาสาเหตโุ รคESRDของผู้ป่วยปอ้ งกันการเปน็ ซ้า 4.ค้นหาความเสย่ี งโรคหวั ใจ

5.คน้ หาโรคของระบบหลอดเลอื ด เชน่ recent transient ischemic attack ถ้าพบควรแกไ้ ขให้เรบี ยร้อยก่อน 6.ค้นหาภาวะตดิ เช้ือซอ่ นเร้น(Infection) ต้องไดร้ ับยากดภมู ิทาให้ติดเชอ้ื งา่ ย HIV,hepB,hepC Cytomegalovirus(CMV) เป็นสาเหตสุ าคัญของการเกดิ ทพุ พลภาพ เสยี ไต เสยี ชีวติ 7. การใหว้ ัคซนี การตดิ เช้ือทม่ี วี คั ซีนปอ้ งกันมโี อกาสทุพพลภาพ เสยี ไต เสยี ชีวติ และการกระตุ้นใหเ้ กดิ ภูมิค้นุ หลังKT ทาได้ยาก 8.สบื ค้นปํญหามะเรง็

9.สืบคน้ ปํญหาโรคทางเดนิ อาหาร ป้องกนั เลือดออก 10.สบื คน้ ปํญหาโรคทางเดนิ หายใจ 11.สบื ค้นปญํ หาโรคทางเดินปัสสาวะ อาจต้องทาallow graft ในรายทเ่ี คยทาKT มาก่อน 12. ปํญหาโรคอ้วน ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาท้ังการดมยาสลบ การหายของแผล และโรค metabolic syndrome 13.สืบคน้ ปญํ หาโรคตบั เปน็ สาเหตุสาคัญของการเสียชวี ติ ฆ,. Kt จาก HBV, HCV

13.สืบคน้ ปญํ หาโรคตบั เปน็ สาเหตสุ าคัญของการเสยี ชวี ิตฆ,. Kt จาก HBV, HCV 14.ปญํ หาเบาหวาน เพราะยากดภมู คิ ุม้ กันจะยงิ่ ทาให้ควบคมุ นา้ ตาลได้ยากขึ้น 15.ปํญหาดา้ นปัจจัยการแข็งตัวของเลือด ปอ้ งกนั การเกดิ thrombosis 16.ข้อพิจารณาในการKTให้ผู้สงู อายุ เน่ืองจากcomorbicมากและฟื้นตวั ช้า ควรพจิ ารณาตามสภาพรา่ งกายและสมรรถนะของผูป้ ่วย 17.การประเมินด้านจติ ใจและสงั คม (ตอ้ งอาศัยทมี สหสาขาวชิ าชพี )

การประเมนิ สขุ ภาพของผู้ให้ไตทยี่ งั มชี ีวิต(living-donor) มขี อ้ มูลทัง้ ระยะสนั้ และระยะยาวยนื ยันตรงกนั ว่าคนปกตสิ ามารถบริจาคไตให้ 1 ข้าง โดยท่ไี ม่มีผลกระทบตอ่ รา่ งกายท้งั ระยะยาวและระยะสน้ั จากการผา่ ตดั

แนวทางการคดั เลือกผู้บริจาคไต 1.ให้ข้อมูลเปรยี บเทียบระหว่าง living-related KT กับ deceased HT อย่างครบถ้วน 2.รวบรวมรายช่ือสมาชิกในครอบครวั ที่มโี อกาสบรจิ าคไต 3.เลอื กผทู้ ีม่ ี ABO เข้าไดก้ ับผ้ปู ่วย 4.หารือกบั ครอบครัวเพือ่ เลอื กผทู้ ีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ (HLAเหมอื นท่สี ดุ )

5.ซกั ประวตั ิและตรวจสขุ ภาพ โดยเฉพาะ ก.ปัจจยั ทเ่ี พิม่ ความเสีย่ งหลอดเลือดหัวใจ เชน่ DM ไขมันในเลือดสงู ข.ประวตั ิHT ควรวดั ความดันมากกวา่ 2 ครงั้ ค.โรคไต ปสั สาวะเปน็ เลอื ด เป็นฟอง มีไขข่ าว น่วิ

ง.มะเรง็ และการตดิ เชอ้ื เรอ้ื รัง จ.โรคท่เี สี่ยงต่อการดมยาและผ่าตัด เช่น โรคหวั ใจ ถุงลมโปง่ พอง ฉ. HT ถา้ พบควรยกเลกิ การเป็นผู้บรจิ าคไต ช. DM มีความเสยี่ งหลายอย่างในผปู้ ่วยDMและการเสียไตไป 1 ข้างจะเกดิ diabetic nephropathy เรว็ ขน้ึ

ซ. คา่ การทางานของไต GFR > 80 ,]/okmu/1.739i,. ฌ. การตดิ เช้ือซ่อนเร้น HIV , hep B, Hep C ญ.การประเมนิ ดา้ นจิตใจและสังคม (ตอ้ งอาศัยทมี สห สาขาวิชาชพี ) ฎ.แพทย์จะทาการพจิ ารณาเลอื กขา้ งไตท่จี ะบริจาค

การดแู ลผู้ปว่ ยท่ไี ดร้ บั การปลกู ถา่ ยไต

ผู้ป่วยต้องเข้ารับการรกั ษาในโรงพยาบาล 2-3 วนั ก่อนผ่าตัด กอ่ นวนั ผ่าตัดควรซกั ประวัตแิ ละตรวจรา่ งกายผู้ป่วยซ้า รวมท้งั ปฎบิ ัติตาม คาแนะนาต่อไปนี้ 1. ตรวจหาการติดเชอ้ื ซ่อนเร้นของ HD access และ HD catheter 2.ตรวจหาภาวะ Peritonitis ในผูป้ ว่ ยPD สง่ cell count+diff ลแ culture ทกุ ราย 3.ตรวจหาแผลตดิ เช้ือทน่ี วิ้ เท้า

4.หยุดยาตา้ นการแข็งตวั ของเลือดอย่างน้อย 7 วัน 5.ควบคุมความดันโลหติ ให้ปกติ การลดBPใหอ้ ยรู่ ะหว่าง 120/80 mmHg อาจทาให้ไตฟนื้ ช้า 6. การเลือกยาลดความดนั โลหิต ควรได้รบั ยาเดมิ ต่อ แตค่ วรหยดุ ACEI ,ARB ,diuretics 1 วันกอ่ นผา่ ตัดโดยใชพ้ วก short acting แทน 7. ผ้ปู ่วย PD ทาPDตอ่ และปลอ่ ยทอ้ งแหง้ ก่อนเข้าหอ้ งผา่ ตดั

การพยาบาลขณะผปู้ ่วยปลูกถา่ ยไต ควรช่วยลดความกงั วล แพทยจ์ ะมี 2 ทมี กรณีท่ีliving donor

การพยาบาลผู้ปว่ ยหลงั การปลูกถ่ายไต การพยาบาลผ้ปู ว่ ยหลังการปลูกถ่ายไตทันที 24-48 ชม ต้องดูแลใกล้ชดิ และมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจดังนี้ 1. การทาหน้าทขี่ องไตทันที มีปัสสาวะทันทแ่ี ละอาจมากหลายลติ ร จนขาดสารนา้ ได้

2. การทาหนา้ ทข่ี องไตช้าๆ พบได้น้อยตอ้ งแยกให้ออกจากการ สลัดไต 3. การสลดั ไต

พยาบาลตอ้ งใหค้ วามสนใจเปน็ พิเศาในเรื่องของ 1. การใหส้ ารน้าและอิเลคโตรไลตต์ อ้ งเหมาะสม V/S 2. ประเมินการทางานของไตและปัสสาวะ ถ้าไหลชา้ อาจต้องสวนลา้ ง 3.ปอ้ งกันการตดิ เช้ือ 4.กระตนุ้ ใหม้ กี ารเคล่ือนไหวตะแครงตวั ทกุ 2 ชม หรือลกุ นั่ง 5. ดแู ลดา้ นจิตใจและสังคม

การพยาบาลผู้ป่วยระยะกลางของการผ่าตดั ชว่ งวนั ท่ี 3-14 ปกตผิ ูป้ ่วยอยู่รพ. 3 สปั ดาห์ 1.ดแู ลเรือ่ งการไดร้ ับการกดภูมคิ มุ้ กนั 2.ดแู ลเร่ืองการได้รับการกดภมู ิคุ้มกันเนอ่ื งจากขนาดยาท่สี ูงมีผลข้างเคียงมาก 3.ดูแลเรือ่ งการติดเชอื้ ควรอยู่ทอ้ งแยก แปรงฟนั วันละ 4 คร้งั WBC มักตา่

4.ประเมนิ ความก้าวหนา้ ของผู้ปว่ ย BUN ,Cr, E lyte ทุกวนั 5. ดูแลเร่อื งอาหาร เนน้ อาหารให้พลังงานสูง จากัดโปรตนี น้าและเกลอื 6.ดแู ลเรอ่ื งกิจกรรม ควรให้ผู้ป่วยลกุ จากเตียงทากจิ วตั รประจาวันเอง

การพยาบาลผู้ปว่ ยระยะเตรียมผปู้ ่วยกลับบา้ น ความสาเรจ็ จะขนึ้ กบั ความยนิ ดีและเตม็ ใจท่จี ะดแู ลตนเองเพ่อื ปอ้ งกนั ภาวะตดิ เช้อื เตรยี มการสอนโดยสอนหวั ข้อตอ่ ไปน้ี 1. ยาต่างๆ

2.การประเมินภาวะสุขภาพต่างๆ ก. V/S ทุกวนั เช้า-เยน็ ข. การช่ังน้าหนกั ค. การตรวจหานา้ ตาลในปัสสาวะ ผลจากยาสเตยี รอยด์ ง. การทา I/O

3. อาการสาคัญของภาวะสลัดไต ปสั สาวะลดลงหรอื น้าหนัดเพ่ิม อุณภมู ิร่างกายสงู กวา่ 37.8 C ปวด บวม บริเวณที่ปลกู ถา่ ยไต อ่อนเพลยี ไม่สขุ สบาย อาการมกั เกดิ หลังปลกู ไตใน 3-6 เดอื นจงึ ควรนดั ผ้ปู ่วยบอ่ ยเพ่อื ตรวจการทางานไต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook