Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 Workshop dialysis nurse review counseling

1 Workshop dialysis nurse review counseling

Published by 1.patanrad, 2020-02-05 10:49:04

Description: 1 Workshop dialysis nurse review counseling

Search

Read the Text Version

Counseling aspect : CKD Patient Darunee Chunlertrith, RN Bsc (Nursing), M.ed. (Counseling) Srinagarind Hospital, Khon Kaen University 7 February 2020

Contents • Introduction • Objective • Counseling topics in CKD Pts • Counseling process • Counseling technique • Patient assessment

Introduction Counseling : professional guidance of the individual by utilizing psychological methods especially in collecting case history data, using various techniques of the personal interview, and testing interests and aptitudes.

Introduction Counseling : Support Process in which a counselor holds face to face talks with person to help him or her solve a person problem or help improve that person’s attitude, behaveior, or character.

วตั ถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา 1. เพ่ือช่วยในการปรับตวั ในการดาเนินชีวติ 2. เพื่อปรับปรุงพฤตกิ รรมทไี่ ม่เหมาะสม 3. เพ่ือลดความเครียด ( โรค,ภาวะแทรกซ้อน ) 4. เพื่อส่งเสริมสัมพนั ธภาพภายในครอบครัวและสังคม 5. เพ่ือเป็ นการเตรียมอนาคต

วตั ถุประสงค์ของการให้คาปรึกษาผู้ป่ วย ESRD 1. ผู้ป่ วยและครอบครัวเข้าใจโรคไตเรื้อรัง การรักษา และสามารถ เตรียมตวั วางแผนชีวติ ของตนเองได้ 2. ผู้ป่ วยสามารถปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม และการจดั การตนเองได้ อย่างเหมาะสม ปรับตวั กบั การดาเนินชีวติ ทจี่ ะอยู่กบั การบาบัด ทดแทนไต 3. ผู้ป่ วยเข้าสู่การบาบัดทดแทนไตได้ตามเวลาทเ่ี หมาะสม ไม่ เกดิ ภาวะฉุกเฉินคุกคามชีวติ

Counseling Topics in CKD Pts. •Modality selection •Limited physical activity. •Limited vacations. •Fluid restriction. •Fatigue. •Self Image •Anxiety & Depression

Counseling Topics in CKD Pts. •Boredom with the routine. •Decreased sex drive. •Decreased income. • Uncertainty • Complication • Malnutrition •Family / Social Role

Stressors by HD treatment •Limited physical •Boredom with the activity. routine. •Limited vacations. •Decreased sex drive. •Fluid restriction. •Decreased income. • Fatigue. • Uncertainty •Time of dialysis. •Complication

Counseling : Decision • Satisfying Decision • Optimizing Decision

Counseling process

เป้าหมายของการให้คาปรึกษา สารวจ เข้าใจ ช่วยให้ ลด/แก้ไข ทุกข์/ บุคคล ทุกข/์ ไม่สบายใจ ปรับเปลยี่ น/ ไม่สบายใจ พฒั นาตนเอง

หลักการของการใหค้ าปรึกษา บุคคล:เป็ นผู้คดิ /ตดั สินใจและปฏบิ ตั เิ อง •คดิ : หาแนวทาง / วธิ ีการลดหรือขจดั ทุกข์ •ตดั สินใจเลือก: แนวทาง/วธิ ีการลดหรือ ขจดั ทุกข์ •ปฏบิ ัติ : ตามแนวทาง/วธิ ีการทเี่ ลือกไว้เอง ผู้ใหค้ าปรึกษาเป็ นผู้เออื้ อาน ย

Stage of counseling 5. Termination or Referral 4. Plan to Intervention 3. Goal Setting 2. Problem Assessment 1. . Relationship Building

ข้นั ตอนการใหคาปรึกษา 1. สร้างสัมพนั ธภาพ พยาบาลควรมภี าพ 2. สารวจ/เข้าใจปัญหา/ความต้องการ โดยรวมของข้นั ตอน การให้คาปรึกษาอยู่ 3.หาแนวทางแก้ไขปัญหา ในใจเสมอ 4. วางแผน/ปฏบิ ัติ 5. ยุตกิ ารให้คาปรึกษา

Counseling technique เทคนิค/ทกั ษะ คาอธิบาย 1. การนา เทคนิคทพ่ี ยาบาลพูดนาผ้ปู ่ วยไปในทศิ ทางท่ี พยาบาลคดิ ว่า จะทาให้ผู้ป่ วยได้ประโยชน์สูงสุดในการมาขอรับคาปรึกษา 2. การถาม เทคนิคทใ่ี ห้ผู้ป่ วยได้เล่าความรู้สึก และเร่ืองท่ีต้องการปรึกษา 3. การซ้าความ เทคนิคทพ่ี ยาบาลพูดซ้าในเร่ืองทผ่ี ู้ป่ วยบอกอกี คร้ังหนึ่งโดย คงสาระสาคญั ของเนื้อหา หรือความรู้สึกไว้ตามเดมิ แต่ใช้ คาพูดน้อยลง 4. การเงยี บ เทคนิคการปล่อยให้มชี ่วงระยะเวลาระหว่างการปรึกษาที่ไม่มี การส่ือสาร ด้วยวาจาระหว่างพยาบาลกบั ผู้ป่ วย 5. การสรุปความ เทคนิคการรวบรวมเนื้อหาและความรู้สึกของผ้ปู ่ วยทเ่ี กดิ ขึน้ ในระหว่างให้คาปรึกษา รวมท้งั กระบวนการให้คาปรึกษา

Counseling technique เทคนิค/ทกั ษะ คาอธิบาย 6. การให้กาลงั ใจ 7. การสะท้อนกลบั แสดงความสนใจ เข้าใจในสิ่งทผี่ ้ปู ่ วยพดู และสนับสนุนให้ 8. การให้ข้อมูล เขาพูดต่อไป โดยใช้คาพูดหรือท่าทาง 9. การให้คาแนะนา เทคนิคการบอกความเข้าใจของพยาบาลทม่ี ตี ่อส่ิงที่ผ้ปู ่ วย 10. การชี้ผลทตี่ ามมา รู้สึก รับรู้หรือสนใจทเี่ ป็ นปัจจุบัน การให้ข้อมูล เป็ นการให้รายละเอยี ดทสี่ าคญั และจาเป็ นแก่ การเข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหาและการหาแนวทางแก้ไข ปัญหาแก่ผู้ป่ วย การชี้แนะแนวทางปฏบิ ตั ิในการแก้ไขปัญหาแก่ผ้ปู ่ วยว่าควร ปฏบิ ัตอิ ย่างไร เทคนิคการเน้นให้ผู้ป่ วยเข้าใจถงึ ผลทจ่ี ะเกดิ ขึน้ จากการคดิ การทาหรือการวางแผนปฏบิ ัตเิ พ่ือแก้ไขปัญหา

คาถามทพี่ บบ่อย •ต้องล้างไปนานเท่าไหร่ ถ้าไม่ล้างจะเป็ นอย่างไร •จะอยู่ได้อกี นานแค่ไหน (หลงั จากท่ีได้ยนิ ว่าเป็ นไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย) •รักษาแล้วจะหาย? •ค่าใช้จ่ายมีอะไรบ้าง? •จะเริ่มได้เม่ือไร •จะเลือกวธิ ีไหนดี •แล้วแต่คุณหมอ / คนตดั สินเป็ นคนอื่น / ไม่ยอมตัดสินใจเอง

คุณสมบตั ขิ องพยาบาลทใ่ี ห้คาปรึกษา 1. ผ่านการอบรมหลกั สูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการ พยาบาลบาบดั ทดแทนไต / เวชปฏบิ ัติการบาบดั ทดแทนไต 2. ผ่านการฝึ กอบรมการให้คาปรึกษา 3. มีประสบการณ์การดูแลผู้ป่ วยไม่น้อยกว่า 2- 3 ปี 4. มีบุคลกิ ภาพทดี่ ี ท่าทเี ป็ นมิตร สุภาพ อ่อนน้อม รู้กาละเทศะ มคี วามสามารถในการสื่อสารได้ดี มีวฒุ ภิ าวะทางอารมณ์

สถานท่ีให้คาปรึกษา 1.ห้องให้คาปรึกษาในหน่วยงานทใ่ี ช้แนวปฏิบัติการ พยาบาล การให้คาปรึกษาเพ่ือเลือกวธิ ีการบาบัดทดแทน ไต เช่น CKD clinic , Pre HD 2.ห้องให้คาปรึกษา หรือสถานที่ให้คาปรึกษาต้องเป็ น สัดส่วน สะอาด สงบ สามารถเกบ็ ความลบั ผู้ป่ วยได้ มี โต๊ะ เก้าอนี้ ั่ง

การประเมนิ ผู้ป่ วย 1. ทบทวนประวตั ใิ นเวชระเบยี น ดูข้อห้ามสัมบูรณ์ใน RRT 2. ประเมนิ ความพร้อม และความต้องการรับคาปรึกษาของผู้ป่ วย เพื่อให้รู้ว่าสื่อสารได้หรือไม่ 3. ซักประวตั กิ ารเจบ็ ป่ วยและการรักษา 4. ตรวจร่างกาย ด้านการสื่อสาร / ประเมนิ ผลการตรวจ Lab 5. ประเมินผลการตรวจพเิ ศษ 6. แลกเปลยี่ นข้อมูล วถิ ีชีวติ และส่ิงแวดล้อม อาชีพ สังคม ความ เหมาะสมในการทา RRT / ผู้ป่ วยสามารถเลือกได้ถ้าไม่มีข้อจากดั

การประเมนิ ผู้ป่ วย กรณตี รวจพบการสื่อสารบกพร่อง ไม่สามารถพดู คุยตอบคาถามได้ -ประเมินความรู้สึกตวั -ประเมินสัญญาณชีพ และอาการแสดงต่าง ๆเช่น พบหายใจตื้น ใจสั่น ปากแห้ง คลื่นไส้ เบ่ืออาหาร เวยี นศีรษะ ปวดศีรษะ มือเท้าเยน็ กล้ามเนื้อตงึ เกร็ง มีความอ่อนล้า เหนื่อยง่าย อาการสั่น นอนไม่หลบั -ประเมนิ ผลการตรวจเลือด และโรคร่วม

การประเมนิ ผู้ป่ วย •กรณใี ห้คาปรึกษาญาตผิ ู้ป่ วย ต้องเป็ นญาตสิ ายตรงท่ีเป็ นผู้รับผดิ ชอบ หลกั อย่างน้อย 1 คนในกรณี ผู้ป่ วยต่อไปนี้ •ผู้ป่ วยอายุมากเกนิ 80 ปี •ผู้ป่ วยที่มกี ารทาลายของสมองอย่างรุนแรงอย่างถาวรจนไม่สามารถทา กจิ วตั รใด ๆได้ •ผู้ป่ วยท่มี โี รคทางจิตเวช / ผู้ป่ วยตดิ เตยี งต้องมผี ู้ดแู ลตลอดเวลา •ผู้ป่ วยทมี่ โี รคอ่ืน ๆนอกเหนือจากโรคไตเรื้อรังและได้รับการพจิ ารณา แล้วว่าโรคน้ัน ๆอยู่ในระยะสุดท้ายทีไ่ ม่สามารถรับการรักษาให้ดขี นึ้ ได้

การประเมนิ ผู้ป่ วย •ผู้ป่ วยทแี่ พทย์คาดว่าจะมีชีวติ ได้ไม่เกนิ 1 ปี •ผู้ป่ วยทม่ี ีสภาวะไม่เหมาะสมสาหรับการทา RRT ได้แก่ ผู้ป่ วยทม่ี ี โอกาสสูงทจ่ี ะไม่ประสบความสาเร็จในการเตรียมหลอดเลือดสาหรับการ ฟอกเลือดทุกประเภททต่ี าแหน่งใดได้ และมสี ภาพช่องท้องหรือผนังหน้า ท้องทไี่ ม่เหมาะกบั การล้างไตทางช่องท้อง หรือมีโอกาสสูงทจี่ ะเกดิ ภาวะแทรกซ้อนระหว่างการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทยี ม เช่น ความดนั โลหิตตา่ มาก ภาวะหัวใจเต้นผดิ จงั หวะทมี่ ีผลต่อระบบไหลเวียนโลหิต ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และ ไม่สามารถเปลย่ี นเป็ นการล้างไตทาง ช่องท้องทดแทนได้

Consideration 1.ตรงต่อเวลานัดหมาย 2.ให้ความสาคญั กบั ภาษาท่าทางให้มาก 3.หลกี เลยี่ งการถามข้อมูลทลี่ ะเอยี ดอ่อน หรือเจาะจงเกนิ ไป 4.หลกี เลยี่ งการแนะนาให้ผู้ป่ วยปฏบิ ตั ติ ามความเห็นของ พยาบาล

Consideration 5. กรณใี ห้ข้อมูลเกย่ี วกบั การบาบดั ทดแทนไต ต้องให้ข้อมูล ข้อดี ข้อจากดั และรายละเอยี ดแต่ละวธิ ีให้ครบถ้วน 6. ให้ข้อมูลเกย่ี วกบั สิทธิค่ารักษาพยาบาล 7. ให้ข้อมูลหน่วยบริการทส่ี ามารถไปใช้บริการได้ 8. ให้ข้อมูลทุกประเดน็ ทเ่ี กย่ี วข้องทผี่ ู้ป่ วยซักถาม

Consideration 9. หลกี เลย่ี งการเกดิ อารมณ์ร่วมและการเห็นชอบกบั พฤตกิ รรมของผู้ป่ วย 10.ไม่ควรรีบด่วนทจี่ ะสรุปและแก้ปัญหา 11.หลงั จากการให้คาปรึกษาแต่ละคร้ังแล้ว ควรบันทกึ ผล การให้คาปรึกษา 12.ต้องรักษาความลบั และประโยชน์ของผู้ป่ วย

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook