Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องอย่างถาวร

ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องอย่างถาวร

Published by 1.patanrad, 2020-03-31 23:49:34

Description: ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องอย่างถาวร

Search

Read the Text Version

โรงพยาบาล ระเบยี บปฏบิ ัตงิ านที่ เรื่อง ผู้ป่ วยล้างไตทางช่องท้องแบบถาวร ทมี่ ีภาวะเย่ือบุช่องท้องอกั เสบ (Peritonitis) ชื่อ /สกุลหรือคณะกรรมการ / ทมี ลายเซ็น วนั เดือน ปี จัดทาโดย ทบทวนโดย อนุมตั โิ ดย เริ่มใช้ สาเนาฉบับท่ี ………… บันทกึ การแก้ไข ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพิ่มเติมข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคมุ หรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พฒั นาคุณภาพเท่าน้นั

แก้ไข วนั ที่เร่ิมใช้ หน้าท่ี หวั ข้อที่แก้ไข ผ้ขู อแก้ไข คร้ังท่ี 1.0 วตั ถปุ ระสงค์ ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพิม่ เตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคุมหรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พัฒนาคณุ ภาพเท่าน้นั

1.1 เพือ่ ใหผ้ ปู้ ่ วยลา้ งไตทางช่องทอ้ งแบบถาวร สามารถไดร้ บั การประเมนิ ภาวะเยอื่ บุช่องทอ้ งอกั เสบ (Peritonitis) ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 1.2 เพ่ือใหผ้ ปู้ ่ วยลา้ งไตทางช่องทอ้ ง ปลอดภยั จากภาวะเยือ่ บชุ ่องทอ้ งอกั เสบ 1.3 เพอ่ื เป็นมาตรฐานแนวการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในทางเดียวกนั 2.0 นโยบาย - อตั ราการติดเช้ือจากภาวะเย่ือบุช่องทอ้ งอกั เสบ 3.0 ขอบข่าย ใชส้ ำหรับพยำบำลไตเทียม และพยำบำลทวั่ ไป 4.0 นยิ ามศัพท์ 4.1 การลา้ งไตทางช่องทอ้ งแบบถาวร (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis) หมายถงึ เป็นการฟอกไตทดแทน โดยอาศยั หลกั การแลกเปล่ียนสสารและน้ายาลา้ งไต และ พลาสมาของผปู้ ่ วย ผา่ นเยอื่ บผุ นงั ช่องทอ้ ง (Peritoneal membrane) 4.2 น้ายา Dialysate ที่เหมาะสมในการส่งเพาะเช้ือ หมายถึง น้ายาที่ไดจ้ ากถงุ แรกทพี่ บวา่ ขุ่น และปล่อยน้ายาออกจากช่องทอ้ งไม่เกิน 2 ชวั่ โมง 4.3 ภาวะเยื่อบชุ ่องทอ้ งอกั เสบ (Peritonitis) หมายถึง เป็นการติดเช้ือในช่องทอ้ ง โดยเช้ือโรคสามารถแพร่ผ่านเขา้ สู่ช่องทอ้ งไดห้ ลายวธิ ี ไดแ้ ก่ ขณะทาการเปล่ียนถ่ายน้ายา หรือจากเช้ือเกาะติดแน่นกบั สาย Tenckhoff ผ่านเขา้ สู่ช่องทอ้ ง หรือเช้ือโรคผ่านผนงั ลาไสป้ กติ 4.4 เกณฑก์ ารวนิ ิจฉยั ภาวะเย่อื บุช่องทอ้ งอกั เสบ โดยประเมนิ ไดจ้ ากอาการและอาการแสดง 2 ใน 3 อาการ ดงั น้ี ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพิม่ เตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคมุ หรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พัฒนาคณุ ภาพเท่าน้นั

1. อาการปวดทอ้ ง กดเจบ็ บริเวณหนา้ ทอ้ ง และพบ Rebound Tenderness 2. น้ายา Dialysate ขนุ่ พบวา่ มีเม็ดเลอื ดขาวในน้ายา Dialysate มากกว่า 100 ลกู บาศก์ มิลลลิ ติ ร และพบเมด็ เลอื ดขาวชนิด neutophil มากกวา่ 50 % 3. ตรวจพบเช้ือก่อโรคจากการยอ้ มแกรม หรือการเพาะเช้ือ 5 เอกสารอ้างองิ กิตมิ า จนั ทร์โอ และสุธิดา โตพนั ธานนท.์ การพยาบาลผปู้ ่ วยลา้ งไตทางช่องทอ้ ง ที่มภี าวะเยอื่ บุ ช่องทอ้ งอกั เสบ (Nursing Care of Peritonitis in CAPD Patients) ใน สมชาย เอย่ี มออ่ ง และคณะ (บรรณาธิการ), Textbook of Peritoneal Dialysis (พมิ พค์ ร้ังที่ 1), หนา้ 307 – 324. 6 ความรับผิดชอบ การพยาบาลผ้ปู ่ วยการล้างไตทางช่องท้องชนดิ ถาวรทีม่ ีภาวะเย่อื บุช่องท้องอกั เสบ (Peritonitis) 1. ซกั ประวตั เิ กี่ยวกบั อาการและอาการแสดง ไดแ้ ก่ อาการปวดทอ้ ง กดเจ็บบริเวณหนา้ ทอ้ ง และพบ Rebound tenderness อาจพบวา่ มอี าการทอ้ งเสีย หรือมีไขร้ ่วมดว้ ย 2. ตรวจวดั สัญญาณชีพ 3. รายงานแพทยท์ ราบ 4. แนะนาผูป้ ่ วยนาถงุ น้ายา Dialysate ถงุ แรกท่ีพบว่าขุ่น มาโรงพยาบาล และนาน้ายาถุงใหม่ มาดว้ ย 5. นาน้ายา Dialysate ทขี่ นุ่ ส่งตรวจ cell count, cell differential และ C / S 6. ติดตามผล cell count, cell differential หลงั จากส่งตรวจประมาณ 1 ชวั่ โมง 7. ถา้ พบผล cell count มากกว่า 100 ลกู บาศก์มิลลลิ ิตร และ neutophil มากกว่า 50 % รายงานแพทยพ์ ิจารณาให้ antibiotic 8. ติดตามผลเพาะเช้ือ ถา้ พบวา่ เช้ือไมต่ อบสนองตอ่ ยา ควรรายงานแพทยท์ นั ที เพ่ือพิจารณา ปรบั เปล่ียนยา วธิ ีการเกบ็ น้ายา Dialysate ส่งตรวจ ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพมิ่ เตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคมุ หรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พฒั นาคุณภาพเท่าน้นั

1. เตรียมอปุ กรณ์ ดงั น้ี - Mask - Dispossable syring 20 ml. จานวน 1 อนั - Dispossable needle no.20 จานวน 1 อนั - 2 % Chlorhexidine + 70 % Alcohol - ขวด Sterile จานวน 1 ขวด - ขวด Bactec จานวน 1 ขวด - สาลี - เสาน้าเกลือ 2. สวม Mask 3. ลา้ งมือใหส้ ะอาดครบข้นั ตอนการลา้ งมอื 4. แนะนาผปู้ ่ วยใหน้ าถุงน้ายา Dialysate ถุงแรกท่ขี นุ่ มาโรงพยาบาล และปล่อยน้ายาออกจาก ช่องทอ้ งไม่เกิน 2 ชว่ั โมง และนาถงุ น้ายาใหม่มาดว้ ย 5. เชด็ injection port น้ายาถุงใหมด่ ว้ ยสาลีชุบ 2 % Chlorhexidine + 70 % Alcohol1 ปลอ่ ยทิ้ง ไวใ้ ห้แหง้ ประมาณ 1 นาที ใช้ Syring ดูดน้ายา Dialysate จานวน 20 ml. 6. แบง่ น้ายา Dialysate ที่เกบ็ ไดจ้ านวน 10 ml. ใส่ในขวด Sterile 1 ขวด เพอ่ื ส่งตรวจ cell count, cell differential และใส่ขวด bactec จานวน 10 ml. เพ่ือส่งเพาะเช้ือ 7.รายละเอยี ด - ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพิ่มเติมข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคุมหรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พัฒนาคณุ ภาพเท่าน้นั

8.เครื่องชี้วัดคุณภาพ - ภาคผนวก กิตมิ า จนั ทร์โอ และสุธิดา โตพนั ธานนท.์ การพยาบาลผปู้ ่ วยลา้ งไตทางช่องทอ้ ง ทม่ี ีภาวะเยอ่ื บุ ช่องทอ้ งอกั เสบ (Nursing Care of Peritonitis in CAPD Patients) ใน สมชาย เอีย่ มอ่อง และคณะ (บรรณาธิการ), Textbook of Peritoneal Dialysis (พมิ พค์ ร้ังที่ 1), หนา้ 307 – 324. Flow Chart แนวปฏบิ ัติเมื่อมกี ารติดเชื้อในช่องท้อง (Peritonitis) ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพ่ิมเติมข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคมุ หรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พฒั นาคณุ ภาพเท่าน้นั

ผู้รับผดิ ชอบ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ พยาบาล พยาบาล แนะนาผูป้ ่ วยนาน้ายา Dialysate ถุงทข่ี ุ่นส่งตรวจ (ปล่อยน้ายาออกจากชอ่ งทอ้ งไมเ่ กิน 2 ชม.) พยาบาล นาน้ายา Dialysate ทีข่ นุ่ เขยา่ ให้เขา้ กนั พยาบาล พยาบาล จากน้นั เชด็ injection port ดว้ ย 2 % Chlorhexidine + 70 % Alcohol1 ~ 1 นาที พยาบาล พยาบาล ใช้ Syring ดดู น้ายา Dialysate จานวน 20 ml ส่งตรวจ ส่ง cell count. Cell differential และ C / S โดยใส่ขวด Sterile จานวน 10 ml 1 ขวด และใส่ขวด bactec จานวน 10 ml 1 ขวด ติดตามผล cell count, cell differential No ให้คาแนะนาและทบทวน หลงั จากส่งตรวจ ประมาณ 1 ชวั่ โมง ข้นั ตอนการทา CAPD รายงานแพทยเ์ พอ่ื พิจารณาใหย้ า antibiotic Yes ผสม antibiotic ในน้ายาถุงใหม่ ตามแผนการรักษาของแพทย์ นดั Follow Up เพือ่ ปรับเปลยี่ น antibiotic ติดตามผลเพาะเช้ือ ภายใน 7 วนั แบบบนั ทกึ ข้อมูลผ้ปู ่ วย CAPD Peritonitis คร้ังท่.ี ................... ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพม่ิ เตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคุมหรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พฒั นาคณุ ภาพเท่าน้นั

ช่ือ........................................................................... อาย.ุ .....................ปี HN……………………..  OPD  IPD  Ward…………………  นอนโรงพยาบาลวนั ท่ี...................................... อาการ  ปวดทอ้ ง  น้ายาขนุ่  ไข้  ทอ้ งเสีย  อื่น ๆ ................................................... PDF cell count………..………..cell/mm PMN……….% L…….…..% N…….…..% Mono….…..…% PDF c/s…………………………………………………………………………………(Xerox ใบ c/s ดว้ ย) การรักษา .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ผลการรักษา .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ผลการตรวจน้ายา PDF หลงั ไดร้ บั ยา Antibiotic ครบ PDF cell count…………cell/mm PMN…………% L…………% N……………% Mono…………% สาเหตขุ องการตดิ เช้ือ 1. ........................................................................................................................................................ 2. ........................................................................................................................................................ 3. ........................................................................................................................................................ การติดตามการรกั ษา คร้ังที่ 1. (ก่อน D/C)………………………………………………………………………………. คร้งั ที่ 2. (1 เดือน)............................................................................................................................. คร้งั ท่ี 3. (2 เดือน)............................................................................................................................. 8. รายละเอียดวธิ ีปฏิบตั งิ าน ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพม่ิ เตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคมุ หรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พฒั นาคุณภาพเท่าน้นั

วธิ กี ารผสม antibiotic ในถุงน้ายาล้างไต 1. เตรียมอุปกรณ์ ดงั น้ี - Mask - น้ายา Dialysate ถุงใหม่ จานวน 1 ถงุ - โต๊ะ Over bed จานวน 1 ตวั - Dispossable syring 10 ml. จานวน 1 อนั - Dispossable needle no.21 จานวน 1 อนั - Dispossable needle no.24 จานวน 1 อนั - 2 % Chlorhexidine + 70 % Alcohol - antibiotic - Sterile water 10 ml. จานวน 1 ขวด - Frekaderm spay - สาลี - กรรไกร - พลาสเตอร์ 2. สวม Mask 3. ลา้ งมอื ให้สะอาดครบข้นั ตอนการลา้ งมอื 4. เชด็ โตะ๊ ดว้ ยสาลีชุบ 70 % Alcohol โดยเชด็ ไปในทางเดียวกนั ไมเ่ ชด็ ยอ้ นไป – มา 5. เตรียมน้ายาถุงใหม่ และตรวจสอบถงุ น้ายาตามข้นั ตอน 6. ผสมยา antibiotic โดยใช้หลกั Aseptic technic 7. ทาความสะอาดกรรไกรโดยใช้ Frekaderm spay และตดั ถงุ ช้นั นอกของถงุ น้ายาบริเวณ injection port 8. เชด็ injection port ดว้ ยสาลชี ุบ 2 % Chlorhexidine + 70 % Alcohol ปลอ่ ยท้ิงไวใ้ ห้แห้ง ประมาณ 1 นาที ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพิม่ เตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคุมหรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พฒั นาคุณภาพเท่าน้นั

9. นายา antibiotic ท่ีผสมแลว้ ใส่ลงในถงุ น้ายาที่ injection port โดยเปลยี่ นเขม็ เป็น no.24 10. ปิ ดพลาสเตอร์บริเวณรอยตดั ให้เรียบร้อย 11. เขยี นชื่อยา antibiotic และขนาดท่ผี สมลงบนถงุ น้ายาให้ชดั เจน รูปภาพแสดงแนวปฏิบัตกิ ารผสม Antibiotic ในน้ายา PDF ล้างมือ ผกู ผ้าปิ ดปาก-จมกู ทุกคร้ัง และทาความสะอาดโต๊ะด้วยสาลชี ุบ alcohol ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพ่ิมเตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคมุ หรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พฒั นาคุณภาพเท่าน้นั

เตรียมอปุ กรณ์ ใช้ Frekaderm spay ฉีดพน่ ถงุ ช้นั นอก ใช้ Frekaderm spay ฉีดพน่ กรรไกร ตดั ถุงช้นั นอกบริเวณ injection port ดึงส่วน injection port ออกมา เช็ด injection port ดว้ ยสาลชี ุบ 2 % Chlorhexidine + 70 % Alcohol ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพิ่มเตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคมุ หรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พฒั นาคณุ ภาพเท่าน้นั

นายา antibioticทีผ่ สมแลว้ ปิ ดพลาสเตอร์ให้เรียบร้อย เขยี นช่ือยา antibiotic ท่ีผสมลงบนถงุ ใส่บริเวณน้ายา injection port ------------------------------------------------------------ ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพม่ิ เตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคมุ หรือทาสาเนาเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์ พฒั นาคุณภาพเท่าน้นั

เริ่มเก็บข้อมูล ช่ือ - สกุล แบบบนั ทกึ ข้อมูลผลการตรวจทาง วนั ที่ DM HT อน่ื ๆ Cell count --------------------------------- ห้ามหน่วยงานแก้ไข/เพม่ิ เตมิ ข้อความใด ๆ ในเอกสารควบคมุ หรือทาสาเนา

งห้องปฏบิ ตั ิการ (Peritonitis) แบบที่ 1 C/S Cell count แบบท่ี 2 C/S t Cell diff Cell diff N LM N LM ---------------------------- าเผยแพร่เอง สามารถดาเนินการได้โดยผ่านศูนย์พฒั นาคุณภาพเท่าน้นั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook