Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกปฏิบัติงาน CNC Rev.01-

คู่มือการฝึกปฏิบัติงาน CNC Rev.01-

Published by i_ Thanavisit, 2021-08-19 04:08:12

Description: คู่มือการฝึกปฏิบัติงาน CNC Rev.01-

Keywords: Jinpao Training Center

Search

Read the Text Version

คมู อื การฝกปฏบิ ตั ิงาน CNC OPERATION TRAINING MANUAL (CNC MILLING)

บทนาํ เอกสารฉบับบน้ีไดไดรวบรวมเนื้อหาท่ีเก่ียวของกับการบฏิบัติงานในสวนของชางเช่ือม โดยมี เน้ือหาประกอบไปดวย ความปลอดภัย หลักการทํางาน สวนประกอบของเครื่อง ประเภทของเคร่ืองมือ การ ตรวจสอบเคร่ือง การตั้งช้นิ งาน การโหลดโปรแกรม การเขียนโปรแกรมและแกไขโปรแกรม การตวจสอบชิ้นงาน และการบาํ รุงรักษาเคร่ืองจกั ร เพอื่ เปนแนวทางในการปฏบิ ัติงาน ท้ังนี้ผูจัดทําหวังเปน อยางยิ่งวาเอกสารฉบบั นี้จะมี ประโยชนต อ ผปู ฏบิ ัติงานในแผนกงานกัดและงานกลึง หากมขี อ ผดิ พลาดประการใดขออภยั ณ ทนี่ ด้ี วย ผจู ัดทาํ Page

สารบญั หนา 4 1 ความหมายและหลักการทํางานของเครอ่ื ง CNC Machining 4 2 สว นประกอบของเครอ่ื งจักรกล CNC 6 3 การเคลือ่ นทขี่ องเคร่ืองจกั รกล CNC 6 4 ประเภทของเคร่อื งมอื (Tooling) 7 5 ความหมายของ M code และ G code 8 6 M code สําหรับเครอ่ื ง CNC Machining 9 7 G code สาํ หรบั เครื่อง CNC Machining 10 8 การตรวจสอบเคร่อื งจักรกล CNC กอนการทาํ งาน 11 9 ความปลอดภัยในการใชเ คร่ือง CNC 13 10 Flowchart of CNC machining 14 11 จอควบคุมและฟง กชน่ั การทํางาน 17 12 ข้นั ตอนการใชง านเครอ่ื ง CNC 17 18 การเปด เครอื่ ง 19 การปรบั แกนเขา ศนู ย 20 การเปลยี่ น Tools 21 การ Run Program 22 การ Run Manual 22 การเรียกใช Tool 23 การเซท Center ของชน้ิ งานใหต รงกบั Center ของเคร่ือง CNC 23 การเขียนและแกไ ขโปรแกรมการทาํ งานหนาเครือ่ ง 24 การโหลดโปรแกรม CNC Machining (ใชโปรแกรม NC) 25 การปดเครือ่ ง 25 13 การตรวจสอบชน้ิ งาน 14 เครอื่ งมือท่ใี ชใ นการตรวจสอบชน้ิ งาน Page

1. ความหมายและหลกั การทาํ งานของเครื่อง CNC Machining เคร่อื งจกั ร CNC (Computer Numerical Control) Machining คือเครอื่ งจักรกลอตั โนมัตทิ ที่ าํ งานได ดวยระบบคอมพวิ เตอร เพื่อทําการผลิตชิน้ สวนวัสดุใหไดขนาดและรูปทรงตามท่ีตองการดว ยตัดเอาเนื้อของวัสถุ ดิบออกจนกลายเปน ช้ินงาน เหมาะสําหรับงานท่ีตองการความละเอียดหรือมีความซับซอ นสูง การควบคุมดวย ระบบคอมพิวเตอร ทําใหเคร่ืองจักรกล CNC สามารถควบคุมความละเอียด ถึง 0.001 mm. รวมถึงสามารถ ควบคมุ เคร่อื งจักรไดหลายเครื่องในคราวเดียว ซึง่ ทําใหมีความสะดวกและรวดเร็วในการทํางาน 2. สว นประกอบของเครอ่ื งจักรกล CNC การปฏิบัติงานในสวนของเคร่ืองกัด CNC ส่ิงสําคัญท่ีตองทําความเขาใจนั่นก็คือสวนประกอบของ เครื่องจักร เพื่อใหสามารถเขาใจเกี่ยวกับหนาที่การทํางานของแตละสวนไดอ ยางถูกตอง ซ่ึงสวนประกอบหลัก ของเคร่ืองกดั CNC มีรายละเอยี ดตอ ไปน้ี 1. ฐานเคร่ืองจักร (Machine Bed) เปนโครงสรางหลักของเครื่องจักรสาํ หรบั รองรบั อุปกรณและ ช้ินสว นตาง ๆ ของเครื่องจกั ร 2. จอมอนเิ ตอร (Monitor control) เปนอุปกรณทใ่ี ชสาํ หรับควบคุมการทาํ งานเครอ่ื งจกั รหรอื การ เขยี นโปรแกรม การแกไขโปรแกรม รวมถึงการปรับตงั้ คา ตาง ๆ ของเครอ่ื งจกั ร รางลาํ เลยี ง ประตูนริ ภยั แผงควบคุม เศษวสั ดุ ฐานเครอื งจกั ร สว นประกอบของเครอื่ งมิลลิ่ง CNC (ดา นนอก) Page

3. ระบบขับเคล่ือนแกน ปจ จบุ ันนิยมใชม อเตอรเซอรโว (Servo Motor) สามารถควบคมุ ใหแ ทน ยึดชนิ้ งาน (Table) เคลื่อนที่ไปในแกน X แกน Y และแกน Z โดยมีบอลลสกรูและรางเลื่อน (Guideway) ท่ี ควบคมุ การเคลอ่ื นที่ ของแกนน้ัน ๆ โดยจะมีระบบควบคุมระยะการเคลื่อนที่เปนลเิ นยี รสเกล (Linear Scale) ท่ี มีความละเอียดสูงถงึ 0.001 mm 4.ระบบสงกําลังเคร่ืองกัด (Milling Head) เปนสวนหัวของเครื่องกัดโดยมีมอเตอรขับเคลื่อน แกนเพลาจับเคร่ืองมือตัด (Spindle) ผานชุดเฟองทด ชุดสายพาน หรือตอตรงรวมเปนชุดเดียวกันเพื่อจับยึด เครื่องมอื ตัด 5.อุปกรณเปลี่ยนเคร่ืองมือตัดอัตโนมัติ (Automatic Tool Changer : ATC) ท่ีติดต้ังในเคร่ืองแม ชชีนน่ิงเซนเตอร ทีส่ ามารถเปล่ียนเคร่ืองมอื จากที่เก็บเครื่องมือตัดหรือทูลแมกกาซีน (Tool Magazine) ซึง่ จะมี แขนจับสําหรับเปล่ยี นเครือ่ งมอื ตดั (Tool Changing Arm) ตามโปรแกรมคําส่งั 6. ระบบควบคุมเคร่ืองมิลล่ิง CNC สําหรับการควบคุมการทํางานของเคร่ืองจักร CNC จะเปนการ ควบคุมผานระบบคอมพิวเตอรท้ังหมด โดยเขียนโปรแกรมคําสั่ง G Code และ M Code ซ่ึงสามารถควบคุมได ตงั้ แตการเคลอ่ื นท่งี า ย ๆ ไปจนถงึ งานทม่ี ีความซับซอ นและรูปรา งเฉพาะทางได แขนเปลยี น แกนเพลาจบั เครอื งมอื ตดั เครอื งมอื ตดั แทน่ ยดึ ชนิ งาน สว นประกอบของเครื่องมลิ ล่งิ CNC (ดานใน) และทลู แมกกาซนี Page

3. การเคลอ่ื นทขี่ องเครอื่ งจักรกล CNC การเคล่ือนท่ีของเครื่อง CNC Machining จะแบงออกเปน 2 แบบ คือ แบบ 3 แกน และ 5 แกน โดยที่แบบ 5 แกนไดมกี ารพัฒนามาจากแบบ 3 แกน ท่มี กี ารเพิม่ การเคลอ่ื นทใี่ นสว นของโตะ จับช้ินงานใหส ามารถเคลอ่ื ท่ีไดทํา ใหสามารถทานท่ีมีความซับซอนไดมากกวาแบบ 3 แกน ซึ่งท้ังสองแบบมีการเคลื่อนท่ีของแกนหลัก ก็คือการ เคลื่อนที่ตามแนวแกน X Y และ Z และแบบ 5 แกนจะมีการเคลื่อนที่ของแกนเสริมคือโตะยึดชนิ้ งานเพ่ิมเปน แกน C และแกน A Z X Y C A การเคล่อื นทีแ่ บบ 3 แกนและแบบ 5 แกน 4. ประเภทของเครือ่ งมอื (Tooling) เคร่ืองจักรกล CNC เปนเคร่ืองจักรที่สามารถทาํ งานไดหลากหลายรูปแบบอยางเชน เจาะรู กัดผิว เซาะรอง ตาปเกลียว กลึงเกลียว และกลึงปอกเปนตน ทําใหมีเคร่ืองมือสําหรับใชงานที่หลากหลายซึ่งมี รายละเอยี ดดงั ตอ ไปนี้ เครอื่ งมือสาํ หรบั เครอื่ งมลิ ลงิ่ (CNC Machining) เคร่อื งมือท่วั ไปที่มกี ารใชงานในเครอ่ื งมลิ ล่ิงหรอื เคร่ืองกัด CNC มรี ายละเอยี ดดงั ตอไปนี้ 1. ดอกสวา น (Drill) ใชส าํ หรบั งานเจาะรูทวั่ ไปมหี ลายหลายขนาดใหเลือกใชตามความ เหมาะสม 2. ดอกกดั (End mill) คือ เคร่อื งมือตัดท่ีเฉือนพืน้ ผวิ นอกของวสั ดุออกใหวสั ดุนนั้ มี พน้ื ผวิ บางลงไปจนถึงสรางรูในวัสดนุ ั้น ๆ Page

1. ดอกสวา น (Drill) ใชส าํ หรบั งานเจาะรูทัว่ ไปมหี ลายหลายขนาดใหเ ลือกใชต ามความ เหมาะสม 2. ดอกกดั (End mill) คอื เครอ่ื งมือตดั ท่ีเฉือนพน้ื ผวิ นอกของวัสดุออกใหวสั ดุนั้นมี พน้ื ผวิ บางลงไปจนถึงสรางรูในวสั ดนุ ้ัน ๆ 3. ดอกตา ป (Tap) ใชสําหรับงานสรา งเกลยี วในรูของวัสดุ ซึ่งเปนงานประเภทท่แี กไ ขได ยาก การเลือกดอกตา ปทถ่ี กู ตองตัง้ แตเ ร่ิมตนจงึ เปน สง่ิ จาํ เปน เพราะหากเราเลือกผิดอาจทาํ ใหชนิ้ งานทง้ั ชิน้ เสียหายได 4. คตั เตอรห รือหวั กัดปาดหนา (Milling cutter) ใชสาํ หรบั งานกัดเน้อื วัสดุทม่ี ีพ้นื ท่ี กวา ง ใชงานคลา ยกบั ดอกกัดจะแตกตางกันทีค่ ัตเตอรไมส ามารถเจาะรบู นวัสดไุ ด 5.ดอกเจาะนาํ ศนู ย (Center Drill) ใชส าํ หรับการเจาะรเู รยี วเลก็ ในชวงเริ่มตน ของการ ทาํ งานเพื่อจะนาํ ไปใชง านตอหรอื เจาะตอ หรือเปน รนู ํารอ งสําหรับการเจาะรชู น้ิ งานจริงเพื่อใหไ ด ตาํ แหนงที่แมนยํา เครือ่ งมือสาํ หรบั เครอ่ื งมลิ ลิง่ (CNC Machining) 5. ความหมายของ M code และ G code เคร่ืองจักรกล CNC จะทํางานได น้ันจะตองมีระบบควบคุมหรือคําส่ังท่ีระบบ คอมพวิ เตอรสามารถเขาใจได ดังน้ันจึงมรี ะบบคําสั่งที่เรียกวา M Code และ G Code เพอื่ เปน มาตรฐานในการควบคุมการทํางานหรืออีกอยางก็คือ M Code และ G Code คือภาษาท่ีมีไว สาํ หรบั ส่ือสารกับเครื่องจักรกล CNC นนั่ เอง Page

6. M code สําหรบั เครอื่ ง CNC Machining คําส่ัง M Code เปนคําส่ังสําหรับการทํางานท่ัวไปของเคร่ืองจักรกล CNC อยา งเชน การเริ่ม ทาํ งานหรือหยดุ ทาํ งาน การเปดหรอื ปด ระบบนาํ้ หลอ เย็น เปนตน โดยมรี ายละเอียดเพม่ิ เตมิ ดงั ตอ ไปนี้ ลําดบั รหัสคําส่งั ความหมาย / การทํางาน 1 M00 การหยุดโปรแกรม 2 M01 การหยุดโปรแกรมแบบมเี งื่อนไข 3 M02 4 M03 การสน้ิ สดุ โปแกรม 5 M04 เพลาจบั ยดึ เครือ่ งมือตดั หมุนตาํ มเข็มนาฬกิ า 6 M05 เพลาจับยึดเครอ่ื งมือตดั หมนุ ทวนเข็มนาฬิกา 7 M06 8 M07 หยดุ เพลาจับยดึ เครื่องมือตดั 9 M08 เปลี่ยนเครื่องมือตดั 10 M09 11 M10 เปดนํ้าหลอเย็นแบบฉีดเปน ฝอย 12 M11 เปด นา้ํ หลอ เยน็ แบบท่วั ไป 13 M30 ปดนา้ํ หลอ เยน็ 14 M98 การล็อคโดยอตั โนมัติ 15 M99 การคลายล็อคโดยอัตโนมัติ สิน้ สุดโปรแกรม เรียกโปรแกรมยอย จบโปรแกรมยอ ยและกลับไปยงั โปรแกรมหลกั Page

7. G code สาํ หรบั เครอื่ ง CNC Machining คําส่ัง G Code เปนคําส่ังที่ทําใหระบบควบคุมหรือสั่งการใหเครื่องจักรกล CNC ทําการ เคล่ือนที่ กดั ผิวหรือกลึงช้ินงานใหเปนรูปทรงเรขาคณิตตามความตองการ คําสั่ง G Code สําหรับเครื่องมิลล่ิง และเคร่ืองกลงึ จะมีความแตกตา งกนั ออกไปซึง่ มรี ายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ดงั ตอไปน้ี ลําดบั รหสั คําส่งั ความหมาย / การทํางาน 1 G00 การเคลื่อนท่เี ร็ว 2 G01 การเคล่ือนท่เี ปน แนวเสน ตรงโดยมีอตั ราปอน 3 G02 การเคล่ือนทเ่ี ปแนวเสน โคงตามเขม็ นาฬกิ า 4 G03 การเคลอื่ นท่เี ปแ นวเสนโคงทวนเขม็ นาฬิกา 5 G17 เลอื กระนาบในการทํางานแกน X, Y 6 G18 เลอื กระนาบในการทาํ งานแกน X, Y 7 G19 เลือกระนาบในการทํางานแกน X, Y 8 G20 9 G21 ปอ นขอมลู ทเ่ี ปนหนว ยน้ิว (Inc) 10 G28 ปอ นขอมลู ที่เปนหนวยมิลลิเมตร (mm) 11 G40 12 G41 การเลื่อนกลบั ไปยงั จุดอางอิง 13 G42 ยกเลกิ การชดเชยขนาดรัศมขี องเครื่องมอื ตัด 14 G43 การชดเชยขนาดรศั มีของเคร่ืองมือตัดทางดา นซา ย 15 G44 การชดเชยขนาดรัศมีของเคร่ืองมือตัดทางดา นขวา 16 G49 การชดเชยขนาดความยาวของเคร่ืองมือตดั (คา บวก) 17 G54 การชดเชยขนาดความยาวของเครื่องมือตดั (คา ลบ) 18 G70 ยกเลิกการชดเชยขนาดความยาวของเคร่อื งมอื ตดั 19 G71 20 G80 ปรับตั้งโคออรด ิเนตของช้ินงาน 21 G81 ปอนขอม ลู ท่ีมีหนว ยเปน นิว้ (Inc) ปอ นขอมลู ท่ีมีหนว ยเปนมิลลิเมตร (mm) ยกเลิกการทําวัฏจกั ร (Cycle) วัฏจักรการเจาะรู 22 G83 วัฏจกั รการเจาะรลู ึก 23 G84 ยกเลกิ การสตา ปเกลยี ว 24 G85 25 G90 วัฏจักรการควา นรู 26 G91 การวัดขนาดแบบสมั บรู ณ 27 G92 การวัดขนาดแบบตอเนื่อง 28 G99 เปล่ยี นโคออรด เิ นตของชิ้นงาน วัฏจักรของการเล่อื นกลับไปยังจุดอา งอิง Page

8. การตรวจสอบเคร่อื งจกั รกล CNC กอ นการทาํ งาน การปฏิบัติงานกับเคร่ืองจกั รอตั โนมตั ิจําเปน ตองคํานึงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านเปน อนั ดับ แรกและเพ่ือใหไดงานที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน ดังน้ันการตรวจสอบความเรียบรอยหรือความพรอมของ เคร่ืองจักรจึงถือวาเปนส่ิงที่จําเปนอยางยิ่งและควรตรวจสอบอยางสมํ่าเสมอเพ่ือความปลอดภัยของ ผูปฏิบัติงานรวมถึงเพื่อยืดอายุการใชงานของเครื่องจักรดวย ซึ่งมีรายละเอียดการตรวจสอบเครื่องจักร ดงั ตอ ไปน้ี 1. ตรวจสอบการทาํ งานวา เมอ่ื เปดเครอื่ งแลว เครื่องมีเสยี ง กลิ่นหรอื มกี ารสน่ั ท่ผี ิดปกติหรอื ไม 2. ตรวจสอบความสะอาดของเคร่อื ง โดยเฉพาะปุมกดของเคร่อื ง รองลางเล่ือนและชอ งมองช้ินงาน เปน ตน 3. ตรวจสอบระดบั นํ้ามนั หลอ ลื่นใหอ ยใู นระดับท่ีกาํ หนด และน้าํ หลอ เย็นใหอยูในระดับทกี่ าํ หนด 4. ตรวจสอบแผนกรองระบายอากาศของเคร่ืองวามฝี นุ หรือวสั ดุแปลกปลอมอดุ ตันหรือไม 5. ตรวจสอบสายแรงดนั ของระบบนิวเมตริกส รวมถึงระบบวาลวตา ง ๆ ใหอยใู นคาที่กําหนด 6. ตรวจสอบกลไกการหมนุ การเปลย่ี นเคร่อื งมอื การจบั ช้นิ งานใหสามารถทาํ งานไดป กติ 7. ตรวจสอบปดุ หยดุ การทํางานฉุกเฉินหรอื EMERGENCY ใหสามารถใชง านไดใ นกรณีฉกุ เฉนิ 8. ตรวจสอบระบบไฟฟา แหลงจา ย สายไฟฟา ตาง ๆ วา ไมม ีรอยไหมหรอื รอยฉีกขาด 9. ตอ งมการบาํ รงุ เชงิ ปองกันเพื่อลดอบุ ัตเิ หตหุ รอื ปญหาที่ทําใหต องหยดุ การทาํ งาน 10.ตรวจเชค็ สว นอื่น ๆ ตามคูมือแนะนาํ Page

9. ความปลอดภยั ในการใชเ ครอ่ื ง CNC เคร่อื ง CNC เปน เครอ่ื งจักรทม่ี รี ะบบการทํางานแบบอตั โนมัติ มคี วามสะดวกในการควบคมุ การทํางาน และมีความละเอยี ดสงู เนอื่ งจากเครือ่ ง CNC ทํางานตามโปรแกรมส่งั งานทีอ่ อกแบบเฉพาะ ทาํ ใหชิ้นงานที่ไดมี ความถูกตองแมนยําตรงตามความตองการของลูกคา อยางไรก็ตามแมวาเคร่ือง CNC จะใชงานสะดวกและ รวดเร็วแตก็มักเกิดอันตรายดวยเชนกัน ดังนั้นเพื่อลดอุบัติเหตุหรือเพื่อปองกันไมใหเกิดอุบัติเหตุข้ึน จึง จาํ เปน ตองมขี อ กําหนดในการปฏบิ ตั ิงานอยางเครง ครัดซงึ่ มีรายละเอียดดังตอ ไปนี้ ปฏบิ ัติตามวิธีการทํางานตามตรฐานในการทํางานทัว่ ไป 1. สวมแวนตานิรภยั เพื่อปองกันเศษวัสดกุ ระเด็นเขาตา 2. สวมรองเทา นิรภยั เพื่อปองกนั ช้นิ งานหรอื เคร่ืองมือหลน ทับ 3. สวมเส้ือผาที่กระชับและไมสวมผาพันคอหรือเนคไทขณะท่ีทํางาน เพราะอาจจะไปพันกับ เครื่องจกั รได 4. พ้ืนทที่ ํางานตองไมม เี ศษวัสดุ นํ้ามัน สิ่งของอ่นื ๆ ทอี่ าจทาํ ใหสะดดุ หรือหกลม ได 5. ปดประตูนริ ภัยทุกครง้ั กอ นปฏิบัตงิ าน 6. ตอ งปดสวิตซทุกครง้ั กอนทาํ การซอมเคร่อื ง CNC 7. ไมควรวางอปุ กรณห รือเครอ่ื งมอื ไวใกลก บั เครื่อง CNC ปฏบิ ัติตามมาตรฐานความปลอดภยั เก่ียวกับการทํางานกบั เคร่ือง CNC 1. ตอ งมน่ั ใจวายึดชนิ้ งานหรือเครอ่ื งมือแนน พอแลวกอนเรมิ่ การทาํ งานของเครอื่ ง CNC 2. ตอ งตรวจสอบระดับนา้ํ หลอเยน็ ใหอยใู นระดับทีค่ ูมือกาํ หนดไว 3. ตอ งตรวจสอบความเรยี บรอยของเคร่อื งจักรกอนเริม่ ปฏบิ ัตงิ านทุกครัง้ 4. ตรวจสอบระบบไฟตา ง ๆ 5. ตรวจสอบสายลมและแหลงจา ยลมทุกครง้ั อันตรายจากงาน CNC Machining ในการปฏบิ ตั งิ านกบั เครื่องจักร CNC มกั มอี ันตรายท่เี กดิ ข้ึนจากหลายสาเหตุไมวา จะเปนในสวนของ เครอ่ื งจกั รขดั ขอ งหรอื สาเหตุจากผูปฏิบัติงานก็ดี ทง้ั นีเ้ พื่อปองกันไมใหเ กดิ อุบัติเหตตุ า ง ๆ จงึ ควรรแู ละเขาใจ อุบตั ิเหตทุ ี่อาจจะเกดิ ข้ึนกับผูปฏิบตั งิ านซี่งมีรายละเอียดดงั ตอไปนี้ 1. เศษวสั ดหุ รอื นาํ้ หลอเย็นกระเดน็ เขาตา 2. วัสดุหรือเคร่ืองมือตา ง ๆ หลนทับเทาหรืออวยั วะอืน่ 3. เสอื้ ผา ท่สี วมในติดเขาไปในเครื่องจกั ร 4. สะดุดหรือลื่นลมเนื่องจากคราบนาํ้ ม้ันหรอื นํา้ หลอเย็น 5. ชิ้นงานหรือเครื่องมือกระเดด็ ใสผ ปู ฏบิ ตั งิ าน 6. ไฟดดู เน่ืองจากสายไฟฟา รว่ั หรือเปยกน้ํา Page

อปุ กรณป อ งกนั สว นบคุ คล ในการปองกันอุบัติเหตหุ รือลดความรนุ แรงจาการเกิดอบุ ตั เิ หตดุ วยการสวนอปุ กรณป องกันสว นบคุ คล เปนการปฏิบตั ิงานเพ่ือใหม คี วามปลอดภัยขน้ั พื้นฐานที่พนักงานทกุ คนตองปฏบิ ัตติ ามอยางเครง ครัดซึ่งมี รายละเอยี ดดังตอไปนี้ 1. แวนตานิรภยั สวนมากทาํ จากวสั ดุประเภทโพลคี ารบ อเนตสามารถปองกนั ฝุน เศษวสั ดุ และนํ้าหลอ เยน็ ท่อี าจจกระเด็นออกมาจากเครอื่ งจักร 2. ถงุ มือและรองเทานริ ภยั เพื่อปองกนั อนั ตรายจากจากช้นิ งานบาดหรือหลนทบั จงึ จาํ เปนตองมีการ สวมถุงมือกันบาดและรองเทานิภยั 3. หนา กากปอ งกันสารเคมี การใชงานเครื่องจักร CNC มักมีฝนุ และสารเคมรที่มาจากน้าํ หลอเย็นซึ่ง สงผลเสยี ตอสขุ ภาพของผปู ฏิบัติงาน ดังนน้ั ควรสวมหนา กากปอ งกันท่ีสามารถกรองฝุนและกลน่ิ ได ตัวอยาง หนา กากท่ถี กู ตอ ง 4. อปุ กรณป องกันไฟฟาดูด จําเปนตองสวมถุงมือและรองเทานิรภยั ท่ีทาํ จากวสั ดุทเ่ี ปนฉนวนไฟฟา นอกจากนีค้ วรหมัน่ ตรวจสอบอปุ กรณตาง ๆ เชน สายดิน สายไฟแหลงจา ย รวมถึงตรวจสอบบรเิ วณพ้ืนที่ ปฏิบตั งิ าน หากมพี น้ื ทีเ่ ปยกหรือนํ้าขงั ควรทําใหแหงกอนปฏิบัติงาน เพ่อื ปอ งกนั อันตรายจากไฟฟา ดดู 5. อุปกรณป องกันเสียงดงั หรือท่ีอุดหู (Ear Plug) เปน อุปกรณท่ีจาํ เปนสาํ หรบั ผูปฏิบตั ิงานทเี่ ก่ยี วของ กับเคร่ือง CNC เพอื่ ปองกนั เสียงท่เี กดิ จากการทํางานของเครือ่ งจักรและการใชลมเปาชนิ้ งาน 6.สาํ หรบั ผูห ญิงหรือผูท่ไี วผ มยาวตอ งมกี ารมัดรวบใหเ รียบรอยและใสหมวดเก็บผมตามทบ่ี รษิ ัทได กําหนดไว แวนตานิรภัย รองเทา นริ ภยั ถุงมอื หนา กากกรองสารเคมี Ear Plug Page

10. Flowchart of CNC machining Start Load Program Run Program Drawing Choosing Tools Checking Not OK Finding the cause work piece - Check tools - measurement Setting tools OK Solving - Prepare Jig and Vise Sending work piece Not OK Checking Finish for run OK Page

11. จอควบคมุ และฟงกช นั่ การทาํ งาน การปฏิบัติงานกบั เครอ่ื งจักรอตั โนมัตนิ ้นั ผูปฏิบัติงานควรมีเขาใจปุมคําส่งั ตางๆของเครื่องจักร ทใ่ี ชในการปฏิบตั ิงาน เพ่ือใหส ามารถใชง านเคร่อื งจกั รไดอยางถูกตอ งและเพอ่ื ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน 11 10 1 6 9 7 4 8 Page 2 5 3 หนา จอควบคุม MISUBISHI

ลาํ ดบั ปมุ ควบคมุ ฟง กช นั การทาํ งาน สวิตซป รบั ความเร็วในการตัด 1 (Cutting feed override switch) ใชป รับความเรว็ ในการตัดชิ้นงาน โดยมคี า ตัง้ แต 0%-200% 2 สวติ ซห ยุดการทาํ งานฉกุ เฉิน ใชห ยุดการทํางานของเครื่องจักรในกรณีฉุกเฉนิ เชน เกดิ อุบัตเิ หตุ (Emergency stop bottom) ระหวา งการทาํ งาน เปนตน สวิตซเริ่มและหยดุ การทํางานชวั้ คราว ปุมเร่ิมการทํางานและหยดุ การทาํ งานช่วั คราว สามารถหยดุ เพอ่ื 3 (Feed start/stop bottom) สงั เกตชิน้ งานหรือเคร่อื งมือได 4 ปมุ ควบคุมการเคล่อื นทข่ี องแกน ใชค วบคุมการเคลื่อนทข่ี องแกนตาง ๆ ในกรณีท่ไี มม กี ารเดนิ เคร่อื ง (Axis movement keys) ปมุ ควบคมุ การทาํ งานทวั่ ไป -ปมุ เปด /ปดนาํ้ หลอ เยน็ อตั ดนมตั ิ AUTO -ปมุ เปด/ปดน้ําหลอเย็นดวยมอื ON/OFF 5 -ปุมเปด /ปด ลมเปาเศษวัสดุ AIR -ปมุ หมุนสายพานลาํ เลียงเศษไปขา งหลัง (ตามเขม็ นาฬกิ า) FWD สวติ ซปรับฟง กช่ันการทํางาน -ปุมหมุนสายพานลาํ เลียงเศษไปขา งหนา (ทวนเข็มนาฬกิ า) REV (Fonction switch) -ปุม หยุดสายพานลําเลยี งเศษ STOP 6 -ปุมเปด/ปดไฟสองสวา ง LIGHT -EDIT ใชสําหรับแกไ ขโปรแกรมทม่ี อี ยแู ลว ปมุ ฟงกช ่ันการอานโปรแกรม -AUTO ทํางานอตั โนมัตติ ามโปรแกรมท่โี หลดหรือบนั ทึกจากเมมเมอร่ี 7 การด (Memory) ไว -DNC ทาํ งานอัตโนมัตติ ามโปรแกรมจากคอมพวิ เตอร -MDI ใชสําหรบั ปอ นคาํ สั่งสน้ั ๆ -HANDLE ใชสาํ หรับควบคุมการเคลื่อนทขี่ องแกนดว ยมือ -JOG ใชสําหรับเคล่อื นทแ่ี กน X ,Y และ Z ดว ยความเรว็ JOG FEED ภายใตก ารทํางาน MANUAL MODE -RAPID ใชสาํ หรบั เคล่อื นทีแ่ กน X ,Y และ Z ดว ยความเรว็ R0-100% -ZRN ใชค วบคมุ แกนท้ังหมดเคลอื่ นทีเ่ ขา สูจ ดุ Zero - SINGLE BLOCK เครือ่ งจะอานโปรแกรมทลี ะบรรทัด - OPTIONAL BLOCK SKIP ใชก บั \"NC PROGRAM\" เทา นั้นเมื่อปมุ นี้ \"ON\" เครอ่ื งจะอา นขามบรรทดั ที่เครื่องหมาย - OPTIONAL STOP ใชกับ \"NC PROGRAM\" เทา นน้ั เม่ือปมุ น้ี \"ON\" PROGRAM และระบบจะหยุดทาํ งานเม่ือเครื่องอานถึงบรรทัดที่มี \"MO1\" เม่ือกดปุม START จะทํางานตอ Page

ปมุ ควบคุมการหมุนของทูลแมกกาซนี และ - MAGAZINE FORWARD ROTION ใชสําหรับหมุนแมกกาซนี ตามเขม็ นาฬิกา Spindle - MAGAZINE REVERSE ROTION ใชส ําหรบั หมนุ แมกกาซีน 8 ทวนเขม็ นาฬกิ า - SPINDLE FORWARD ROTATION ใชสาํ หรับหมนุ หัว Spindle ไปขางหนา 9 สวิตซเ ปด /ปดเคร่อื งจกั ร ภายใตก ารทาํ งานของ MANUAL MODE (Power on/off bottom) - SPINDLE STOP ใชสําหรับหยดุ การหมนุ หวั Spindle ภายใตก ารทาํ งานของ MANUAL MODE 10 จอแสดงการทาํ งาน (Monitor) - SPINDLE REVERSE ROTATION ใชสาํ หรับหมนุ หวั Spindle ถอยหลงั ภายใต การทาํ งานของ MANUAL MODE 11 ปมุ ปอนขอมลู (Keybord) - SPINDLE SPEED ใชสําหรบั เพิม่ หรอื ลดควาเรว็ ของ Spindle หรอื สามารถ เลอื กที่ 100% ใชสาํ หรับเปดหรือปดเครื่องจักร ใชสําหรบั อา นคา ตา ง ๆ ของโปรแกรม รวมถึงแสดงการทํางานของ โปรแกรม ใชส าํ หรบั ปอนขอมูล หรือแกไขข อ มลู ปุมควบคมุ และฟง กชนั การทาํ งาน Page

12. ขน้ั ตอนการใชง านเคร่ือง CNC การเปดเครอื่ ง 1. เปด สวิตซ POWER โดยหมุนตามเขม็ นาฬิกา หมนุ 2. กดปมุ สขี าว POWER ON รอเคร่อื ง RUN กด 3. ดึงปมุ EMERGENCY STOP เคร่อื งพรอมทาํ งาน ดึงออก Page

การปรบั แกนเขา ศนู ย 1. หมุนเลือกคําสัง่ ZERO RETURN 2. เลอื กแกน X, Y, Z ที่จะทําการปรับ (จะทาํ การ Set แกนไหนใหห มนุ เลือกแกนน้นั ) 3. กดปมุ ปรบั แกนคา งไวจ นกวาแกนจะเขา ศูนย กดคาง Page

การเปลีย่ น Tools 1. กอ นทําการเปล่ียน Tools ทุกครง้ั ตองทาํ การปรบั แกน(X,Y,Z) เขาศูนยท กุ แกน 2. เลือกคาํ ส่ังแกไข กด EDIT MDI กด INPUT CALC 3. กดปุม Cycle start 4. หมนุ เลือกคาํ ส่งั Handle (X 1,X10,X100 คือ Speed ของ Handle) 5. กดคําสงั่ หมุน MAGAZINE เพื่อเลอื กตาํ แหนง Tool ในการเปลย่ี น 6. ทําการถอดเปล่ียน Tool 7. ตรวจสอบ Tool ที่เราไดท าํ การเปล่ยี นวาไดตาํ แหนงหรือไม โดยการหมนุ แกน Z ลงมาตรวจดู 8. หากการเปลี่ยน Tool เรยี บรอยแลวใหทาํ การปรบั แกน X,Y,Z เขา ศูนยห รือ Set 0 (หาก Tool ไมเ ขา ตาํ แหนงจะสงผลให Tool หลดุ ออกจากทย่ี ดึ ทาํ ใหเ กิดอันตรายขณะปฎบิ ตั ิงานได) 9. การเปล่ียน Tool เสรจ็ สมบูรณ เคร่ืองพรอ มใชงาน Page

การ Run Program 1. ปรับแกน(X,Y,Z) เขา ศนู ยทกุ แกนหรอื ทําการ Set 0 ทกุ แกน(X,Y,Z) 2. หมนุ เลอื กคาํ ส่ัง AUTO 3. กดเลอื ก Monitor บนหนาจอ  เลอื ก SEARCH และทาํ การเลอื กโปรแกรมที่เราจะทําการ Run โดยการ เลือกหรอื พิมพช ่ือโปรแกรมลงไป แลว กด INPUT CALC (หากเลือกเสรจ็ สมบูรณจะข้นึ ขอความบนหนาจอวา SEARCH COMPLETE) 4. ตรวจสอบ DRY RUN (หากอยูที่ 0 Tool จะไมหมุน) 5. กดปุม Cycle start เพือ่ ทาํ การ Run Page

การ Run Manual 1. ปรบั แกน(X,Y,Z) เขา ศนู ยท กุ แกนหรอื ทําการ Set 0 ทุกแกน(X,Y,Z) 2. หมนุ เลือกคาํ สง่ั Handle 3. กดคาํ ส่งั หมนุ Spindle (SPINDLE CW คอื หมุน SPINDLE STOP คอื หยุด ) 4. เลือกแกน X, Y, Z ท่ีจะทําการบังคบั (จะทาํ การบงั คับแกนไหนใหหมนุ เลือกแกนนน้ั ) 5. หมนุ บังคบั ทิศทางตามความตอ งการ 6. สามารถใชค ําสง่ั หยุดหมุนไดแก - กดปมุ Reset - กด Spindle Stop - กดปมุ Emergency Stop Page

การเรียกใช Tool 1. บดิ สวิทชมาทต่ี าํ แหนง MDI 2. กดปมุ PORG 3. พิมพคาํ สง่ั M06 T00, EOB, INSERT 4. กดปมุ CYCLE START 5. พมิ พคาํ ส่ัง M03 S500, EOB, INSERT 6. กดปมุ CYCLE START การเซท Center ของชิน้ งานใหต รงกบั Center ของเครอื่ ง CNC 1. บิดสวทิ ชมาที่ตาํ แหนง Handle 2. กดปุม POS และ REL เพื่อทาํ การเชค็ ระยะ 3. ปรบั ตําแหนงของ Tools และโตะ งานเขา หากัน 4. เลอื่ นชิ้นงานตามแกน X ไปแตะท่ี Tools ฝง ดา นซา ย 5. กดปมุ X และ ORIGIN เพื่อให X มคี า เปนศนู ย 6. เล่ือนชนิ้ งานตามแกน X ไปแตะท่ี Tools ฝงดา นขวา 7. นาํ คาทีไ่ ดข องแกน X มาหาร 2 เพอ่ื หาคา Center ของแกน X 8. เลอื่ นแกน X ไปยงั คา Center ทีห่ าได 9. กดปมุ X และ ORIGIN เพื่อให X มคี า เปน ศนู ย 10. เล่อื นช้ินงานตามแกน Y ไปแตะท่ี Tools ฝงดานใน 11. กดปมุ Y และ ORIGIN เพ่ือให Y มคี า เปน ศูนย 12. เล่อื นช้ินงานตามแกน Y ไปแตะท่ี Tools ฝง ดานนอก 13. นําคาทีไ่ ดของแกน Y มาหาร 2 เพอ่ื หาคา Center ของแกน Y 14. เล่อื นแกน Y ไปยังคา Center ท่ีหาได 15. กดปุม Y และ ORIGIN เพอื่ ให Y มคี าเปนศนู ย 16. กดปุม OFS 17. กดปมุ WORK แลวเลื่อนลกู ศรมาที่ G54 18. กดปมุ X 0.0 แลวกดปมุ MEASUR 19. ใหต าํ แหนงอยูท่แี กน Y กดปุม Y 0.0 แลว กดปมุ MEASUR 20. กดปมุ POS แลวตามดว ยปมุ ALL Page

การเขยี นและแกไ ขโปรแกรมการทาํ งานหนาเคร่ือง 1. เปด เครื่อง 2. ปรบั แกน(X,Y,Z) เขา ศนู ยท กุ แกนดวยคาํ ส่ัง Zero Return 3. เลอื กคาํ สง่ั แกไ ข 4. กด EDIT MDI ตรงหนาจอ 5. กด MDI-ENT ตรงหนา จอ 6. ตงั้ ชื่อโปรแกรม 7. กด INPUT CALC 8. เขยี น Code คําสง่ั 9. กด INPUT CALC การโหลดโปรแกรม CNC Machining (ใชโ ปรแกรม NC) 1. เตรยี มโปรแกรมที่จะทาํ การโหลดใน note pad 2. ลาก โปรแกรมทเ่ี ขียนอยูใน note pad ลงโปรแกรม NC 3. ตอ สาย USB (VGA) ระหวา งคอมพิวเตอรกับเคร่ือง CNC 4. กดปุม Design in/out 5. กด input ตรงหนาจอ 6. ในวงเล็บใหใ สเลข 1 กดลกู ศรถัดไป และคยี ช่อื โปรแกรมที่อยบู นหวั โปรแกรมท่ีเขยี นอยูใน note pad 7. กด INPUT CALC 8. กดสง โปรแกรมจากคอมพิวเตอรไ ปยังเครอ่ื ง CNC 9. รอโหลด (ถา เสรจ็ แลว จะขน้ึ คําวา DATA IN COMPLETE 10. การโหลดโปรแกรมเสร็จสิ้น Page

การปด เครอ่ื ง 1. ทาํ ความสะอาดเครอื่ งหลังการใชงานใหเ รียบรอ ย 2. กดปมุ ปด เคร่ือง 3. กดปมุ Emergency Stop 4. ปดสวติ ซหลังเครอื่ ง CNC Page

13. การตรวจสอบชนิ้ งาน ในการปฏิบัติงานควรมีการตรวจสอบความเรียบรอยของช้ินงานเบื้องตนดวยตัวเองกอนท่ีจะสง ชิ้นงานออกไป โดยใชเครอื่ งมอื วัดพ้ืนฐาน เชน เวอรเนียคาลิปเปอร ไมโครมิเตอร สกรูเกจ และพนิ เกจ เปน ตน โดยมรี ายละเอยี ดการตวรจสอบชนิ้ งานและเครอ่ื งมือท่ีใชใ นการตรวจสอบดังตอไปน้ี 1. ตรวจสอบขนาดความกวาง ความยาว รวมถงึ ตาํ แหนงการเจาะรขู องชิ้นงาน ใหถูกตองตามแบบกาํ หนด 2. ตรวจสอบความหนาของชิ้นงาน ใหมขี นาดสมาํ่ เสมอกนั ทกุ จดุ 3. ตรวจสอบความตรงของชิ้นงาน ไมใหม กี ารบดิ โกง หรืองอ 4. ตรวจสอบขนาดของรบู นช้ินงานโดยใชเ วอรเ นยี คาลปิ เปอรหรือพนิ เกจ 5. ตรวจสอบขนาดของเกลยี วรวมถึงระยะพิตทข องเกลียวโดยใชเ กจวดั เกลียว 14. เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ นการตรวจสอบชน้ิ งาน ในการตรวจสอบชิ้นงานนอกจากจะสามารถตรวจสอบเบอ้ื งตน ดว ยสายตาแลว ยังจําเปนตองใช เครอ่ื งมือในการตรวจสอบเพื่อความถูกตองแมน ยาํ เวอรเ นยี คาลปิ เปอร (Vernier Caliper) เวอรเนียคาลิปเปอรเปนอุปกรณวัดพื้นฐานใชในการวัดระยะของชิ้นงาน วัดไดทั้งวัตถุท่ีเปน ทรงกระบอกและทรงตรง โดยหาคาไดท งั้ ความหนาบาง ความลึก ความกวางภายนอก และยังสามารถใชวัด ขนาดความกวางภายในของวตั ถไุ ดอ ีกดวย สว นประกอบของเวอรเนียมรี ายละเอียดดงั นเ้ี วอรเ นยี คาลปิ เปอร สว นประกอบของเวอรเ นยี ร Page

1.ปากวดั ภายใน (Internal Jaws) ใชใ นการวดั ขนาดของเสนผา นศูนยก ลางดา นในของวัตถุ โดยดาน แบนจะหนั ออกดานนอกใหประกบกับวตั ถใุ หสามารถใชว ัดภายในไดง า ย 2.ปากวัดภายนอก (External Jaws) ใชในการวัดขนาดของวัตถุจากภายนอก เหมาะกับการใชวัด เสนผานศูนยกลางภายนอก ความยาว หรือความหนาของวัตถุ โดยเลื่อนดานท่ีแบนใหประกบพอดีกับวัตถุท่ี ตอ งการ 3.สกรูลอ็ ค (Locking Screw) ในขณะท่ีทําการวัดจะมีการเลื่อนปากวัดใหมีขนาดพอดีกับวัตถุท่ี ตองการ เม่อื ไดร ะยะท่ีตอ งการแลวก็ใชส กรลู ็อค เพ่อื ทําการล็อคปากวัดเอาไวไ มใ หไ หลไปจากสเกลทวี่ ัดไว 4.สเกลหลัก (Main Scale) สเกลหลักจะแสดงคาท่ีเปนหนวยระบบอิมพีเรยี ล (น้ิว) ท่อี ยดู า นบน และแบบเมตรกิ (มิลลิเมตร) ทอ่ี ยูด านลาง ซ่งึ แตละขดี บนระบบเมตรกิ จะมคี าเปนมลิ ลิเมตร 5.สเกลเวอรเนยี (Vernier Scale) สเกลเวอรเนียเปนคาท่ีบอกเปนหลักทศนิยม โดยแตละขีดมีคา 0.01 มลิ ลิเมตร โดยจะทําการอา นคา น้หี ลังจากอา นคา บนสเกลหลกั แลว นาํ มาคาํ นวณ 6.ปุมเล่ือนสเกล (Thumb Screw) ปุมเลอื่ นสเกลชวยใหการเลื่อนวดั ขนาดงายขึ้น โดยปรับใหปาก วดั มขี นาดท่ีพอดกี ับขนาดวตั ถทุ ีต่ อ งการ 7.ปากวดั ความลึก (Depth Measuring Blade) ใชในการวัดความลึกของรูในวัตถุ เพ่ือหาคา ความลกึ ของวตั ถหุ รอื สวนทอ่ี ยูลึกบนวัตถไุ ด Page

พนิ เกจ (Pin Gauge) พินเกจ คือเกจที่มีรปู ทรงเหมือนหมดุ ถูกผลิตออกมาดว ยขนาดทเี่ ฉพาะเจาะจง และดวยวสั ดทุ ่ีมี ความทนทานเพ่ือรับประกนั ถึงคา ความคลาดเคล่อื น จุดประสงคหลกั ของการใชงานพินเกจคอื การใช ตรวจสอบและกาํ หนดเสนผา นศูนยกลางของรขู นาดเล็ก พนิ เกจ เกจวดั รอง (Feeler Gauge) เกจวัดรอ งใชส าํ หรับการวดั ความกวา งของชอ งวา ง ใหสอดเกจเขา ไปในชองวา งของชิ้นงานเพื่ออา น คาจากขดี แบง สเกลทไ่ี มสามารถสอดเขาไปได เกจวัดรอง Page

ไดอลั เกจ (Dial gauge) ไดอัลเกจเปนเครื่องมือวัดที่มีหนาปดและสเกลคลายกับนาฬิกา โดยแตละสเกลจะมีคาความ ละเอยี ดคา หน่ึงทก่ี าํ หนดไว โดยคาท่ีนิยมใชมีดวยกัน อยู 2 คา นั้นก็คือ 0.01 mm.และ 0.001 mm. งานท่ี เหมาะกบั การใชไดอัลเกจ ไดแก การวัดความเปนระนาบ ความขนาน ระยะเย้ืองศูนย เชน วัดหาศูนยของ วตั ถุกอนการข้นึ รูปชิน้ งาน เชน การกลงึ การกดั เปน ตน ไดอัลเกจ เหล็กฉากและเหล็กวดั องศา (Solid Square) เหลก็ ฉากเปน อุปกรณทีใ่ ชส าํ หรับวัดชิ้นงานทีท่ าํ มุม 90 องศา หลักการใชค ือนาํ เหล็กเขาไปเทยี บท่ี มมุ ของช้นิ งาน ถา เหล็กฉากเขาไดแ นบสนิทถือวาชิ้นงานมีมุมทถี่ ูกตอง ถา หากเขา ไมไ ดแ นบสนิทแสดงวามุ นของชน้ิ งานเล็กเกนิ ไป และถาเหลก ฉากเขา ไดแ ตไ มแนบชนิ้ งานทั้งสองดานแสดงวา ช้ินงานมีมุมมากกวา 90 องศา เหลก็ ฉาก Page

เกจวดั เกลยี ว (Thread Plug Gauge) เกจวัดเกลยี วในคือเคร่ืองมือวัดสาํ หรบั ใชตรวจสอบระยะพติ ท (Pitch) ของรูเกลียวใน ตามสเปค เกจวดั เกลยี วทาํ ใหเ กดิ ความมั่นใจไดว า ชน้ิ งานน้ัน ๆ อยูใ นมาตรฐานการควบคมุ GO และ NOT GO เพ่ือ ไมใหเกดิ คาผดิ พลาดจึงมคี วามสําคญั เปน อยางมากท่ีตองสงสอบเทียบเครื่องมือวดั สําหรับวิธีการใชงานเคร่ืองมือวัดเกจวัดเกลียวในมีวิธกี ารใชงานดงั น้ี 1. เร่ิมจากตรวจสอบช้ินงานดวยการใช Thread Plug Gauge ไขผานช้ินงาน ซึ่งดานท่ี เปน GO จะตองไขผา นตลอดความยาวของชนิ้ งานทตี่ องการตรวจสอบไปไดอ ยางราบร่นื 2. Thread Plug Gauge ดาน NOT GO การตรวจสอบอางอิงตามมาตรฐาน JIS ทําไดโ ดย การไขจะตองไมสามารถผานรูของช้ินงานไปได และหากอางอิงตามมาตรฐาน IOS ใหตรวจสอบโดย ใช Thread Plug Gauge ดานที่เปน NOT GO หรือ NO GO หมุนเกลียวดูมากกวาสองรอบขึ้น ไป จะตอ งไมสามารถไขผา นไปได เกจวดั เกลยี ว รงิ เกจ (Ring Gauge) ริงเกจคือเกจรูปวงกลมท่ีมขี นาดเฉพาะเจาะจงและใชวัสดทุ ี่ทนทานโดยมคี า Tolerance ของเสน ผา นศูนยกลางภายในท่แี นนอน ขนาดและคา จรงิ ท่วี ัดไดจ ะถูกสลักไวบ นมาสเตอรร ิงเกจดวย (ตวั อยาง) อปุ กรณว ดั เสน ผานศนู ยกลางภายใน (ไมโครมเิ ตอรว ดั ในแบบสามจดุ ไมโครมิเตอรอ ากาศ ฯลฯ) นน้ั จะถูกใช เปนมาสเตอรใ นการวัดเพ่ือปรับคาศนู ย Page

รงิ เกจ ไมโครมเิ ตอร (Micrometer) ไมโครมิเตอรเปนเคร่ืองมือวัดละเอียดแบบเลอื่ นได มีสเกลสามารถวัดขนาดช้ินงานไดท้ังความยาว ความกวา ง ความตางระดับและความลกึ ของชน้ิ งานได นยิ มนํามาใชก ับงานอุตสาหกรรมเครอื่ งมือเคร่ืองจักร และงานยานยนต เปนตน โดยหลักการทํางานของไมโครมิเตอรจะอาศัยการเคล่ือนที่ของสกรูที่มี สว นประกอบสาํ คัญตรงบรเิ วณปากวดั ปลอกหมุนวดั กานสเกล และหัวหมุนกระทบเลอื่ นที่มีความแข็งแรง ทนทาน มขี นาดเลก็ กะทัดรดั ใชง านงา ย สามารถวดั ขนาดวตั ถุท่ีมขี นาดต้ังแต 0.01 มม.ได ทําใหวดั และอาน คาไดอยางละเอียดและเที่ยงตรงสูง ปจจุบันไมโครมิเตอรมีใหเลือกใชงานทั้งไมโครมิเตอรวัดนอก ไมโครมเิ ตอรวดั ใน และไมโครมิเตอรวัดลกึ ซ่ึงแตล ะชนิดก็มีลักษณะวธิ ีการใชง าน คุณสมบัติการใชง านและ การบํารุงรักษาที่แตกตางกัน ดังนั้นผใู ชต องศึกษาหลักการใชงานใหถูกตองและเหมาะสมกับชนิ้ งานที่จะวัด กอนการใชง าน ไมโครมเิ ตอร Page

โตะ ระดบั หรอื แทน (Granite Surface Plate) โตะระดับเปนพ้ืนท่ีใชผิวอางอิงในการประกอบและการงานตรวจสอบช้ินงาน ซ่ึงจําเปนตองใช พ้นื ผวิ ท่เี รียบและสมํา่ เสมอ สว นใหญจ ะใชในการตดั แตงชน้ิ งาน โตะระดบั Page


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook