Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบโครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่

เอกสารประกอบโครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่

Description: เอกสารประกอบโครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่

Keywords: สังคมศึกษา,ร่างทรง,เอกสารประกอบโครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่

Search

Read the Text Version

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ส า ร ป ร ะ กอบ ก า ร สั ม ม น า ท า ง วิ เ อ ก โ ครง ช า ก า ร ““ รร่่าางงททรรงง ”” ??ทำ ไ ม ยั ง ค ง อ ยู่ \" RANG ZONG \" Why it still exist ? วัวันนศุศุกกร์ร์ทีท่ี่ 2255 กกุุมมภภาาพพัันนธ์ธ์ พพ..ศศ..22556655 เเววลลาา 0088..0000--1122..0000 นน.. ผผ่่าานนรระะบบบบออออนนไไลลนน์์ ZZoooomm MMeeeettiinngg

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY คำ นำ เอกสารประกอบโครงการสัมมนาทางวิชาการเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่ อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ศึกษาและอ่านประกอบการสัมมนา ซึ่งเอกสารเล่มนี้มีเนื้ อหาเกี่ยวกับกำหนดการ แนะนำวิทยากร เนื้ อหาเรื่อง \"ร่างทรง\" แนะนําผู้รับผิดชอบโครงการ โดยได้จัด โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ ในวันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ตั้งแต่เวลา 08.00 – 12.00 น. ผ่านระบบออนไลน์ ZOOM MEETING มีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นิสิต นักศึกษา อาจารย์ ครูและบุคลากร ทางการศึกษา นักเรียน และผู้ที่สนใจทั่วไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ อให้ได้รับความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับร่างทรงในปัจจุบัน และเพื่ อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างทรงกับสังคมไทยและหลักความเชื่อของศาสนาซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วม โ ค ร ง ก า ร สั ม ม น า ท า ง วิ ช า ก า ร ทางคณะกรรมการดําเนินงานโครงการสัมมนาทางวิชาการทุกคน ขอขอบคุณท่านอาจารย์ ดร.พิทักษ์ เผือกมี ที่ได้ให้คำ ปรึกษาและคำแนะนำในการจัดทำโครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ และขอขอบคุณท่านคณาจารย์ วิทยากร และผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่านที่ให้ความสนใจโครงการสัมมนาทางวิชาการในครั้งนี้ หากมีข้อผิดพลาดบกพร่องประการ ใดคณะกรรมการดําเนินงานโครงการสัมมนาทางวิชาการ ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย ค ณ ะ ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ โ ค ร ง ก า ร สั ม ม น า ท า ง วิ ช า ก า ร 21 กุมภาพันธ์ 2565 โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ ก

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ส า ร บั ญ คำ นำ ห น้ า ส า ร บั ญ ก กำ ห น ด ก า ร ข แ น ะ นำ วิ ท ย า ก ร 1 3 - ความหมายของร่างทรง 5 - ความเป็นมาของร่างทรง 6 - หลักฐานความเก่าแก่เรื่องการเข้าทรง 7 - ความเชื่อเกี่ยวกับผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มาเข้าทรง 8 - บุคคลผู้เป็นร่างทรง 9 - หน้าที่ของร่างทรง 10 - ลักษณะของการเข้าทรง 10 - ร่างทรงกับสังคมไทยปัจจุบัน 11 - ร่างทรงกับหลักความเชื่อทางศาสนา 12 LECTURE ยันต์! กันลืมกันหน่อยมั้ย 13 แนะนําผู้รับผิดชอบโครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 16 แบบประเมินโครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 18 โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ ข

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY กำหนดการโครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เวลา 08.00 – 12.00 น. ผ่านระบบออนไลน์ ZOOM MEETING จัดโดยสาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ 08.00 – 08.00 น. คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการสัมมนาทางวิชาการ ลงทะเบียนออนไลน์ 08.30 – 08.55 น. แ ล ะ รั บ เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร สั ม ม น า ท า ง วิ ช า ก า ร 08.55 – 09.05 น. พิธีเปิดโครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 09.05 – 10.30 น. กล่าวรายงานโดย นายปชิตะ รัตนวรรณ ประธานโครงการสัมมนาทางวิชาการ กล่าวเปิดโดย อาจารย์บุญเลิศ สุ่มประเสริฐ ประธานในพิธี และบันทึกภาพร่วมกัน 10.30 – 10.40 น. แ น ะ นํ า ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ โ ค ร ง ก า ร สั ม ม น า ท า ง วิ ช า ก า ร แนะนําวิทยากร วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวล คัชชิมา ดำ เ นิ น ก า ร สั ม ม น า ท า ง วิ ช า ก า ร - ความเป็นมาของร่างทรง - ร่างทรงกับสังคมไทย - ร่างทรงกับหลักความเชื่อทางศาสนา พัก 10 นาที โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 1

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY 10.40 – 11.35 น. กิ จ ก ร ร ม แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู้ สั ม ม น า ท า ง วิ ช า ก า ร - เหตุใด \"ร่างทรง\" ยังคงมีอยู่ พร้อมให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาฯ ซักถามเพิ่มเติม 11.35 – 11.40 น. 11.40 – 12.00 น. ก ล่ า ว ข อ บ คุ ณ วิ ท ย า ก ร พิธีปิดโครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ กล่าวรายงานผลโดย นายปชิตะ รัตนวรรณ ประธานโครงการสัมมนาทางวิชาการ กล่าวปิดโดย อาจารย์บุญเลิศ สุ่มประเสริฐ ประธานในพิธี หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม สัมมนาทางวิชาการ “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่? โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 2

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY แ น ะ นำ วิ ท ย า ก ร ชื่อ – สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวล คัชชิมา ประวัติการศึกษา ป.ธ. 9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค), สนามหลวงแผนกบาลี ร.บ. (ทฤษฎีและเทคนิคทางรัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ศศ.ม. (เขมรศึกษา), มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศ.ม. (จารึกภาษาตะวันออก), มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศ.ด. (ภาษาเขมร), มหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร สอนรายวิชาตำนาน ศาสนา ไสยศาสตร์ และพิธีกรรม เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านปรัชญา พุ ทธศาสนา ภาษาศาสตร์ (ภาษาเขมร) โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 3

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ผ ล ง า น วิ ช า ก า ร บุพกถาของรัฐธรรมนูญกัมพู ชา (THE PREFACE OF CONSTITUTION OF CAMBODIA). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ \"ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย\", สถาบันวิจัยศิลปะและ วัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 40-46, 25 กรกฎาคม 2561 พิธีแต่งงานของกลุ่มชาติพันธุ์เขมรถิ่นไทยที่ตำบลชุมแสง อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ (A STUDY OF WEDDING CEREMONY OF CHUM SEANG SUB-DISTRICT, CHOMPHRA DISTRICT, SURIN PROVINCE). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ \"ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย\", สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 245-253, 25 กรกฎาคม 2561. NOTE ON THAI TERMINOLOGY: THE STATUS OF KHMER-LOANWORDS IN THAI AND HER HOMELAND. THE 12TH INTERNATIONAL CONFERENCE ON \"SOUTHEAST ASIAN CULTURAL VALUES: CULTURE OF PEACE\", PHNOM PENH HOTEL, CAMBODIA, PAGES 127-133, 8-9 DECEMBER 2016. PHNOM DONGRAK MOUNTAIN RANGE: AN AREA-STUDIES FOR PEACE. THE 12TH INTERNATIONAL CONFERENCE ON \"SOUTHEAST ASIAN CULTURAL VALUES: CULTURE OF PEACE\", PHNOM PENH HOTEL, CAMBODIA, PAGES 17-25, 8-9 DECEMBER 2016. โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 4

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ความหมายของ “ร่างทรง” คำว่า “ร่างทรง” ไม่ปรากฏในพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 แต่ปรากฏคำว่า “คนทรง” โดยท่านให้ความหมายว่า “น. คนทรงเจ้า และผี.” และมีคำที่ใกล้เคียงคือคำว่า “ทรงเจ้า” ท่านให้ความ หมายเป็น 2 ข้อคือ (๑) ก. ทำพิธีเชิญเจ้าเข้าสิงคนทรงเพื่ อถามเหตุร้ายเหตุดี, บางทีใช้ว่า ทรงเจ้า เข้าผี. และ (๒) น. เรียกคนสำหรับทรงเจ้า ว่า คนทรงเจ้า โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 5

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ร่ า ง ท ร ง ในการทำความเข้าใจเรื่องร่างทรง สิ่งที่ควรจะต้องรู้ก่อนคือ “ความเชื่อเรื่องผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์” ในสังคมนั้น ๆ โดยคนโบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนใหญ่ มีความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตายใกล้เคียงกัน คือ เชื่อว่าเมื่ อคนเราตายไปแล้ว ส่วนมากมักไม่ได้ไปที่อื่ น จะกลายเป็นผีบรรพบุรุษ กลายเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่คอยดูแล ปกปักรักษาลูกหลานและอนุชนรุ่นหลังให้ปลอดภัยจากสิ่งที่เป็นอันตรายต่าง ๆ รวมทั้งอำนวยพรให้เจริญรุ่งเรืองและ ประสบความสำเร็จในสิ่งต่าง ๆ ได้ จึงได้เห็นว่ามีกลุ่มชนหลายกลุ่มที่ฝังศพผู้ที่ล่วงลับไปแล้วไว้ใกล้บ้าน ฝังไว้ตาม ท้องนา หรือในสถานที่ที่ถือว่าเป็นแหล่งศักดิ์สิทธิ์ เพื่ อให้สามารถมองเห็นและปกปัก รักษาคนในตระกูลนั้น ๆ ได้ แต่ใน ขณะเดียวกันเมื่ อทำให้ผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านั้นเกิดความไม่พอใจ ก็สามารถให้โทษได้เช่นเดียวกัน เมื่ อมีความเชื่อเรื่องผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในรูปแบบต่าง ๆ แล้ว แต่ละกลุ่มชนแต่ละวัฒนธรรมจึงก่อกำเนิด พิธีกรรมต่าง ๆ ขึ้น เช่น การเซ่นสรวง การเลี้ยงดูการสร้างสิ่งเคารพบูชา เพื่ อทำให้ผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านั้นเกิด ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต า ม ค ว า ม เ ชื่ อ ข อ ง แ ต่ ล ะ ท้ อ ง ถิ่ น แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ช น ขึ้ น ม า ครั้นเมื่ อผู้คนได้ทำการบูชาเซ่นสรวงหรือทำพิธีกรรมทั้งหลายแล้ว ต่างก็ไม่สามารถทราบได้ว่าผีหรือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์เหล่านั้นมีความพึงพอใจ ได้ตามสิ่งที่ต้องการ หรือไม่ ทำให้แต่ละกลุ่มชนต้องหา “ช่องทางการติดต่อ สื่ อสาร” กับผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านั้น กลุ่มชนหลายกลุ่มติดต่อสื่ อสารกับผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้โดยตรง โดยทุกคน สามารถบอกกล่าวเรื่องราวต่าง ๆ ได้ แต่เป็นการสื่ อสารทางเดียว เพราะผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ไม่สามารถสื่ อสารกลับได้ จึงเป็นสาเหตุทำให้ต้องมี“คนกลาง” ที่คอยรับสารจากอีกด้านหนึ่งไปบอกกับอีกด้านหนึ่ง คนกลางที่ว่านั้นก็คือ “คนทรง” หรือ “ร่างทรง” ตามความเชื่อในแบบฉบับของแต่ละกลุ่มชน โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 6

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ห ลั ก ฐ า น ค ว า ม เ ก่ า แ ก่ เ รื่ อ ง ก า ร เ ข้ า ท ร ง การเข้าทรงหรือการเป็นสื่ อกลางถ่ายทอดระหว่างสิ่งศักดิ์สิทธิ์กับคนทั่วไป อาจจะมีมาแล้วตั้งแต่สมัยก่อน ประวัติศาสตร์ หรือในอารยธรรมอื่ น ๆ ทั่วโลก แต่หลักฐานชัดเจนในคัมภีร์ทางด้านศาสนาพุ ทธคือปรากฏในพระไตรปิฎก ได้ บอกไว้อย่างชัดเจนว่า การเข้าทรงนั้นเป็นหนึ่งใน “ติรจฺฉานวิชฺชา” หรือ เดรัจฉานวิชา ที่พระภิกษุ ไม่ควรเลี้ยงชีพด้วยวิธีการ อ ย่ า ง นี้ ข้อความในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค ความว่า[2] ยถา วาปเนเก โภนฺโต สมณพฺ ราหฺมณา สทฺธาเทยฺยานิ โภชนานิ ภุญฺชิตฺวาเต เอวรูปาย ติรจฺฉานวิชฺชาย มิจฺฉาชีเวนชีวิกํ กปฺเปนฺติ ฯ เสยฺยถีทํฯ อาวาหนํ วิวาหนํสํวทนํ วิวทนํ สํกิรณํวิกิรณํ สุภตกรณํทุพฺ ภตกรณํ วิรุทฺธคพฺ ภกรณํ ชิวฺ หานิพนฺธนํ หนุสํ หนนํหตฺถาภิชปฺปนํ กณฺณชปฺปนํ อาทาสปญฺหํ กุมารีปญฺหํเทวปญฺหํ อาทิจฺจุปฏฺฐานํ มหตุปฏฺฐานํอพฺ ภุชฺชลนํ สิริวฺ หายนํ อิติวา ฯ อิติเอวรูปาย ติรจฺฉานวิชฺชาย มิจฺฉาชีวาปฏิวิรโต โหติ ฯ อิทํปิสฺส โหติ สีลสฺมึ ฯ แ ป ล ค ว า ม เ ป็ น ภ า ษ า ไ ท ย ว่ า “ภิกษุ เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่ เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ ให้ฤกษ์อาวาหมงคล ให้ฤกษ์วิวาหมงคล ดูฤกษ์ เรียงหมอน ดูฤกษ์หย่าร้าง ดูฤกษ์เก็บทรัพย์ ดูฤกษ์จ่ายทรัพย์ ดูโชคดี ดูเคราะห์ร้าย ให้ยาผดุงครรภ์ ร่ายมนต์ให้ลิ้นกระด้าง ร่ายมนต์ให้คางแข็ง ร่ายมนต์ให้มือสั่น ร่ายมนต์ไม่ให้หูได้ยินเสียง เป็นหมอทรงกระจก เป็นหมอทรงหญิงสาว เป็นหมอทรง เจ้า บวงสรวงพระอาทิตย์ บวงสรวงท้าวมหาพรหม ร่ายมนต์พ่นไฟ ทำพิธีเชิญขวัญ แม้ข้อนี้ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง” โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 7

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ค ว า ม เ ชื่ อ เ กี่ ย ว กั บ ผี ห รือ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ม า เ ข้ า ท ร ง จากการสอบถามผู้ที่เป็นร่างทรงในวัฒนธรรมต่าง ๆ พบว่าสิ่งที่มาเข้าทรงหรือมาประทับทรงนั้น เป็นผีหรือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น แต่ละวัฒนธรรม คือ - วิญญาณบรรพบุรุษ ซึ่งเป็นคนในสายสกุลที่เสียชีวิตไปแล้วเป็นเวลานานจนกลายเป็นวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ มักไม่มี ลักษณะจำเพาะเจาะจงว่าเป็นบุคคลใดหรือเสียชีวิตเมื่ อใด บอกลักษณะเป็นภาพรวมเท่านั้น - ครูหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำตัว - เทพในทางศาสนา มีทั้งเทพที่เกี่ยวข้องกับศาสนาพราหมณ์ฮินดูและศาสนาพุ ทธ รวมทั้งความเชื่ออื่ น ๆ ที่เข้ามาใน ภายหลัง เช่น เจ้าพ่อ หรือ เจ้าแม่ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมจีน - วิญญาณวีรบุรุษ มักจะเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นที่รับรู้กันทั่วไป - ผี วิญญาณหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สิงสถิตย์ประจำท้องถิ่น โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 8

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY บุ ค ค ล ผู้ เ ป็ น ร่ า ง ท ร ง ไม่มีการระบุลักษณะเฉพาะว่าต้องเป็นคนแบบใด ส่วนมากเป็นไปตามลักษณะความเชื่อของแต่ละท้องถิ่นและแต่ละ กลุ่มชน เช่น - กลุ่มที่เข้าทรงเพื่ อติดต่อกับวิญญาณบรรพบุรุษหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำท้องถิ่น มักจะสืบทอดกันต่อมาทางสาย เลือด ส่วนมากเป็นการสืบทอดทางสายผู้หญิง ซึ่งการอ้างการสืบทอดสายเลือดทางฝ่ายหญิง เป็นลักษณะเด่นของกลุ่มชนใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาเป็นเวลานานแล้ว ดังเช่นที่ปรากฏในศิลาจารึกโวคาญ ที่พบในจังหวัดญาตรังของเวียดนามใน ปัจจุบัน อายุประมาณ 1,700-1,800 ปีมาแล้ว และในจารึกสด๊กก๊อกธม จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย อายุประมาณ 1,000 ปี ก็ปรากฏร่องรอยให้เห็นชัดเจนแล้ว - กลุ่มที่เข้าทรงเทพในทางศาสนาและวิญญาณวีรบุรุษ รวมถึงวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ประจำถิ่นบางแห่ง มักจะไม่ได้ สืบทอดทางสายเลือด จากการศึกษาพบว่า กลุ่มคนเหล่านี้มักกล่าวอ้างว่า เป็นคนที่เทพเจ้าหรือวิญญาณศักดิ์สิทธิ์เลือกเข้ามา ประทับเอง อาจเป็นเพราะสามารถสื่ อถึงกันได้ หรือเคยมีความผูกพันกันมาตั้งแต่ครั้งอดีต แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่า บุคคลที่วิญญาณบรรพบุรุษ เทพ หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต้องการมาประทับทรงนั้น มักจะ รู้สึกตัวมาก่อนว่าตนเองต้องเป็นร่างทรง หากไม่รับเป็น ส่วนมากจะเกิดอาการเจ็บป่วยไม่สบายอย่างรุนแรง และรักษาไม่หาย ต่อเมื่ อรับเป็นร่างทรงแล้วเท่านั้น อาการเหล่านั้นจึงจะหายไปและกลับมาเป็นคนปกติได้ จากการสอบถามข้อมูลในกลุ่มคนที่เป็นร่างทรงผีบรรพบุรุษ หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำท้องถิ่น เมื่ อรับเป็นร่างทรงแล้ว จะ ต้องเป็นตลอดชีวิต และต้องทำหน้าที่เป็นร่างทรงอยู่เสมอ หากไม่ทำก็จะเกิดอาการเจ็บป่วยรักษาไม่หายเช่นเดียวกัน อาจจะมี ยกเว้นบ้างสำหรับบางคนที่ไม่สามารถทำหน้าที่ได้ เช่น ร่างกายไม่แข็งแรง เจ็บป่วยเรื้อรัง หรือไปจากถิ่นที่อยู่อาศัยเดิม เ ป็ น ต้ น โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 9

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ห น้ า ที่ ข อ ง ร่ า ง ท ร ง ในกลุ่มคนที่เป็นร่างทรงแบบเดิมคือ ทรงผีบรรพบุรุษหรือวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ในท้องถิ่น พบว่าหน้าที่หลักจะเป็นผู้ทำ หน้าที่เซ่นสรวงสังเวยสิ่งศักดิ์ประจำหมู่บ้าน รักษาอาการเจ็บป่วยของคนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นโรคหรือการเจ็บป่วยที่รักษาด้วย แพทย์แผนปัจจุบันแล้วอาการไม่ดีขึ้น เป็นที่ปรึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ด้านจิตวิญญาณเรื่องลี้ลับที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อใน ชุ ม ช น ในกลุ่มร่างทรงเทพทางศาสนาและวิญญาณวีรบุรุษทั้งหลาย มักจะอ้างอิงเรื่องการสืบทอดศาสนา เพิ่มพู นบารมีด้วย การช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากด้านต่าง ๆ หลากหลายกว่าร่างทรงแบบเดิม เป็นที่ปรึกษาเรื่องโชคชะตา เรื่องโชคลาภ ในระยะ หลังๆ มักจะมีเรื่องเกี่ยวข้องทางเศรษฐกิจเป็นจำนวนมาก โดยบางครั้งมีการทับซ้อนกับโหราศาสตร์และไสยศาสตร์ด้วย ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก า ร เ ข้ า ท ร ง รูปแบบและลักษณะของการทรงนั้น มีทั้งที่เป็นแบบมีดนตรีประกอบ และแบบไม่มีดนตรีประกอบ การเข้าทรงที่มีดนตรี ประกอบนั้น มักจะเป็นการทรงเพื่ อรักษาโรคภัยไข้เจ็บหรือเลี้ยงขอบคุณผีหรือวิญญาณท้องถิ่น ซึ่งมีลักษณะความนิยมที่แตก ต่างกันออกไป แต่ในระยะหลังเริ่มมีการนิยมทรงเทพเจ้าหรือเจ้าพ่อเจ้าแม่ต่าง ๆ ก็มักมีดนตรีประกอบด้วยส่วนการทรงทั่วไป ไม่นิยมใช้ดนตรีประกอบ มักใช้วิธีการอัญเชิญผี วิญญาณหรือเทพเข้ามาประทับทรงโดยตรง จากการสอบถามผู้ที่เคยคิดว่าตนเองเป็นร่างทรงบอกว่า ความรู้สึกในขณะที่เข้าทรงนั้น เหมือนครึ่งหลับครึ่งตื่ น การ พู ดการคุยกับคนอื่ น แม้จะรู้สึกตัวอยู่ตลอดเวลา แต่ก็ไม่สามารถบังคับตัวเองได้ ส่วนผู้ที่เข้าทรงตามจังหวะเสียงดนตรีก็เช่น เดียวกัน บอกว่ามีความรู้เคลิ้ม ร่ายรำไปตามจังหวะดนตรีโดยที่ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 10

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ร่า ง ท ร ง กั บ สั ง ค ม ไ ท ย ปั จ จุ บั น ในสังคมไทยปัจจุบันมีร่างทรงปรากฏอยู่เป็นจำนวนมากและหลากหลายรูปแบบ จากการศึกษา เราสามารถแบ่งกลุ่ม ร่างทรงในสังคมไทยออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ด้วยกันคือ 1. ร่างทรงแท้ เป็นร่างทรงที่ผ่านการสืบทอดมาเป็นระยะเวลาหลายรุ่น ส่วนมากที่พบจะเป็นร่างทรงแบบโบราณ กลุ่มนี้มักไม่ค่อยเรียกร้องผลประโยชน์ แต่ทำกิจกรรมไปตามหน้าที่ตามที่เชื่อว่าตนเองได้รับมอบหมายมา มักพบอยู่ตาม ชนบท หรือตามท้องถิ่นต่าง ๆ 2. ทรงเทียม หรือร่างเทียม ร่างทรงกลุ่มนี้ไม่ใช่เป็นกลุ่มที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ จากการสอบถามร่าง ทรงกลุ่มนี้พบว่า แต่ละคนจะมีความรู้สึกว่าได้รับเลือกให้เป็นร่างทรงของเทพหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพื่ อลงมาบำเพ็ญบารมีต่าง ๆ ในการช่วยเหลือคนที่มีความเดือดร้อนหรือประสบเหตุร้ายต่าง ๆ บางคนทรงเป็นพัก ๆ ไม่ต่อเนื่ อง แต่ก็มีอีกหลายคนที่บอก ว่ า จ ะ เ ป็ น ร่ า ง ท ร ง แ บ บ นี้ ไ ป ต ล อ ด ชี วิ ต 3. แกล้งทรง ในปัจจุบันพบร่างทรงแบบนี้เป็นจำนวนมาก บางคนไม่มีผี วิญญาณหรือเทพมาประทับแต่อย่างใด แต่แกล้งทำเพื่ อผลประโยชน์บางอย่าง แต่ก็มีร่างทรงบางคนบอกว่าตนเองมีความรู้สึกว่าสามารถสื่ อสารกับเทพหรือวิญญาณ ศักดิ์สิทธิ์บางองค์หรือหลาย ๆ องค์ได้ และตั้งสำนักหรือสถานที่ประกอบพิธีใหญ่โตเพื่ อความน่าเชื่อถือ โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 11

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ร่า ง ท ร ง กั บ ห ลั ก ค ว า ม เ ชื่ อ ท า ง ศ า ส น า ในความเชื่อดั้งเดิมของการนับถือศาสนาสมัยพระเวทในอินเดีย ผู้คนสามารถติดต่อสื่ อสารหรือบูชาเทพเจ้าที่มีอยู่ใน ธรรมชาติได้ด้วยตนเอง ในเวลาต่อมาเมื่ อศาสนามีการพัฒนามากขึ้น มีรูปแบบที่ชัดเจนมากขึ้น จะมีกลุ่มบุคคลที่อ้างการ ติดต่อสื่ อสารกับเทพเจ้าได้ก็คือบรรดาพราหมณ์ทั้งหลาย และในสมัยต่อมาพราหมณ์ทั้งหลายก็เลยจำกัดบทบาทหน้าที่การ สื่ อสารกับเทพเหล่านี้ไว้สำหรับกลุ่มตนเท่านั้น สำหรับในทางพระพุ ทธศาสนา การทรงเจ้าเข้าผี มีการระบุไว้ในพระไตรปิฎกว่า เป็นเดรัจฉานวิชาที่พระภิกษุ ต้องเว้น ข า ด ไ ม่ ใ ห้ ป ร ะ ก อ บ ใ น ก า ร เ ลี้ ย ง ชี พ ในด้านการเข้าทรงหรือความรู้สึกว่าตนเองเป็นร่างทรงนั้น ผู้บรรยายได้สอบถามพระภิกษุ ผู้เคยรู้สึกตัวว่ามีพระยานาค มาเข้าทรงว่า เมื่ อครั้งท่านได้ปฏิบัติกรรมฐานมีความรู้สึกว่ามีพระยานาคมารัดตัวและอยู่ด้วยตลอดเวลา ไม่ว่าจะเดิน หรือจะ ไปไหน จะรู้สึกเสมอว่าพระยานาคจะเลื้ อยตามไปทุกหนทุกแห่ง บางครั้งนำหน้าบางครั้งก็ตามหลัง มีเหตุการณ์หลายอย่างที่ไม่ สามารถควบคุมความรู้สึกตัวเองได้ รวมถึงการพู ดคุยและการทำกริยาบางอย่างก็ไม่สามารถควบคุมได้เช่นกัน ในทาง กรรมฐานเรียกว่า การจับอารมณ์หรือการติดอยู่ในอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง และเหตุการณ์เป็นอย่างนี้จนถึง 6 ปี จนเมื่ อได้ รับคำแนะนำจากอาจารย์ผู้สอนกรรมฐาน ให้ข้ามพ้นความรู้สึกนั้นไปได้ จึงไม่ได้มีเหตุการณ์เช่นนั้นอีกเลย โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 12

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY LECTURE ยันต์! กันลืมกันหน่อยมั้ย .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 13

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY LECTURE ยันต์! กันลืมกันหน่อยมั้ย .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 14

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY LECTURE ยันต์! กันลืมกันหน่อยมั้ย .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 15

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY แนะนําผู้รับผิดชอบโครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 1. นายปชิตะ รัตนวรรณ ตำแหน่ง ประธาน นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 2. นางสาวศิวพร วาปีกัง ตำแหน่ง รองประธาน นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 3. นางสาวปิยธิดา ศิลารัตน์ ตำแหน่ง กรรมการ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 16

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY แนะนําผู้รับผิดชอบโครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 4. นางสาวเพ็ญนภา เขาน้อย ตำแหน่ง กรรมการ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 5. นายศราวุ ฒิ กองขันธ์ ตำแหน่ง กรรมการ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 6. นางสาวลลิดา ถึกไทย ตำแหน่ง กรรมการและเลขานุการ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 17

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY แบบประเมินโครงการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ สสาามมาารรถถสสแแกกนน QQRR CCOODDEE เเพพืื่่ออปปรระะเเมมิินน โครงการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ร่างทรง” ทำไมยังคงอยู่ 18

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY

สาขาวิชาสังคมศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร SOCIAL STUDIES PROGRAM, COLLEGE OF TEACHER EDUCATION, PHRANAKHON RAJABHAT UNIVERSITY \" ร่ า ง ท ร ง \" ? ?ทำ ไ ม ยั ง ค ง อ ยู่ . . . วั น นี้ คุ ณ ไ ด้ คำ ต อ บ แ ล้ ว ห รื อ ยั ง คณะกรรมการดำเนินการจัดสัมมนาฯ ขอขอบพระคุณผู้เข้าร่วมสัมมนาฯทุกท่านมา ณ โอกาสนี้