Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4.การบูรณาการ ภาวะผู้นำ การบริหารจัดการยุคใหม่ ppt

4.การบูรณาการ ภาวะผู้นำ การบริหารจัดการยุคใหม่ ppt

Published by iamkittipan, 2017-07-02 23:43:31

Description: 4.การบูรณาการ ภาวะผู้นำ การบริหารจัดการยุคใหม่ ppt

Search

Read the Text Version

บทที่ 1ความรู้เกยี่ วกบั การบริหารจดั การการบริหารจัดการ ได้ววิ ฒั นาการมาต้งั แต่อดตี จนถงึปัจจุบัน แบ่งออกเป็ น 4 กล่มุ สาคญั ๆ ดงั นี้ 1. กลุ่มการจัดการแบบด้ังเดิม 2. กลุ่มการจัดการเน้นมนุษยสัมพนั ธ์ 3. กลุ่มการจัดการเชิงปริมาณ 4. กล่มุ การบริหารจดั การปัจจุบนั

Definition : Administration & Management --------------1. Administration is determine Policy and Planning , component of : Planning, Organizing, Staffing, Directing, Coordinating, Reporting and Budgeting : POSDCoRB2. Management is the process of working which and through others to achieve organizational objectives in a changing environment. Central to this process is the effectiveness and efficiency use of limited resources.

Process Administration (Gulilck,Urwick;1939) 1. Planning is the formulation of future courses of action. Plans and theobjectives on which they are based give purpose and direction to theorganization, its subunits, and contributing individuals. 2. Decision Making. Managers choose among alternative courses ofaction when they make decisions. Making intelligent and ethical decisionsin today’s complex world is a major management challenge. 3. Organizing. Structural considerations such as the chain of command,division of labor, and assignment of responsibility are part of theorganizing function. Careful organizing helps ensure the efficient use ofhuman resources. 4. Staffing. Organizations are only as good as thepeople in them. Staffingconsists of recruiting. Training, and developing people who can contributeto the organized effort.

5. Communicating. Today’s managers are responsible for communicatingto their employees the technical knowledge, instructions, rules, andinformation required to get the job done. Recognizing that communication isa two-way process, managers should be responsive to feedback and upwardcommunication. 6. Motivating. An important aspect of management today is motivatingindividuals to pursue collective objectives by satisfying needs and meetingexpectations with meaningful work and valued rewards. 7. Leading. Managers become inspiring leaders by serving as role models andadapting their management style to the demands of the situation. The idea of visionaryleadership is popular today. 8. Controlling. When managers compare desired results with actual results and takethe necessary corrective action, they are keeping things on track through the controlfunction. Deviations from past plans should be considered when formulating new plans.

Process Management (Peter F.Drucker, 1954)Planning : Management function that : Involves the process of defining goals, establishing strategies for achieving thosegoals, and developing plans to integrate and coordinate activities.Organizing : Management function that : Involves the process of determining what tasks are to be done, who is to do them,how the tasks are to be grouped, who reports to whom, and where decisions are to bemade.Leading : Management function that : Involves motivating subordinates, influencing individuals or teams as theywork, selecting the most effective communication channels, or dealing in any waywith employee behavior issues.Controlling : Management function that : Involves monitoring actual performance, comparing actual to standard, andtaking action, if necessary.

Efficiency and Effectiveness : 1. Efficiency a central element in the process ofmanagement that Balances the amount of resourcesused to achieve and objective against what was actuallyaccomplished. 2. Effectiveness a central in the process of management thatentails achieving a stated organizational objective. 3. Management Process is the net of ongoing decisionsand work activities in which mangers engage as they plan,organize, lead and control.

Management Hierarchy 1. Top Management. 2. Middle Management 3. Lower Management ปัจจัยทางด้านการจดั การ - Man - Money - Materials - Methods - Market - Machine - Moral

Process ManagementInput Process Output - Objectives4 M’s - POLC6 M’s - POSDC - Goals8 M’s - POSDCORB Feedback

• การจัดการเป็ นท้งั ศาสตร์และศิลป์• Science : เป็ นความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจในหลกั วิชาการบริหาร• Art : เป็ นทกั ษะ ท่ีเกิดจากความเช่ียวชาญ/ชานาญในการปฏิบตั ิงาน• โดยการจัดการ ผู้จัดการ จะตอ้ งมีท้งั ศาสตร์และศิลป์ คือเป็นผทู้ ี่มีความรู้และ สามารถนาความรู้ไปปฏิบตั ิงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ เพ่อื ใหก้ ารดาเนินงาน ไดผ้ ล(ประสิทธิผล)ตามวตั ถุประสงคแ์ ละเป้ าหมายที่กาหนดไว้• ทฤษฎกี ารจดั การท่สี าคญั ๆ แบ่งเป็ น 4 กล่มุ 1. กลุ่มทฤษฎกี ารจัดการแบบคลาสิก 2. กลุ่มทฤษฎกี ารจัดการเน้นมนุษยสัมพนั ธ์ 3. กล่มุ ทฤษฎกี ารจดั การเชิงปริมาณ 4. กลุ่มทฤษฎกี ารจดั การปัจจุบนั

ววิ ฒั นาการแนวคดิ และทฤษฎที างด้านบริหารจัดการ(7500 ปี ถึงปัจจุบนั ) 5000 BC ชาวสุเมเรียน – จดั ทาบันทึกความสาเร็วในการทางาน 4000,2600 BC ชาวอยี ปิ ต์ – วางแผน จดั องค์การ ควบคุม และกระจายอานาจ 1100 BC ชาวจนี – ให้ความสาคญั ในการออกแบบจดั องค์การ 350 BC ชาวกรีก – ประยกุ ต์ใช้วทิ ยาศาสตร์ในการบริหารงาน 325 BC อเลก็ ซานเดอร์ – ต้งั คณะทปี่ รึกษาให้คาแนะนาในการบริหารงาน 280 ค.ศ. ดโิ อ เคลเดยี น – มอบหมายอานาจหน้าทใ่ี นการทางาน 1776 ค.ศ. อดมั สมธิ – ประยุกต์ใช้หลกั ความชานาญในการทางาน ศตวรรษที่ 17-18 - ปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมในองั กฤษและยุโรปตะวนั ออก โดยองั กฤษเป็ นหลกั 1869 Gulilck and Urwick - สร้างทฤษฎกี ารจดั การ ให้ฝ่ ายบริหารดาเนินการ คอื POSDCORB 1881 Frederick W.Taylor – การจดั การแบบวทิ ยาศาสตร์ หาวธิ ีการทางานให้มปี ระสิทธิภาพมากทส่ี ุด 1920 Max Weber - ได้เสนอรูปแบบการจัดการองค์กรระบบราชการให้มปี ระสิทธิภาพ 1925 Henri Fayol - นาหลกั การบริหารจัดการโดยภาพรวมหรือบูรณาการ 1985 Edward Deming - สร้างคุณภาพมาตรฐานสินค้า ISO…และควบคุมคุณภาพด้วย TQM 1990 Micheal Hammer - การจดั การแบบออกคาสั่งรื้อระบบ เป็ นผู้จุดชนวน Re-engineering 2005 Peter F. Drucker - การบริหารจดั การยุคใหม่ บริหารตามวตั ถุประสงค์องค์การ (MBO)

กล่มุ การจดั การแบบคลาสสิก (Classical Perspective)• แบ่งออกเป็ น 3 แบบ1. การจดั การแบบวทิ ยาศาสตร์ (Scientific management)2. การจัดการแบบระบบราชการ (Bureaucratic management)3. การจัดการตามหลกั การบริหาร (Administrative management)

1. กลุ่มการจัดการแบบวทิ ยาศาสตร์• เป็ นกระบวนการจัดการทอี่ าศัยหลกั เกณฑ์ทาง วทิ ยาศาสตร์ ในการทางานให้เกดิ ประสิทธิภาพ ใช้หลกั เหตุผล สามารถพสิ ูจน์หาข้อเทจ็ จริงได้• Frederick W. Taylor (Frederick W.Taylor,1881)• ได้ชื่อว่าเป็ นบดิ าของการจดั การแบบวิทยาศาสตร์ – สร้างแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ ในการหาวธิ ีการทางานให้มปี ระสิทธิภาพมากทส่ี ุด – มุ่งให้ผู้ปฏิบตั ิงานใช้ความรู้ความสามารถมากทส่ี ุด – การเพมิ่ ประสิทธิภาพในการผลติ โดยพยายามลดต้นทุนและเพม่ิ กาไร – รวมถงึ เพม่ิ ค่าจ้างให้คนงานทส่ี ามารถเพม่ิ ผลผลติ ให้สูงขนึ้ โดยถอื หลกั ของการให้ ค่าตอบแทนทเ่ี หมาะสม

• หลกั การจดั การทางวทิ ยาศาสตร์1. อาศัยหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์หรือหลกั ของเหตุผล เพอื่ ทจ่ี ะค้นหาวธิ ีทางานทม่ี ี ประสิทธิภาพทส่ี ุด2. กาหนดมาตรฐานของงาน คุณภาพ และปริมาณของผลงานท่ีต้องการ โดยวเิ คราะห์ ความสัมพนั ธ์ระหว่างงานกบั ผู้ปฏิบัติ3. มกี ารพจิ ารณาผลตอบแทนในการปฏบิ ัตงิ าน ให้สอดคล้องกบั ความต้องการของ ผลผลติลกั ษณะทสี่ าคญั 4 ประการ การจดั การแบบวทิ ยาศาสตร์ของ Taylor1. พฒั นาความรู้ในวธิ ีการทางานโดยอาศัยหลกั วทิ ยาศาสตร์2. ต้องมีการคดั เลอื กและพฒั นาคนงาน โดยใช้หลกั เกณฑ์ทางวทิ ยาศาสตร์ : เพอื่ ให้ได้ คนทเ่ี หมาะสมกบั งาน ทาให้งานทท่ี ามปี ระสิทธิภาพสูงขึน้3. มกี ารร่วมมอื กนั อย่างจริงจังในทางานจากทุกฝ่ าย4. มีการแบ่งงานกนั ทาตามความเหมาะสม

• ผลงานทีส่ าคญั ของ Taylor1. การใช้ระบบค่าตอบแทนรายชิ้น: ทามากได้มาก ทาน้อยได้น้อย2. หลกั การเสียเวลา: เป็ นการศึกษาเพอื่ หาเวลามาตรฐานในการทางานแต่ละชิ้น ว่าควรจะใช้เวลาเท่าใด ใช้หลกั Put the right man in the right job3. หลกั การทางานตามแบบวทิ ยาศาสตร์: ฝ่ ายบริหารควรกาหนดวธิ ีการและ มาตรฐานในการปฏิบัติงานโดยใช้วธิ ีทางวทิ ยาศาสตร์ทสี่ ามารถวดั และ ตรวจสอบได้ (Method and Tools)4. หลกั การแยกงานด้านการวางแผนออกจากงานปฏิบตั ิ: • งานด้านวางแผนเป็ นหน้าทีข่ องฝ่ ายบริหาร • งานด้านการปฏิบัติเป็ นหน้าท่ีของคนงาน5. หลกั การควบคุมโดยฝ่ ายจดั การ: ผู้จัดการควรได้รับการฝึ กทด่ี ี สามารถ วางแผนและควบคุมการปฏิบัตงิ านได้6. หลกั การจดั ระเบียบการปฏบิ ัตงิ าน: การปฏิบัตงิ านต้องมีกฎระเบียบ เพอ่ื ให้ การทางานมีประสิทธิภาพ

การจดั การแบบวทิ ยาศาสตร์ของ Henry L.Gantt• Henry L. Gantt เป็ นวศิ วกรเครื่องกล ได้ร่วมงานกบั Taylor และ ร่วมกนั สร้างผลงานหลายอย่าง เช่น การฝึ กอบรมให้กบั พนักงาน เพอ่ื เพมิ่ ผลผลติ (Training) และการสร้างแรงจูงใจ(Motivation)• ผลงานของ Gantt ทสี่ าคญั ได้แก่ – พฒั นาแผนภูมิบนั ทกึ ความก้าวหน้าของงานเทยี บเวลา Grant chart หรือ Barchart ต่อมาเรียก PERT (Program Evaluation and Review Technique) – ระบบการจูงใจโดยการให้ Bonus โดย Gantt เชื่อว่า คนเป็ น องค์ประกอบทส่ี าคญั อย่างหน่ึงของปัญหาด้านการจดั การท้งั หมด

2. การจดั การในระบบราชการของ Weber• Max Weber(1906 – 1920) นักสังคมวทิ ยาชาวเยอรมัน• ศึกษาการทางานภายในองค์การ และโครงสร้างของสังคมได้แก่ ข้าราชการพลเรือน ทหาร ตารวจและองค์การของรัฐ/รัฐวสิ าหกจิ ฯ• ได้เสนอรูปแบบการจัดการทเ่ี รียกว่าระบบราชการ ซึ่งถอื เป็ นรูปแบบของ องค์การในอุดมคติ และเป็ นรูปแบบขององค์การทม่ี ปี ระสิทธิภาพ• ระบบราชการ มลี กั ษณะทส่ี าคญั 6 ประการ1. มกี ารจัดช้ันตาแหน่งและสายการบงั คบั บญั ชาไว้อย่างชัดเจน2. มกี ารแบ่งงานกนั ทาโดยคานึงถงึ ความชานาญเฉพาะอย่าง แต่ละงานมขี อบเขตแน่นอน ไม่ก้าวก่ายซ่ึง กนั และกนั3. มรี ะเบยี บกฎเกณฑ์ในการปฏบิ ตั ิงาน4. มกี ารจดั ระบบของการทางานและมรี ะเบยี บแบบแผนในการปฏิบตั ิ5. ไม่นาความสัมพนั ธ์ส่วนตัวเข้ามาเกยี่ วข้องในงาน ทุกคนทางานโดยยดึ หลกั เหตุและผล6. การเลอื กคนเข้าทางานและการเลอื่ นข้นั เลอื่ นตาแหน่ง จะต้องพจิ ารณาจากความรู้ความสามารถเป็ น เกณฑ์

หลกั การจัดการ“ระบบราชการ”ของ Max Weber มีการแบ่งงานกนั ทาตามแนวราบ ( Horizontal Delegation) ทาให้กระบวนการทางานในองค์การ ท้งั ระบบมผี ู้รับผดิ ชอบ และมกี ารแบ่งงานกนั ทาเพอื่ ให้เกดิ ความชานาญเฉพาะอย่าง องค์การน้ันๆต้องมสี ายบังคบั บญั ชาตามลาดบั ช้ัน ( Authority Hierarchy) : มีกระทรวง กรม หรือสานักงานและตาแหน่งงานทอ่ี ยู่ใต้หน่วยงานหรือตาแหน่งงานอยู่ใต้การดูแลในระดบั สูงขนึ้ ไป ระบบคดั เลอื กคนงาน ( Formal Selection ) : ผู้ท่ีเข้าร่วมในหน่วยงานจะถูกคดั เลอื กตามความรู้ ความสามารถและคุณสมบัติ ทม่ี รี ะบบการคดั เลอื กและการสอบคดั เลอื กอย่างเป็ นระบบ/ทางการ มกี ารยดึ หลกั กฎหมายและบนั ทกึ ไว้เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร ( Evidence and Reference ) องค์การต้องมรี ะเบยี บ และกฎเกณฑ์ ( Formal Rules and Regulations ) : เพอื่ ให้สามารถและ ประกนั ความเป็ นเอกภาพในการดาเนินการ และกากบั การทางานของข้าราชการและพนักงาน ความไม่เลอื กท่ีรักมกั ทช่ี ัง ( Impersonality ) : ไม่มีการถอื /นาสายสัมพนั ธ์ในครอบครัวเป็ นใหญ่ ไม่มกี ารให้สิทธิพเิ ศษแก่บุคคลใดบุคคลหน่ึง โดยดาเนินการไปตามระเบียบ/กฎเกณฑ์เป็ นสาคญั การแยกระบบการทางานออกเป็ นสายอาชีพ ( Career Orientation ) : คนทางานจะเข้าสู่ ตาแหน่งตามความสามารถของแต่ละคน มีเลอ่ื นข้นั /ตาแหน่งในหน่วยงานไปตามลาดบั ๆ

ข้อดแี ละข้อเสียของ“ระบบราชการ”• ข้อดขี องระบบราชการ• ลาดับข้ันการบังคบั บญั ชา เป็ นเคร่ืองมือควบคุมการปฏิบัตหิ น้าทร่ี าชการและ ความสัมพนั ธ์ทมี่ ีต่อกนั• ไม่สับสนในบทบาท เพราะแต่ละคนรู้ว่าจะทาอะไรและสามารถตรวจสอบได้• การมีกฎระเบียบ ทาให้รู้บทบาท ช่วยลดต้นทุนในการกากบั ดูแล• การทางานในหน่วยงาน มีความแน่นอน มีลกั ษณะเป็ นหลกั ฐานอ้างองิ ได้• การแบ่งแยกสายงาน ถือหลกั ความรู้(วฒุ ิการศึกษา)ความชานาญเฉพาะด้าน• กระบวนการทางานในองค์การท้งั ระบบ มีผู้รับผดิ ชอบตามอานาจและหน้าที่• ไม่มีการให้สิทธิพเิ ศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทุกคนต้องทาตามกฎเกณฑ์และ ระเบยี บทกี่ าหนดขึน้ ในกระทรวง กรมหรือสานักงานฯ

• ข้อเสียของ“ระบบราชการ”• มีองค์การปฏิบัติงานกระจายอยู่ทวั่ ประเทศ ซึ่งเป็ นเครือข่ายทกี่ ว้างขวางซับซ้อน จนไม่อาจจัดระบบควบคุมตรวจสอบ การใช้ดุลพนิ ิจในการใช้อานาจของข้าราชการทุกคน เป็ นการเฉพาะราย ๆ ได้• ระเบียบข้อบังคบั จานวนมากนีไ้ ด้สร้างความเคยชินกบั ข้าราชการ ว่าต้องเน้น ความถูกต้องตามระเบยี บ/กฎหมาย มากกว่าการเน้นประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน• มีมาตรฐานการจ้างงานเพยี งมาตรฐานเดียว ทาให้ไม่สามารถจ่ายค่าตอบแทนได้ อย่างเหมาะสมกบั ความรู้/ความชานาญหรือประสบการณ์ จงึ ทาให้ผ้ทู มี่ ปี ระสบการณ์สูง ไปทางานภาคเอกชน• เป็ นระบบทย่ี ากท่จี ะเปลยี่ นแปลง การไม่กล้าเปลย่ี นแปลงนีส้ ืบเน่ืองมาจากคนไม่กล้า ทาลายกฎระเบียบทมี่ อี ยู่ เพราะอาจทาให้องค์กรแตกสลาย หรือนาไปสู่การเล่นพวกฯ• มีการผูกขาดข้อมูลข่าวสาร มีการต่อต้านการเปลยี่ นแปลงและทาตวั เป็ นเผดจ็ การ

3. การจัดการตามหลกั การบริหาร Henri Fayol(1925)• เป็ นแนวคดิ ท่เี ช่ือว่า ประสิทธิภาพขององค์การจะเพม่ิ ขนึ้ ได้โดยการปรับปรุงกระบวนการบริหาร• Henri Fayol เป็ นวศิ วกรเหมืองแร่ชาวฝร่ังเศส ได้ชื่อว่าเป็ นบดิ า ของการจดั การเชิงปฏบิ ตั ิการสมยั ใหม่• แนวคดิ ของ Fayol – การวางรากฐานเพอื่ การสร้างประสิทธิภาพให้แก่องค์การ สามารถพฒั นาผลผลติ ของคนงานให้ดขี นึ้ ได้ – ให้ความสาคญั ต่อภารกจิ ทางการบริหารของฝ่ ายจัดการ

• Fayol แบ่งงานด้านอุตสาหกรรมออกเป็ น 6 กล่มุ1. ด้านเทคนิค: การผลติ งาน โรงงาน การปรับตวั2. ด้านการค้า: การซื้อ การขาย และการแลกเปลยี่ น3. ด้านการคลงั : การจดั หาทุน และการใช้จ่ายทุน4. ด้านความมน่ั คง: การรักษาคุ้มครองทรัพย์สินและบุคลากร5. ด้านการบญั ชี: งานธุรการพสั ดุ การงบดุล และสถิติ6. ด้านการจดั การ: การวางแผน จดั องค์การ การส่ังการ ประสานงานและการควบคุม• หลกั การบริหารของ Fayol1. การแบ่งงานกนั ทา2. อานาจหน้าที่และความรับผดิ ชอบ3. ระเบียบวนิ ัย4. เอกภาพในการบงั คบั บัญชา5. เอกภาพของการอานวยการ6. การถือเอาประโยชน์ส่วนรวมก่อนประโยชน์ส่วนตวั

7. ใหผ้ ลตอบแทนที่เหมาะสมและเป็นธรรม 11. ความเสมอภาค8. การรวมอานาจ 12. ความมนั่ คงใน การทางาน 13. ความคิดริเริ่ม9. การมีสายการบงั คบั บญั ชาท่ีชดั เจน 14. ความสามคั คี10. การจดั ระเบียบ• การจดั การของ Fayol1. การวางแผน (Planning)2. การจดั องค์กร (Organizing)3. การบงั คบั บญั ชา (Command)4. การประสานงาน (Co-ordination)5. การควบคุม (Control)

• Oliver Sheldon ชาวองั กฤษได้พฒั นาความคดิ ใน เร่ืองการจัดการและการบริหาร• Sheldon แบ่งการจัดการ เป็ น 3 ประการ1. การบริหาร (Administration) เป็ นเรื่องเกย่ี วกบั การกาหนดนโยบาย การวางแผน และประสานงานในหน้าทต่ี ่าง ๆ2. การจดั การ (Management) เป็ นเรื่องเกย่ี วกบั การนานโยบายและแผน มาดาเนินการเพอื่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้ าหมายทกี่ าหนดขนึ้ ไว้3. หน้าทใี่ นการจัดองค์การ เป็ นกระบวนการเพอ่ื ประสานงานระหว่างบุคคลหรือระหว่างกลุ่มบุคคลในองค์กร

การจดั การตามหลกั การบริหาร Gulilck and Urwickโดยเสนอทฤษฎกี ารจดั การเพอื่ ฝ่ ายบริหารดาเนินการ คอื POSDCORB• P (Planning) การวางแผน : เป็นการกาหนดส่ิงที่ตอ้ งการ และวธิ ีการเพื่อใหบ้ รรลุผลตามตอ้ งการ• O (Organizing) การจดั องคก์ าร : เป็นการกาหนดโครงสร้างของหน่วยงาน เพอ่ื ใหแ้ สดงบทบาท/หนา้ ท่ีและการใชอ้ านาจ• S (Staffing) การบริหารบุคคล : การคดั เลือก การพฒั นาและรักษาบุคลากร• D (Directing) การส่ังการ : การใชอ้ านาจสงั่ การตามสายการบงั คบั บญั ชา• CO (Co-ordinating) การประสานงาน :• R (Reporting) การรายงานตอ่ ฝ่ ายบริหาร : การประเมินผลเพอ่ื จดั ทารายงาน• B (Budgeting) การจดั ทางบประมาณ : วางแผนรายรับ-ราจ่ายและการควบคุม

• การบริหารตามแบบของ Herri Fayol (1925)1. การวางแผน (Planning)2. การจัดองค์กร (Organizing)3. การบังคบั บญั ชา (Command)4. การประสานงาน (Co-ordination)5. การควบคุม (Control)• การบริหารจดั การสมยั ใหม่ของ Peter F.Drucker (2005)1. การวางแผน (Planning)2. การจดั องค์กร (Organizing)3. การนา/จูงใจ (Leading)4. การควบคุม (Control)

การบริหารจัดการ(เร่ิมยคุ ใหม่)ของ Drucker (1954 - 2005) 1) Planning การวางแผน เป็ นการกาหนดหน้าทกี่ ารงานทต่ี ้องปฏิบตั ิ เพอื่ ให้บรรลุเป้ าหมายขององค์การ โดย กาหนดว่าจะดาเนินการอย่างไรและดาเนินการเมอ่ื ไร เพอื่ ให้สาเร็จตามแผนทว่ี างไว้ การวางแผนต้อง ครอบคลุมท้งั ในระยะส้ันและระยะยาว 2) Organizing การจดั องค์การ เป็ นการมอบหมายงานให้บุคลากรในแผนกหรือฝ่ ายได้ปฏิบตั ิเพอ่ื ให้บรรลุ เป้ าหมายตามแผนทวี่ างไว้ เมอ่ื แผนกหรือฝ่ ายประสบความสาเร็จกจ็ ะทาให้องค์การประสบ ความสาเร็จไปด้วย3) Leading การนา เป็ นการาจูงใจ การชักนา การกระตุ้นและชี้ทศิ ทางให้ดาเนินไปสู่การบรรลุเป้ าหมาย โดย การเพมิ่ ผลผลติ และเน้นมนุษยสัมพนั ธ์ทาเกดิ ระดบั ผลผลติ ในระยะยาวทส่ี ูงกว่าภาวะงานเพราะคน มกั ไม่ค่อยชอบภาวะงาน4) Controlling การควบคุม เป็ นภาระหน้าทขี่ องผู้บริหาร ทจี่ ะต้อง 1) รวบรวมข้อมูลเพอ่ื ประเมนิ ผล ดาเนินงาน 2) เปรียบเทยี บผลงานปัจจุบนั กบั เกณฑ์มาตรฐานทตี่ ้ังไว้ และ 3) ทาการตดั สินใจไป ตามเกณฑ์หรือไม่

2. กล่มุ การจดั การเน้นมนุษยสัมพนั ธ์ (Human Relations)• เนื่องจากการจดั การแบบวทิ ยาศาสตร์ ทคี่ ดิ ว่ามนุษย์ทางานเพอ่ื ผลตอบแทน หรือ ความต้องการในด้านเศรษฐกจิ แต่ความจริงมนุษย์มชี ีวติ จิตใจทีต่ ้องสิ่งอนื่ ๆด้วย• Elton Mayo เป็ นนักสังคมวทิ ยา (ปี 1880 – 1949) ชาวออสเตรเลยี และเป็ น ศาสตราจารย์ด้านการวจิ ยั อุตสาหกรรมของ Harvard University• ได้ทาการวจิ ัย Howthorne study ซึ่งเป็ นการศึกษาวจิ ัยเชิงทดลองในบริษทั Western Electric ซึ่งได้ทราบผลคอื 1. ประสิทธิภาพการทางาน ไม่ขึน้ อยู่กบั สภาพแวดล้อมทดี่ เี ท่าน้ัน แต่ยงั ขึน้ กบั การมี มนุษยสัมพนั ธ์ทดี่ ภี ายในองค์การด้วย 2. กลุ่มทางานจะเป็ นผู้กาหนดคุณลกั ษณะของสมาชิก แบบวธิ ีการของกลุ่มตลอดจน ความสาเร็จหรือความล้มเหลวขององค์การในสัดส่วนทกี่ ล่มุ ยอมรับได้ โดยอาศัย ความสัมพนั ธ์เชิงอานาจของกล่มุ 3. เมอื่ พนักงานในระดบั สูงสามารถจูงใจด้านจิตใจ จะมคี วามสาคญั มากกว่าการจูงใจ ด้วยเงนิ

• การจดั การเน้นมนุษยสัมพนั ธ์ของ Maslow(1954)• Abraham Maslow : ทฤษฎีลาดบั ข้นั ความตอ้ งการของมนุษย์1. ความต้องการทางร่างกาย(Physiological needs)2. ความต้องการความปลอดภยั (Safety needs)3. ความต้องการด้านสังคม(Social needs)4. ความต้องการยกย่อง/นับถือ(Esteem needs)5. ความต้องการประสบความสาเร็จในชีวติ (Growth needs)• Douglas McGregor(1964) : ทฤษฎกี ารจดั การมนุษย์สัมพนั ธ์ – ทฤษฎี X – ทฤษฎี Y

• ลกั ษณะทส่ี าคญั ของทฤษฎี X1. พนักงานต้องการทางานให้น้อยทส่ี ุด ดงั น้ันผู้บริหาร ต้องคอยควบคุม สั่งการ หรือลงโทษเพอื่ ให้บุคคลทางาน1. พนักงานขาดความทะเยอทะยานและไม่ต้องรับผดิ ชอบอะไร2. โดยทว่ั ไปพนักงานจะต่อต้านการเปลยี่ นแปลง เพราะเกรงว่าตนเองจะเดอื ดร้อน หรือต้องการทางานหนกั กว่าเดมิ• ลกั ษณะทสี่ าคญั ของทฤษฎี Y1. ชอบทางาน2. มคี วามคดิ ริเร่ิม ในการแก้ปัญหาในการทางานเพอื่ ให้บรรลุจุดมุ่งหมาย3. พนักงานมคี วามเต็มใจทจ่ี ะเสาะแสวงหางานมาทา และมคี วามรับผดิ ชอบ4. พนักงานจะยอมรับจุดมุ่งหมายขององค์การ เพอ่ื ทจ่ี ะใช้ความพยายามในการทางานให้สาเร็จ และบรรลุเป้ าหมายขององค์การ5. พนักงานมศี ักยภาพทจ่ี ะพฒั นาตนเองได้ และยงั ไม่ได้ใช้ความสามารถทม่ี อี ยู่อย่างเตม็ ที่

3. กล่มุ การจดั การเชิงปริมาณ• กลุ่มทฤษฎนี ีเ้ น้นแนวคดิ ของการบริหารทสี่ นใจทางด้าน จานวน การนาเอาข้อมูลสถติ มิ าใช้ในการตดั สินใจ• โดยแบ่งเป็ น 3 องค์ประกอบ1. การจดั การแบบวทิ ยาการ (Management Science)2. การจดั การปฏบิ ัตกิ าร (Operation Management)3. ระบบสารสนเทศการจัดการ (Management Information System : MIS)

• การจดั การแบบปฏิบตั กิ ารหรือการวจิ ัยปฏิบตั กิ าร 1. เป็นการนาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ท่ีคานึงถึงเหตุผล 2. การตดั สินใจตอ้ งพจิ ารณาทางเลือกต่างๆ จากขอ้ มลู ที่เก่ียวขอ้ งตา่ ง ๆ หรือใชก้ ารวเิ คราะห์ทางคณิตศาสตร์ 3. การใชโ้ มเดล(Model)สถานการณ์จาลอง(Simulation) ก่อนนาไปใชจ้ ริง• การจดั การแบบปฏบิ ตั กิ าร 1. การจดั การใช้เทคนิคเชิงปริมาณ เพอ่ื ปรับปรุงผลผลิตและเพิ่ม ประสิทธิภาพ การผลิตสินคา้ และบริการ 2. การคดิ ค้นออกแบบระบบ เพอื่ มาควบคุมกระบวนการผลิต การดาเนินงานฯ เช่น การจดั การสินคา้ คงคลงั เทคนิคตารางเวลาเพ่ือช่วยวางแผนการผลิต• การจดั การด้วยระบบสารสนเทศ 1. การพฒั นาระบบข้อมูล เพอ่ื นามาใชใ้ นการจดั การ โดยใชค้ อมพิวเตอร์ช่วยใน การจดั ระบบของขอ้ มลู ท่ีจาเป็นต่อการตดั สินใจ 2. ผู้บริหารสามารเรียกใช้ข้อมูลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและรวดเร็ว

4. กล่มุ การบริหารจดั การยคุ ใหม่/ปัจจุบนั• การจดั การในปัจจุบนั มเี ทคนิคใหม่ ๆ เกดิ ขนึ้ ตลอดเวลา• มปี ระเทศผู้นาด้านการจัดการ ได้แก่ USA และ Japan• มเี ทคนิคใหม่ ๆ ทนี่ ามาปรับใช้ เช่น1. การจัดการไปตามวตั ถุประสงค์ (Management by objective: MBO)2. การควบคุมคุณภาพ (Quality control: QC and QCC)3. การรื้อปรับระบบ (Reengineering)4. เทคนิคการจดั การแบบ 5 ส5. กลยุทธ์การจดั การ เพอื่ ให้เกดิ ความเป็ นเลศิ (Best Practices)

• การจดั องค์การ : การทบี่ ุคคลมาอยู่และปฏบิ ัตงิ านร่วมกนั โดยมี การแบ่งหน้าท่ีความรับผดิ ชอบหรือแบ่งงานกนั ตามความถนัด เพอื่ ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์หรือเป้ าหมายทไ่ี ด้ต้งั ไว้• ส่วนประกอบขององค์การ 1. บุคคลต้งั แต่ 2 คนขนึ้ ไป 2. มีโครงสร้างในการบริหารงาน 3. มีเป้ าหมายในการดาเนินงาน 4. มีการกาหนดหน้าทีค่ วามรับผดิ ชอบ 5. มกี ารสื่อสาร ประสานงานซึ่งกนั และกนั เพอื่ ให้งานบรรลุผลสาเร็จ• องค์การมี 2 ประเภท 1. องค์การทเี่ ป็ นทางการ (Formal organization) 2. องค์การทไี่ ม่เป็ นทางการ (Informal organization)

• การจัดองค์การ อย่างเป็ นทางการ• มกี ารกาหนดวตั ถุประสงค์ทช่ี ัดเจน• มกี ารกาหนดโครงสร้างแน่นอน• มกี ฎระเบยี บในการควบคุมพฤติกรรมของสมาชิก• มกี ารแบ่งอานาจหน้า ความรับผดิ ชอบ• ความสัมพนั ธ์ของสมาชิก เน้นในเรื่องงานเป็ นหลกั• มคี วามยดื หยุ่นน้อย• การจดั องค์การ อย่างไม่เป็ นทางการ• มลี กั ษณะโครงสร้างทไ่ี ม่แน่นอน• ระบบความสัมพนั ธ์ภายในองค์การ เป็ นแบบส่วนตวั• มกี ารรวมตวั กนั อย่างหลวมๆ• ไม่มกี ารกาหนดวตั ถุประสงค์ล่วงหน้า• ไม่มกี ารระบุอานาจหน้าทแี่ ละตาแหน่งของสมาชิก• การรวมตัวกนั เพอื่ ตอบสนองความต้องการทางสังคม• มคี วามยดื หยุ่นมาก

• การจดั องค์การ มสี าคญั อยู่มี 3 ประการ1. หลกั การแบ่งงานกนั ทาตามความสามารถ (Job specialization)2. มิติของงาน (Task dimensions)3. คาบรรยายลกั ษณะงาน (Job descriptions)• การพจิ ารณาตัวงานและการติดต่อสัมพนั ธ์กนั ระหว่างงาน มหี ลกั การอยู่ 5 ประการ1. ทกั ษะท่หี ลากหลาย (Skill variety)2. เอกลกั ษณ์ของงาน (Task identity)3. ความสาคญั ของงาน (Task significance)4. ความมีอสิ ระ (Autonomy)5. ข้อมูลย้อนกลบั (Feedback)

การจัดโครงสร้างขององค์การ• โครงสร้างองค์การเพอื่ กาหนดสายบงั คบั บญั ชา มี 2 แบบใหญ่ๆ1. การจัดโครงสร้างองค์การแบบสูง (Tall organizational structure)• เป็ นโครงสร้างขององค์การขนาดใหญ่• มสี ายการบงั คบั บญั ชาลดหลน่ั กนั ลงมาตามลาดบั ช้ันอย่างซับซ้อนและมากมาย• ข้อดี บุคคลทมี่ คี วามสามารถไต่เต้าขนึ้ สู่ตาแหน่งทสี่ ูงขนึ้ ไปได้• ข้อเสีย ข้อมูลข่าวสารมกั ถูกบดิ เบอื นเน่ืองจากความสูงขององค์การ1. การจดั โครงสร้างองค์การแบบราบ (Flat organizational structure) เป็นโครงสร้างขององคก์ ารที่เร่ิมก่อต้งั หรือเป็นองคก์ ารขนาดเลก็ 1. ข้อดี – การส่ังการประสานงานทรี่ วดเร็ว – ข้อมูลข่าวสารทชี่ ัดเจน ไม่ถูกบดิ เบอื น• ข้อเสีย – พนักงานทม่ี คี วามรู้ความสามารถไม่อาจไต่เต้าขนึ้ สู่ตาแหน่งทสี่ ูงได้ – อตั ราการออกจากงานสูง

• การบูรณาการ ภาวะผู้นา การบริหารจดั การยุคใหม่ ppt• ความรู้เก่ียวกบั การบริหารจดั การการบริหารจดั การ• http://www.stech.ac.th/blogs/0594/wp- content/uploads/2010/10/chapter-1- management-development.ppt


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook