Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 11.การบูรณาการ ภาวะผู้นำ การบริหารจัดการยุคใหม่ ppt

11.การบูรณาการ ภาวะผู้นำ การบริหารจัดการยุคใหม่ ppt

Published by iamkittipan, 2017-07-17 02:20:21

Description: 11.การบูรณาการ ภาวะผู้นำ การบริหารจัดการยุคใหม่ ppt

Search

Read the Text Version

แนวความคิดและทฤษฎี ทางการบริหาร

พฒั นาการทางการบริหาร ยคุ คลาสสคิ (The classical approaches) • การบรหิ ารงานเชงิ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Management) • หลกั การบรหิ าร (Administrative Principles) • องคก์ ารแบบราชการ (Bureaucratic organization) การบรหิ ารเชงิ มนุษยสมั พนั ธ์ (Human resource approaches) การบรหิ ารเชงิ ปรมิ าณ (The quantitative or management science approaches) การบรหิ ารสมยั ใหม่ (The modern approaches)

1890 1900 1910 1920 1930 1940 1950 1960 1970 ปัจจุบัน ทศั นะ ด้งั เดมิ ทศั นะ ทศั นะ ทศั นะ เชิงพฤตกิ รรม เชิงปริมาณ ร่วมสมยั การบริหาร เชิงวทิ ยาศาสตร์ นกั พฤติกรรม การบริหาร ทฤษฎี ระยะแรก ศาสตร์ เชิงระบบ การจดั การ เชิงบริหาร การศึกษา การบริหาร ทฤษฎี ท่ีฮอวธ์ อร์น ปฏิบตั ิการ ตามสถานการณ์ การบริหาร แบบราชการ เคล่ือนไหว สารสนเทศ ทศั นะ มนุษยสมั พนั ธ์ การบริหาร ท่ีเกิดใหม่ หลกั พฤติ- ววิ ฒั นาการทางการบริหาร กรรมศาสตร์

แนวคดิ แบบด้งั เดิม แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Classical (BehavioralPerspective) Perspective)แนวคดิ เชิงสถานการณ์ (Contingency Perspective)แนวคดิ เชิงปริมาณ แนวคิดเชิงระบบQuantitative (SystemPerspective) Perspective)

แนวความคิดและวิธีการของการบริหารท่ีมีหลกั เกณฑ์ (Scientific Management) ม่งุ งานเป็นหลกัผบู้ ริหาร คน งานท่ีต้องทา สาเรจ็ ผล เน้นความสาคญั ท่ี ด้วย วิธีทางาน ประสิทธิภาพ ปัจจยั การผลิตอื่น ๆหลกั การ 1. ให้ความสาคญั ต่อ งาน มากกว่าคน 2. ใช้วิธีให้คนปรบั ตวั ให้เข้ากบั งานที่กาหนดวิธีทาเอาไว้แล้ว

พฒั นาการของการบริหาร ; Classical <1909 Max Weber ระบบราชการ เป็นสานกั งาน เอามาจากระบบทหาร เช่ือในระบบสง่ั การตามสายบงั คบั บญั ชา ใชเ้ ชือกสีแดงผกู เอกสารแทนแฟ้ ม Red Tape Thomas Hobbes เช่ือการปกครองโดยพระมหากษตั ริยด์ ีที่สุด John Locks เช่ือการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

Neo Classical 1910-1929 Frederick W Taylor เขียนเร่ือง Time and Motion Study ใชว้ ชิ า วศิ วกรรมศาสตร์มาช่วยในการบริหาร ใชห้ ลกั Equal pay for Equal work มองคนเป็น Economic Man (เศรษฐทรัพย)์ Taylor วิจยั พบวิธี จดั การตามหลกั วทิ ยาศาสตร์ 3 ประการคือ1. ใชค้ นใหเ้ หมาะกบั งาน2. กาหนดมาตรฐานในการปฏิบตั ิงาน3. กาหนดเครื่องมือในการควบคุมงาน

 Henry L Gant นาแนวคิดของ Taylor มาขยายเครื่องมือ ควบคุมงาน เรียก Gant Chart Henry Fayol ถือเป็นบิดาของการจดั การยคุ ใหม่ พบวา่ หน่วยธุรกิจทุกแห่งจะมี 6 งาน คือ 1. งานเทคนิค 2. งานการคา้ 3. งานการเงิน 4. งานดา้ นความปลอดภยั 5. งานบญั ชี 6. งานจดั การ

Humanistic 1930-1950 Elton G Mayo วจิ ยั เรื่อง Hawthorn Study เก่ียวกบั สภาพแวดลอ้ มในการทางาน แสงสวา่ ง ความสะอาด พบวา่ นายจา้ งกบั คนงานมกั ขดั แยง้ เสมอ ควรแกป้ ัญหา โดยมนุษยสมั พนั ธ์

Modern System >1951 Luther Gulick & Lyndall Urwick เขียน POSDCORB Chester I Barnard เนน้ ความสมั พนั ธ์ไม่เป็นทางการ ระหวา่ งนายจา้ งและลูกจา้ ง Herbert A Simon สร้างศาสตร์สาขา วทิ ยาการจดั การ Management Science และ Decision Making Peter F Drucker เขียนการบริหารโดยวตั ถุประสงค์ Management by Objective MBO

 ทฤษฎี X& Y ของ Douglas Macgregor ทฤษฎี X ทฤษฎี Y1. มนุษยส์ ่วนใหญ่เกียจคร้าน 1. มนุษยส์ ่วนใหญ่ขยนั2. ชอบหลบหลีกงานเมื่อมีโอกาส 2. ชีวิตมนุษยค์ ือการทางาน ทา3. ชอบทาตามท่ีสงั่ และผคู้ วบคุม พกั และเล่นไปในตวั4. ชอบปัดความรับผดิ ชอบ 3. มีวินยั ในตนเอง5. ชอบความมนั่ คงอบอุ่น 4. มีความรับผดิ ชอบปลอดภยั 5. หวงั รางวลั หรือส่ิงตอบแทน6. ขาดความริเริ่มสร้างสรรค์ เม่ือองคก์ รประสบผลสาเร็จ 6. มีความริเริ่มสร้างสรรค์

1. ทฤษฎกี ารจัดการตามหลักวทิ ยาศาสตร์ ได้มีการพฒั นาแนวความคิดด้านการจดั การระบบวทิ ยาศาสตร์ โดยมีหลักการดังนี้ พฒั นาวธิ ีการทางานวิธีท่ดี ีท่สี ุด คนงานท่จี ะเข้ามาทางานจะต้องผ่านการ คดั เลือก ฝึ กหดั สอน และพฒั นาความรู้ความสามารถ มีการร่วมมอื กบั พนักงาน มกี ารแบ่งงานและความรับผิดชอบทงั้ ฝ่ ายบริหาร และฝ่ ายพนักงาน

ทฤษฎกี ารจัดการแบบดงั้ เดมิ (Classical Theory)• ทฤษฎกี ารจดั การแบบดงั้ เดมิ เป็ นทฤษฎีท่มี ุ่งให้ความสนใจ และให้ความสาคัญเก่ียวกบั ความสาเร็จของงาน โดยไม่สนใจ จติ ใจของมนุษย์ มองมนุษย์เป็ นเคร่ืองจักร การบริหารงานมี กฎเกณฑ์ท่ตี ายตวั พนักงานจงึ ทางานอย่างไม่มีอิสระ ไม่สามารถแสดงความคดิ เหน็ ได้จงึ ไม่มีความคดิ เหน็ ท่ี หลากหลาย และการทางานขององค์การจะบรรลุเป้ าหมาย และพนักงานจะปฏบิ ตั งิ านได้ดขี ึน้ เม่ือมีการข่มขู่

2. ทฤษฎีทางการบริหาร ได้แบง่ เป็น 5 ประการ หรือหลกั การบริหารท่ีเรียกวา่ POCCC ซง่ึ มีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี ้ การวางแผน (Planning) คือ การกาหนดแนวทางในการ ปฏิบตั งิ านไว้ลว่ งหน้า การจัดองค์การ (Organizing) คอื เป็นการจดั โครงสร้างของ สายการบงั คบั บญั ชา

ทฤษฎที างการบริหาร ( ต่อ ) การส่ังการ (Commanding) คอื การคอยสอดสอ่ งดแู ลและ สงั่ การให้พนกั งานปฏิบตั ิงานตาม ่่การประสานงาน (Coordinating) คอื การร่วมมือร่วมใจกนั ทางานของพนกั งานภายในองค์การ การควบคุม (Controlling) คอื การตรวจสอบและตดิ ตามผล การปฏิบตั งิ าน

The Principle OfManagement By Henri Fayol

กิจกรรมทางธุรกิจ 6 กิจกรรม ดา้ นวทิ ยาการ การผลิตงานโดยช่างฝีมือ การผลิตในเชิงโรงงาน ดา้ นการตลาด การซ้ือ การขาย การแลกเปลี่ยน ดา้ นการเงิน การหาเงินทุนและสินเชื่อ การใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ดา้ นการบญั ชี การจดั ทาสตอ็ ก จดั ทางบดุล บนั ทึกตน้ ทุน ดา้ นสวสั ดิการ การป้ องกนั บุคคลและทรัพยส์ ิน ดา้ นการจดั การ การวางแผน การจดั องคก์ าร การสง่ั การการประสานงาน การควบคุม

หลักการทางการบริหารไว้ 14 ข้อ1. ควรมีการแบ่งงานกนั ทาตามความถนัดเฉพาะด้าน (Division of Work)2. อานาจหน้าท่แี ละความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility)3. การมีระเบยี บวนิ ัย (Discipline)4. การมีผู้บงั คับบญั ชาเพยี งคนเดยี ว (Unity of Command)

หลักการทางการบริหารไว้ 14 ข้อ ( ต่อ )5. การมีเป้ าหมายเดียวกัน (Unity of Direction)6.ผลประโยชน์ของบุคคลเป็ นรองจากผลประโยชน์ของ ส่วนรวม (Subordination of Individual Interest to the Common Good)7. การให้ผลตอบแทน (Remuneration)8. การรวมอานาจและการกระจายอานาจ (Centralization and Decentralization)

หลักการทางการบริหารไว้ 14 ข้อ ( ต่อ )9. สายการบงั คับบญั ชา (Hierarchy)10. ความมีระเบยี บ (Order)11. ความเสมอภาค (Equity)12. ความม่ันคงของงาน (Stability of Staff)13. ความคิดริเร่ิม (Initiative)14. ความสามคั คี (Esprit Decorps)

3. ทฤษฎรี ะบบราชการ (Bureauracy Theory) สายการบงั คบั บัญชา (Hierarchy) มกี ารแบ่งงานตามความถนัดเฉพาะด้าน (Division of work) กฎระเบียบ ข้อบังคับ และวธิ ีการปฏบิ ัตงิ าน (Rules Regulation and Procedures) ไม่ยดึ หลักความสัมพนั ธ์ส่วนตวั (Impersonalality) ประชาธิปไตย (Democracy)

แนวความคิดและวิธีการของการบริหารแบบมนุษยส์ มั พนั ธ์ (Human Relations) มงุ่ ถงึ คนเป็นหลกั วิธีทางานผบู้ ริหาร ม่งุ สนใจที่ งานท่ีต้องทา สาเรจ็ ผล คน ด้วย ปัจจยั การผลิตอ่ืน ๆ ประสิทธิภาพหลกั การ 1. จะต้องให้ความสาคญั ต่อ คนผทู้ างาน มากกว่า งาน ท่ีจะทาให้คนทา ต้องหาวิธีให้คนมีความพอใจ มีอิสระที่คิดจะริเร่ิม เพ่ือสรา้ งสรรคใ์ น 2. ทางต่าง ๆที่เขาควรจะมีสิทธิเลือกวิธีทางานของตนเองบ้าง หรือนัน่ กค็ ือฝ่ ายจดั การควรจะพิจารณาปรบั หรอื จดั งานให้เหมาะสม และเป็น ที่พอใจแก่คนที่จะทางานนัน้

แสดงลกั ษณะธรรมชาติของ “คน” และความสมั พนั ธ์ ต่อแนวคิดทางการบริหาร= ระดบั ผลงานตามเหตผุ ลหรือมาตรฐาน + พฤติกรรมผนั แปร ไปในทางดี - พฤติกรรม ผนั แปรไปในทาง ไม่ดีก. คนทกุ คน ข. แต่คนทกุ คนจะมีพฤติกรรม ควรจะมีพฤติกรรม สืบเน่ืองจากความพอใจ หรือเป็นอารมณ์ ท่ีสามารถลดผลงาน หรอื เรง่ ผลงาน ตามเหตผุ ลและ ให้สงู ตา่ กว่ามาตรฐานอย่างไรกไ็ ด้ ทางานได้เท่ามาตรฐาน ทงั้ นี้ย่อมขึน้ อย่กู บั คนผทู้ างานท่ีมอบให้

1 การบริหารแบบการตดั สินใจ (Decisional Approach) แนวความคิด 2 การบริหารเชิงระบบเกี่ยวกบั วิธีการ (Systems Approach)บริหารสมยั ใหม่ 3 การบริหารเชิงกระบวนการ (Process Approach) 4 การบริหารตามสถานการณ์ (Situational Approach)

การบริหาร การบริหารคือการตดั สินใจ องคก์ ารจะถกู ถือเสมือนแบบการตดั หนึ่งว่าเป็นหน่วย ของการตดั สินใจสินใจDecision ผบู้ ริหารคือผทู้ ่ีต้องทาการตดั สินใจเก่ียวกบั เร่อื งต่างๆApproach ถ้าการตดั สินใจ ณ ทกุ หน่วยและทกุ จดุ ของงานต่าง ๆ ที่ต้องมีการตดั สินปัญหานัน้ ได้กระทาไปอย่างดีที่สดุ แล้ว การบริหาร กจ็ ะเป็นไปโดยได้ผลและปี ประสิทธิภาพ การวิเคราะหข์ ้อมลู ท่ีสมเหตสุ มผล โดยได้มีการพิจารณา เปรียบเทียบทางเลือกต่าง ๆ อย่างถกู ต้องกบั เงื่อนไข ทงั้ หลาย จึงย่อมจะช่วยให้เกิดผลดีที่สดุ การสรา้ งรปู แบบ (Models) และการทดสอบวิธีการโดย อาศยั เทคนิคโดยอาศยั เทคนิคเชิงปริมาณ (Quantitative Techniques) จึงเป็นเคร่ืองมือสาคญั ในการ บริหารแบบการตดั สินใจ

การบริหาร การบริหารเป็นลกั ษณะระบบอย่างหน่ึง มีผบู้ ริหารมาทาเชิงระบบ งานในหน้าที่ต่าง ๆของระบบนี้SystemApproach ส่วนต่าง ๆของระบบอยใู่ นสถานะท่ีเคลื่อนไหวได้แต่ละส่วน ต่างมีคณุ สมบตั ิและความสามารถเฉพาะเมอ่ื มารวมเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั จะช่วยเคล่ือนไหวไปส่เู ป้ าหมายเดียวกนั ส่วนต่าง ๆในองคก์ รมีปฏิกิริยากระทบต่อกนั เสมอการแสดง ออกหรอื การเคล่ือนไหวของแต่ละส่วนย่อมมีผลต่อกนั และกนั ทงั้ ระบบ ในองคก์ รหน่ึงหรือระบบหนึ่งจะประกอบด้วยระบบยอ่ ยต่าง ๆ (Subsystems) การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึน้ ณ ส่วนใดส่วนหนึ่งของระบบ ยอ่ ม ทาให้มีผลกระทบต่อเนื่องกนั เป็นลกู โซ่ (Chain of effects) ผบู้ ริหารจะต้องมององคก์ ารให้ทะลปุ รโุ ปร่งทงั้ ระบบ และสามารถ กากบั ดแู ลและจดั การระบบต่าง ๆทางานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

การบริหารเชิงกระบวนการ (System Approach) องคก์ าร หน้าที่ในการบริหารวางแผน จดั องคก์ าร จดั คนเข้าทางาน สงั่ การ ควบคมุ ข้อมลู ย้อนกลบั• หน้าท่ีในการบริหารงานต่าง ๆมีความสมั พนั ธต์ ่อเน่ืองกนั ใกล้ชิดเป็นกระบวน การ (Process)• ผบู้ ริหารจะปฏิบตั ิหน้าที่ด้วยวิธีกระทาเป็นทีละขนั้ ตอน (Step by Step) ที่ต่อ เน่ืองหมนุ เวียนกนั ไปอยา่ งเป็นระเบยี บโดยไมข่ าดขนั้ ตอนกนั• ส่วนต่างๆของงานบริหารที่เกี่ยวเนื่องต่อกนั นัน้ จะไม่ขาดตอนจากกนั หากแต่ จะมีความต่อเน่ือง และสอดคล้องกนั อยา่ งมีระเบยี บ• การบริหารงานตามหน้าท่ีจะดาเนินไปเป็นวฏั จกั รหมนุ เวียนเป็นกระบวนการ เรือ่ ยไป

ทฤษฎรี ะบบ(Systems theory)

ทาไมจึงต้องศึกษาทฤษฎรี ะบบ เน่ืองจากชีวติ คนในสังคมต้องเกยี่ วข้องกบั ระบบอยู่ตลอดเวลาไม่ว่าจะมกี ารศึกษาอย่างเป็ นทางการ เกย่ี วกบั ระบบหรือองค์กรหรือไม่ แต่เรากใ็ ช้ทฤษฎเี กยี่ วกบั การบริหารงานขององค์การในทุกๆวนั เพราะเราต้องใช้ชีวติ เกย่ี วข้องกบั การให้บริการจากองค์กรต่างๆตลอดเวลา สาหรับผู้บริหารยงิ่ มีความจาเป็ นทจี่ ะต้องเข้าใจในเร่ืองทฤษฎรี ะบบเพราะทฤษฎรี ะบบจะช่วยให้ผู้บริหารมคี วามสามารถในการบริหารองค์กรต่างๆ

1. ความหมายของทฤษฎรี ะบบC.D. Flagle & W.H. Huggins & R.H. Roy การรวมอย่างบูรณาการของส่วนต่างๆทปี่ ฏสิ ัมพนั ธ์กนัโดยมี วตั ถุประสงค์เพอื่ ร่วมกนั ปฏิบัตหิ น้าทต่ี ามภารกจิทก่ี าหนดไว้ล่วงหน้า

Dunham& Pierce เป็ นส่วนประกอบทส่ี ัมพนั ธ์ทที่ าหน้าที่ในฐานะ หน่วยหนง่ึ หน่วยเดยี ว เพอ่ื วตั ถุประสงค์เฉพาะอย่างBarnard สิ่งใดสิ่งหน่ึงทจี่ ะต้องมองในภาพรวมซึ่งมคี วามเป็ นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั เพราะทุกๆส่วนภายในระบบมคี วามสัมพนั ธ์กบั ส่วนอน่ื ๆอย่างเด่นชัด

ทฤษฎีระบบ SYSTEM THEORYระบบในเชิงบริหารหมายถงึ องค์ประกอบหรือปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมคี วามสัมพนั ธ์กนัและมสี ่วนกระทบต่อปัจจยั ระหว่างกนัในการดาเนินงานเพอ่ื ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ขององค์การ

2. ระดบั ระบบมหี ลายระดบั ก.ระบบย่อย (Subsystem) ข. ระบบ (System) ค. ระบบใหญ่ (Supra system)3. ประเภท ก. ระบบปิ ด-ระบบเปิ ด ข. ระบบนามธรรม-รูปธรรม

4. สภาวะของระบบ ก.สภาวะสมดุล (Equilibrium) ข. สภาวะไม่สมดุล (Disequilibrium)5. การทางานของระบบและการบรรลุวตั ถุประสงค์ ก. ผลย้อนกลบั (Feedback) ข. พลงั ต่อต้านความเสื่อมสลาย (Negative Entropy) ค. ความเท่าเทยี มกนั ในการบรรลผุ ลสุดท้าย (Equifinality)

องค์ประกอบพืน้ ฐานของทฤษฎีระบบ 1. ปัจจัยการนาเข้า Input 2. กระบวนการ Process 3. ผลผลติ Output 4. ผลกระทบ Impact

ปัจจยั ป้ อนเข้า กระบวนการ ผลผลติ ข้อมูลย้อนกลบัหลกั การบริหารตามทฤษฎเี ชิงระบบ

แนวคดิ ทฤษฏรี ะบบ การป้ อนกลบั Feedback ปัจจยั นาเข้า Inputs กระบวนการแปรสภาพTransformation Process ผลผลติ Outputs

การป้ อนกลบั เพอ่ื การกระตุ้นระบบ ปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการแปรสภาพ ผลผลติ• ทรัพยากรทางกายภาพ - หน้าที่การจัดการ • สินค้าและบริการ• ทรัพยากรทางการเงนิ - การปฏบิ ตั กิ ารด้าน • กาไรและขาดทุน• ทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยี • พฤติกรรมพนักงาน• ทรัพยากรข้อมูล - กจิ กรรมการผลติ ส่ิงแวดล้อมภายนอก

สภาพแวดล้อม ตวั ป้ อน- ทรัพยากรมนุษย์ - ทรัพยากรการเงิน- ทรัพยากรวตั ถุ - สารสนเทศ กระบวนการ- การเรียนการสอน - การบริหาร- การบริการ ผลผลติ- นกั เรียน - อื่น ๆ- ครู สภาพแวดล้อม

แนวคิดการบริหารจดั การเชิงปริมาณแนวคดิ วทิ ยาการการจัดการหรือการวจิ ัยเชิงปฏิบตั ิการ Management Science, Operation Research การจัดการเชิงปฏบิ ตั กิ าร Operation Managementระบบสารสนเทศเพอื่ การจดั การManagement Information System

การบริหารเชิงสถานการณ์ (Situational Management Theory) หรือทฤษฎีอุบตั ิการณ์•เนน้ ใหผ้ บู้ ริหาร(พCจิ oารnณtiาnคgวeามnแcตyกTต่าhงeใoนrหyน)่วยงาน เช่น ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ความแตกต่างระหวา่ งระเบียบกฎเกณฑ์ วธิ ีการ กระบวนการ และการควบคุมงาน ความแตกต่างระหวา่ งความสมั พนั ธ์ของบุคคลในองคก์ ร ความแตกต่างระหวา่ งเป้ าหมายการดาเนินงานขององคก์ าร ผเู้ สนอแนวความคิดคือ Fred E. Fiedler (1967)

การบริหารเชิงสถานการณ์ (Situational Management Theory) หรือทฤษฎอี บุ ตั กิ ารณ์ (Contingency Theory )•ถอื ว่าการบริหารจะดหี รือไม่ขึน้ อย่กู บั สถานการณ์ผ้บู ริหารจะต้องพยายามวเิ คราะห์สถานการณ์ให้ดที สี่ ุดเป็ นการผสมผสานแนวคดิ ระหว่างระบบปิ ดและระบบเปิ ดและยอมรับหลกั การของทฤษฎรี ะหว่างทุกส่วนของระบบจะต้องสัมพนั ธ์และมผี ลกระทบซึ่งกนั และกนัสถานการณ์จะเป็ นตวั กาหนดการตดั สินใจและรูปแบบการบริหารทเี่ หมาะสมคานึงถงึ ส่ิงแวดล้อมและความต้องการของบุคคลในหน่วยงานเป็ นหลกัมากกว่าท่ีจะแสวงหาวธิ ีการอนั ดเี ลศิ มาใช้ในการทางานโดยใช้ปัจจยั ทางด้านจติ วทิ ยาในการพจิ ารณาด้วย

การบริหาร • การบริหารยึด “ตวั สถานการณ์” หรือชดุ เหตกุ ารณ์ที่ตามสถานการณ์ ซ่ึงมีอิทธิพล ต่อองคก์ ารมากท่ีสดุ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง • ม่งุ เน้นถึงความสาคญั ของ “การคิดตามสถานการณ์” Situation (Situational thinking) ซึ่งจะช่วยให้ผบู้ ริหารเกิดความเข้า Approach ใจ ได้ว่าภายใต้สถานการณ์เฉพาะนัน้ ๆ ผบู้ ริหารควรจะใช้ เทคนิคการบริหารอะไร จึงจะทาให้องคก์ ารสามารถบรรลุ ผลสาเรจ็ มากท่ีสดุ ได้ • การบริหารจะไม่ยึดติดกบั แนวคิด ทฤษฎีหรอื หลกั การใด หลกั การหน่ึงโดยเฉพาะ แต่จะเลือกสรรวิธีการท่ีดีท่ีสดุ เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสงู สดุ • ผบู้ ริหารอาจจะใช้วิธีการ หลาย ๆอย่างผสมผสานกนั ในการ บริหารไปพรอ้ ม ๆกนั ทงั้ นี้แล้วแต่ “ตวั สถานการณ์” และ ปัจจยั ความพรอ้ มในด้านต่าง ๆ

ปัจจยั ท่ี สภาพแวดล้อมภายนอก เก่ียวข้อง วตั ถปุ ระสงค์ และกลยทุ ธ์ กบั การ ปรบั การ เทคนิ ควิทยาการบริหารตาม โครงสรา้ งสถานการณ์ คน วิธีการบริหาร

American Organization•การจา้ งงานระยะส้นั•การตดั สินใจโดยบคุ คลใดบคุ คลหน่ึง•ความรับผิดชอบเฉพาะบคุ คล•การประเมินการเล่ือนตาแหน่งรวดเร็ว•การควบคุมอยา่ งเป็นทางการ•เส้นทางอาชีพแบบเช่ียวชาญเฉพาะดา้ น•แยกเป็ นส่วนๆ

การบริหารจดั การคุณภาพโดยรวม Total Quality Management มุ่งเน้นความพงึ พอใจของลกู ค้า การปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ ง มีการปรับปรุงคณุ ภาพทุกอย่าง ขององค์การ มีความถูกต้องแม่นยาในการวดั มอบอานาจให้แก่พนกั งาน

การคน้ หาความเป็ นเลิศขององคก์ าร การมุ่งการกระทา การอยู่ใกล้ชิดกบั ลูกค้า การส่งเสริมความอสิ ระ และความเป็ นเจ้าของ การเพม่ิ ประสิทธภิ าพโดยอาศัยคน การมุ่งท่ีค่านิยม การดาเนินธุรกจิ ที่เขี่ยวชาญ การมีโครงสร้างที่เรียบง่าย และมที ี่ปรึกษาน้อยลง การเข้มงวดและผ่อนปรนขณะเดยี วกนั

ทฤษฎีองคก์ าร ความหมายขององค์การการทบ่ี ุคคลรวมกนั ต้งั แต่ 2 คนขนึ้ ไป โดยมีวตั ถุประสงค์ ขององค์การและเพอื่ เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ขิ องบุคคล

องค์ประกอบขององค์การ • วตั ถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมาย • โครงสร้าง • กระบวนการ ปฏบิ ัตงิ าน • บุคคล

ทฤษฎอี งค์การแบบด้งั เดมิ • การจดั การแบบวทิ ยาศาสตร์ • การจัดการแบบบริหาร • การจัดการแบบราชการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook