Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความหลากหลายของระบบนิเวศ กลุ่ม1

ความหลากหลายของระบบนิเวศ กลุ่ม1

Published by odinth5566, 2022-01-24 04:14:49

Description: ความหลากหลายของระบบนิเวศ กลุ่ม1

Search

Read the Text Version

ความหลากหลายของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ (Ecosystem) ระบบนิเวศ(ecosystem) คือ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลมุ่ สิ่งมีชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม โครงสร้างของระบบนิเวศ ระบบนิเวศมีองคป์ ระกอบที่สาคญั 2 ส่วน คือ 1. องคป์ ระกอบทางชีวภาพ(biological component) ไดแ้ ก่ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ เช่น พชื สัตว์ มนุษย์ เห็ด รา จุลินทรีย์ เป็นตน้ 2. องคป์ ระกอบทางกายภาพ(physical component) ไดแ้ ก่ ส่ิงไม่มีชีวติ ในระบบนิเวศ เช่น ดิน น้า แสง อณุ หภมู ิ เป็นตน้ โครงสร้างของสิ่งมีชีวติ ในระบบนิเวศแบง่ ออกเป็น 3 ระดบั (trophic levels) คือ

1. ผผู้ ลิต(producer) ไดแ้ ก่พชื สาหร่าย โปรโตซวั เช่น ยกู ลีน่า หรือเเบคทีเรียบางชนิด โดยมี บทบาทในการนาพลงั งานจากแสงอาทิตยม์ ากระตุน้ สารอนินทรียบ์ างชนิดใหอ้ ยใู่ นรูปของสารอาหาร 2. ผบู้ ริโภค(consumer) ไดแ้ ก่ สตั วท์ ี่ดารงชีวติ อยไู่ ดด้ ว้ ยการกินส่ิงมีชีวติ อ่ืน ไดแ้ ก่ - ผบู้ ริโภคพชื (herbivore หรือ primary consumer) เช่น ชา้ ง มา้ โค กระบือ กระตา่ ย เป็นตน้ - ผบู้ ริโภคสัตว์ (carnivore หรือ secondary consumer) เช่น เสือ สิงโต เหยย่ี ว งู เป็ นตน้ - ผบู้ ริโภคท้งั สตั วท์ ้งั พชื (omnivore) เช่น คน ไก่ ลิง เป็นตน้ 3. ผยู้ อ่ ยสลายสารอินทรีย(์ decomposer) ไดแ้ ก่ เห็ด รา แบคทีเรีย และจุลินทรียต์ ่างๆ ท่ี สามารถยอ่ ยสลายซากพืช ซากสัตว์ หรือสารอินทรีย์ ใหเ้ ป็นสารอนินทรียพ์ ชื สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ กระบวนการหลกั สองอยา่ งของระบบนิเวศคอื การไหลของพลงั งานและการหมนุ เวยี นของสารเคมี การไหลของพลงั งาน (energy flow) เป็นการส่งผา่ นของพลงั งานในองคป์ ระกอบของระบบ นิเวศ ส่วนการหมุนเวยี นสารเคมี (chemical cycling) เป็นการใชป้ ระโยชนแ์ ละนากลบั มาใช้ ใหมข่ องแร่ธาตุภายในระบบนิเวศ อาทิเช่น คาร์บอน และ ไนโตรเจน

พลงั งานท่ีส่งมาถึงระบบนิเวศท้งั หลายอยใู่ นรูปของแสงอาทติ ย์ พืชและผผู้ ลติ อืน่ ๆจะทาการเปลี่ยน พลงั งานแสงใหเ้ ป็นพลงั งานเคมีในรูปของอาหารท่ใี หพ้ ลงั งานเช่นแป้งหรือคาร์โบไฮเดรต พลงั งานจะ ไหลต่อไปยงั สตั วโ์ ดยการกินพชื และผผู้ ลิตอ่ืนๆ ผยู้ อ่ ยสลายสารท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ แบคทีเรียและฟังไจ (fungi)ในดินโดยไดร้ ับพลงั งานจากการยอ่ ยสลายซากพืชและซากสตั วร์ วมท้งั สิ่งมีชีวิตตา่ ง ๆ ท่ี ตายลงไป ในการใชพ้ ลงั งานเคมีเพ่อื ทางาน สิ่งมีชีวติ จะปล่อยพลงั งานความร้อนไปสู่บริเวณรอบๆตวั ดงั น้นั พลงั งานความร้อนน้ีจึงไมห่ วนกลบั มาในระบบนิเวศไดอ้ กี ในทางกลบั กนั การไหลของพลงั งาน ผา่ นระบบนิเวศ สารเคมีต่างๆสามารถนากลบั มาใชไ้ ดอ้ ีกระหวา่ ง สังคมของส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม ท่ีไมม่ ีชีวิต พชื และผผู้ ลิตลว้ นตอ้ งการธาตคุ าร์บอน ไนโตรเจน และแร่ธาตอุ ่ืนๆในรูปอนินทรียสาร จากอากาศ และดิน การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง(photosynthesis)ไดร้ วมเอาธาตุเหลา่ น้ีเขา้ ไวใ้ นสารประกอบอินทรีย์ อาทเิ ช่น คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน สตั วต์ า่ งๆไดร้ ับธาตุเหลา่ น้ีโดยการกินสารอินทรีย์ เมแทบบอลิ ซึม (metabolism) ของทุกชีวติ เปลี่ยนสารเคมีบางส่วนกลบั ไปเป็นสารไม่มีชีวติ ในส่ิงแวดลอ้ ม ในรูปของสารอนินทรีย์ การหายใจระดบั เซลล(์ respiration) เป็นการทาใหโ้ มเลกลุ ของอินทรีย สารแตกสลายออกเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ และน้า การหมุนเวียนของสารสาเร็จลงไดด้ ว้ ยจุลินทรียท์ ่ี ยอ่ ยอินทรียสารที่ตายลงและของเสียเช่นอจุ จาระ และเศษใบไม้ ผยู้ อ่ ยสลายเหลา่ น้ีจะกกั เกบ็ เอาธาตุ ต่างๆไวใ้ นดิน ในน้า และในอากาศ ในรูปของ สารอนินทรีย์ ซ่ึงพืชและผผู้ ลิตสามารถนามาสร้างเป็น สารอินทรียไ์ ดอ้ กี คร้ัง หมนุ เวียนกนั ไปเป็นวฏั จกั ร

ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ระบบนิเวศประกอบดว้ ยส่ิงมีชีวติ นานาชนิดและรูปแบบตา่ งกนั ไมว่ า่ จะเป็นพืช สัตว์ จุลินทรียท์ ี่อยู่ รวมกนั บริเวณใดบริเวณหน่ึง โดยสิ่งมีชีวติ เหลา่ น้นั สามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาวะแวดลอ้ มรอบๆ ตวั ได้ การปรับตวั เปลี่ยนแปลงบางอยา่ งของสิ่งมีชีวติ อาจเกิดข้ึนภายในหน่ึงชวั่ อายุ หรือยาวนาน หลายชวั่ อายุ โดยผา่ นการคดั เลือกตามธรรมชาติ ตามกระบวนการววิ ฒั นาการ คุณสมบตั ิ และ ความสามารถของส่ิงมีชีวติ ส่ิงมีชีวติ และสภาวะแวดลอ้ มตา่ งกม็ ีบทบาทร่วมกนั และมีปฏิกริยาต่อกนั และกนั อยา่ งซบั ซอ้ นในระบบนิเวศท่ีสมดุล โครงสร้างและคุณสมบตั ิของระบบนิเวศเป็นส่ิงสาคญั ท่ี ช่วยใหส้ ิ่งมีชีวิตชนิดตา่ งๆ รวมท้งั มนุษยอ์ ยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสมดุล เม่ือความเจริญและอารยธรรมของ มนุษยไ์ ดม้ าถึงจุดสุดยอดและเริ่มเส่ือมลงเพราะมนุษยเ์ ริ่มทาลายส่ิงมีชีวติ ชนิดอื่น ท่ีเคยช่วยเหลอื สนบั สนุนตนเองมาโดยตลอด ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นอาหาร ท่ีอยอู่ าศยั เคร่ืองนุ่งห่ม ยารักษาโรค หรือการ แสวงหาความสุขและความบนั เทิงบนความทกุ ขย์ ากของส่ิงมีชีวิตอื่น จนทาใหเ้ กิดการเสียสมดุลของ ระบบนิเวศ ซ่ึงนาไปสู่ความเสียหายอยา่ งใหญ่หลวงของสรรพส่ิงท้งั มวล

การท่ีสิ่งมีชีวติ ชนิดตา่ งๆ ถูกทาลายสูญหายไปจากโลก จะเป็นปัจจยั สาคญั ที่ชว่ ยเร่งใหอ้ ตั ราการสูญ พนั ธุ์ของสิ่งมีชีวิตนานาชนิดที่เหลืออยเู่ พ่มิ มากข้ึนเป็นทวคี ูณ อนั เน่ืองมาจากการเสียดุลของระบบ นิเวศน้นั เอง อตั ราการสูญพนั ธุอ์ าจแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละระบบนิเวศ จะมีทางเป็นไปไดม้ ากนอ้ ย เพยี งใดหรือไม่ท่ีมนุษยจ์ ะนาเอาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยมี าใชใ้ นการปรับปรุง หา ส่ิงมีชีวิตชนิดอื่นมาทดแทนสิ่งมีชีวิตที่สูญพนั ธุไ์ ป ท้งั น้ีเพราะการสูญเสียแหล่งสะสมความแปรผนั ทางพนั ธุกรรม อนั ถือวา่ เป็นขมุ ทรัพยล์ ้าคา่ ของประชากรสิ่งมีชีวิตน้นั จะเป้ฯการส่งเสริมใหม้ ีการ ทาลายความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศน้นั ๆ มากข้ึน

โครงสร้างของระบบนิเวศในแตล่ ะแหล่งของโลกมีความแตกต่างกนั โดยบางแห่งเป็นภเู ขา ท่ีราบ ทะเลทราย ทะเลสาบ และทะเล ทาใหเ้ กิดระบบนิเวศท่ีหลากหลายบนโลก โดยระบบนิเวศท้งั หมดน้ี จดั เป็นระบบนิเวศขนาดใหญ่ ซ่ึงเรียกวา่ ชีวภาคหรือโลกของส่ิงมีชีวติ (biosphere) ตารางเเสดงประเภทของระบบนิเวศ ลกั ษณะ และบริเวณท่ีพบระบบนิเวศ ประเภทของระบบนิเวศ ลกั ษณะ บริเวณท่ีพบ 1. ป่ าดิบช้ืน (tropical rain - อยบู่ ริเวณเส้นศนู ยส์ ูตร - ประเทศไทย - มาเลเซีย forest) - ฝนตกตลอดปี อาจสูงกวา่ 400 - อินโดนีเซีย - ฟิ ลปิ ปิ นส์ เซนติเมตรตอ่ ปี - อเมริกาใต้ - พบพืชพวกไมย้ าง ตะเคียน กนั เกรา บนุ นาค ปาลม์ เฟิ น และมอสส์ - แอฟริกา 2. ทะเลทราย (desert) - อยบู่ ริเวณเหนือหรือใตเ้ สน้ ศนู ยส์ ูตร - ทางเหนือของแมก็ บริเวณละติจูดที่ 30 องศาเหนือหรือใต้ ซิโก - มีฝนตกอยา่ งนอ้ ย 20 เซนติเมตรต่อปี - ประเทศชิลี - พบกระบองเพชร - เปรู - แอฟริกา

3. ป่ าผลดั ใบ (temperate - อยเู่ หนือหรือใตบ้ ริเวณท่ีมีทะเลทราย - อเมริกาเหนือ deciduous forest) - อากาศอบอนุ่ มีฝนตกมาก - ยโุ รป - พบพืชพวกโอ๊ก เมเปิ ล - ญี่ป่ ุน - ออสเตรเลีย 4. ป่ าสน (taiga) - อากาศหนาวจดั มีหิมะในฤดูหนาว - ตอนใตข้ องประเทศ - พบไมไ้ มพ่ ลดั ใบ เช่น สน แคนาดา - ไซยเี รีย 5. ทนุ ดรา (tundra) - ปกคลุมดว้ ยน้าแขง็ - ทางเหนือของ ประเทศแคนาดา - ไมพ่ บตน้ ไมใ้ หญ่ พบหญา้ มอสส์ ไล เคน ไมพ่ ่มุ เลก็ ๆ - รัฐอะแลสกาของ สหรัฐอเมริกา 6. ทุ่งหญา้ (grassland) - พบหญา้ เป็นจานวนมาก - อเมริกาเหนือ - ฝนตกไม่มาก - แอฟริกาใต้ - อาร์เจนตินา ระบบนิเวศในน้าแบง่ เป็นระบบนิเวศน้าจืด และระบบนิเวศน้าทะเล 1. ระบบนิเวศน้าจืดแบง่ ออกเป็น 3 บริเวณ คือ บริเวณน้าต้ืน (littoral zone) บริเวณกลางน้า (limnetic zone) และบริเวณใตน้ ้า (profundal zone) ซ่ึงแตล่ ะบริเวณมีแสงเป็นปัจจยั หลกั ท่ีทาใหส้ ิ่งมีชีวิตมีความแตกต่างกนั

2. ระบบนิเวศน้าทะเลแบง่ ออกเป็น 4 บริเวณ คือ บริเวณน้าข้ึน-น้าลง บริเวณน้าต้ืน บริเวณขอบทวปี และบริเวณใตม้ หาสมทุ รซ่ึง มืดมิด โดยแต่ละบริเวณมีแสง อณุ หภูมิ และความเคม็ เป็นปัจจยั ในการดารงชีวติ ของส่ิงมีชีวติ การเปลยี่ นแปลงแทนทีใ่ นสภาพแวดล้อมธรรมชาติ มี2ลกั ษณะ 1.การเปล่ียนแปลงแทนท่แี บบปฐมภูมิ(primary succession) เริ่มจากบริเวณท่ีปราศจากส่ิงมีชีวิตมาก่อน เช่น การเปลี่ยนแปลงแทนทท่ี ี่เกิดบนกอ้ นหินหรือ หนา้ ดินที่เปิ ดข้ึนใหม่ ส่ิงมีชีวิตพวกไลเคนมอสลิเวอร์เวิร์ตเจริญข้ึนเป็นกลุ่มแรก

(pioneer)(มกั จะเจอในขอ้ สอบนะครับ)สิ่งมีชีวติ พวกแรกตายทบั ถมเป็นช้นั ดินบาง ๆ สิ่งมีชีวิต กลมุ่ ที่2พวก หญา้ วชั พชื เกิดข้ึนมาและตายทบั ถมเป็นช้นั ดินที่หนาข้ึนความอุดมสมบูรณ์ ของดินทา ใหเ้ กิดไมล้ มลุก ไมพ้ มุ่ และป่ าไมใ้ นท่ีสุด กลายเป็นสงั คมสมบรู ณ์และมีความสมดุล การเปลี่ยนแปลงแบบน้ีใชเ้ วลานานมาก อยา่ งนอ้ ยหลายสิบปี การเปลี่ยนแปลงแทนที่ แบบปฐมภูมิอาจเกิดจากการ เปล่ียนสภาพแวดลอ้ มหน่ึงไปเป็นอีกสภาพแวดลอ้ มหน่ึง เช่นการ เปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบปฐมภมู ิในสระน้าจน กลายเป็น พ้นื ดิน 2.การเปลี่ยนแปลงแทนท่แี บบทตุ ิยภูมิ (seccondary succession) เกิดจากกลมุ่ สิ่งมีชีวติ เดิมถกู ทาลาย แต่ยงั มีส่ิงมีชีวติ บางชนิดและสารอินทรียท์ ่ีส่ิงมีชีวิตตอ้ งการ เหลืออยเู่ ช่น การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในบริเวณที่ถกู ไฟไหมบ้ ริเวณท่ถี กู หกั ลา้ งถางพง ทาไร่เลื่อนลอย แลว้ ปลอ่ ยใหร้ กร้าง ป่ าทีถ่ กู ตดั โค่น

สงั คมส่ิงมีชีวติ น้ีจะ รักษาสภาพเช่นน้ี ตอ่ ไป ถา้ ไมม่ ีส่ิงรบกวน กระบวนการแทนที่จะเกิดข้ึนตอ่ เนื่อง จนถึงข้นั สุดทา้ ยของกลุ่มสิ่งมีชีวิตการเปลี่ยนแปลงแบบน้ีใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ แบบปฐมภมู ิ สงั คมสิ่งมีชีวิตข้ึนสุด สังคมส่ิงมีชีวติ ข้นั สุด (climax community) หมายถึง สภาพของสิ่งมชี ีวติ ท่อี ยรู่ ่วมกนั ใน ภาวะค่อนขา้ งสมดุลในระยะเวลาอนั ยาวนาน หากสังคมส่ิงมีชีวิตข้นั สุดมีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึน จะ ทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงแบบทตุ ิยภมู ิ

ปัจจยั ท่ีทาใหเ้ กิดสังคมสิ่งมีชีวติ ข้นั สุดเกิดจากการเปลี่ยนแปลงแทนท่ี 1. การเปล่ียนแปลงทางธรณีเช่น การเกิดธารน้าแขง็ ภูเขไฟ การเกิดแผน่ ดินไหว 2. การเปล่ียนแปลงเนื่องจากสภาพภมู ิอากาศเช่น น้าทว่ ม พายุ อากาศแหง้ แลง้ จนทาใหส้ ิ่งมีชีวติ เดิม ที่มีอยตู่ ายไป เกิดสิ่งมีชีวติ ใหม่ข้ึนมา 3. การเปล่ียนแปลงเน่ืองจากโรคระบาดท่ีทาให้สิ่งมีชีวิตที่มีอยเู่ ดิมตายไปหมด 4. การเปล่ียนแปลงเน่ืองจากการประทาของมนุษยเ์ ช่น การตดั ไมท้ าลายป่ า การรบกวนสมดุลของ ระบบนิเวศ โดยทาลายความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ เป็นตน้

ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource) การเรียนรู้ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติเป็นส่ิงที่สาคญั เป็นตน้ ทนุ หรือวตั ถุดิบท่ีมนุษย์ นามาใชเ้ พอ่ื ความเจริญทางเศรษฐกิจ ประเทศใดกต็ ามที่อดุ มสมบรู ณ์ไปดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศน้นั จะมีความร่ารวยและมีความเจริญทางดา้ นเศรษฐกิจ แตเ่ มื่อใดกต็ ามที่มนุษยน์ า ทรัพยากรธรรมชาติมาใชไ้ ม่ถูกวิธีกท็ าใหท้ รัพยากรธรรมชาติบางชนิดหมดสิ้นไปจากโลกน้ีได้ ดงั น้นั จึงควรท่ีจะเรียนรู้ถึงความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ เรียนรูถ้ ึงประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ และเขา้ ใจถึงทรัพยากรธรรมชาติเหล่าน้นั เพอื่ การวางแผนการจดั การท่ีมีคุณภาพ ความหมายและความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ 1.ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ เกษม จนั ทร์แกว้ (2541,หนา้ 138)ใหค้ วามหมายของทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources)วา่ หมายถึง“ส่ิงตา่ ง ๆ ที่มีอยตู่ ามธรรมชาติ และใหป้ ระโยชนต์ ่อมนุษยไ์ ม่ทางใดกท็ าง หน่ึง” ชยั ศรี ธาราสวสั ด์ิพพิ ฒั น์ (2548,หนา้ 92)ใหค้ วามหมายของทรัพยากรธรรมชาติ วา่ หมายถึง“ส่ิงท่ี เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ มีประโยชนส์ ามารถสนองความตอ้ งการของมนุษยไ์ ดห้ รือมนุษยส์ ามารถ นามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้า ป่ าไม้ ทงุ่ หญา้ สตั วป์ ่ า แร่ธาตุพลงั งาน รวมท้งั กาลงั จาก มนุษยด์ ว้ ย” จากความหมายที่กลา่ วมา สรุปไดว้ า่ ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นส่วนหน่ึงของสิ่งแวดลอ้ ม เกิดข้ึนเองตาม ธรรมชาติโดยท่ีมนุษยไ์ ม่ไดส้ ร้างข้ึน และมีประโยชนต์ อ่ มนุษย”์ 2.ความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ จากความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ จะเห็นไดว้ า่ ส่ิงที่เรียกวา่ “ทรัพยากรธรรมชาติ”น้นั คือสิ่งท่ีเป็น ประโยชนต์ ่อมนุษย์ ไม่วา่ จะโดยทางตรงหรือทางออ้ ม และเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนเอง ดงั น้นั ทรัพยากรธรรมชาติจึงมีความสาคญั ตอ่ มนุษยใ์ นดา้ นต่าง ๆ ดงั น้ี

1.)ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจยั ที่จาเป็นตอ่ การดารงชีวติ ของมนุษย์ คือ 1.1)เป็นแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั เป็นแหล่งวตั ถดุ ิบในการก่อสร้างท่อี ยอู่ าศยั มนุษยน์ าไม้ หิน ทราย มา ก่อสร้างบา้ นเรือน สิ่งปลกู สร้างตา่ ง ๆ 1.2)เป็นแหล่งอาหาร ไม่วา่ จะเป็น พืช สตั ว์ 1.3)เป็นแหล่งที่มาเครื่องนุ่มห่ม ในอดีตมนุษยใ์ ชใ้ บไมเ้ ป็นเครื่องปกปิ ดร่างกาย ในปัจจุบนั นาเส้นใย จากธรรมชาติ เช่น เสน้ ใหม ฝ้าย มาถกั ทอเป็นเส้ือผา้ ปกปิ ดร่างกาย 1.4)เป็นแหลง่ ท่ีมาของยารักษาโรค ววิ ฒั นาการจากการเกบ็ ส่วนต่าง ๆ ท้งั ของพชื และสตั วม์ ารักษา โรค ท่ีรู้จกั กนั ในชื่อของ“สมนุ ไพร”ต่อมาก็ไดใ้ ชเ้ ทคโนโลยที ่ีทนั สมยั ข้ึนมาเปลี่ยนสมุนไพรเป็นยา แผนปัจจุบนั ในประเทศไทยมีพืชที่สามารถใชเ้ ป็นสมุนไพรรักษาโรคในทอ้ งถน่ิ มากกวา่ 779ชนิด (สถานการณ์สิ่งแวดลอ้ มไทย, 2543) 2.)เป็นปัจจยั ในการดารงชีวติ ท่ีมนุษยแ์ ละส่ิงมีชีวิตอื่นขาดไมไ่ ด้ ไดแ้ ก่ อากาศ น้า 3.)เป็นปัจจยั ท่ีสาคญั ในการผลิต หรือเป็นวตั ถุดิบในกระบวนการผลิตของอตุ สาหกรรม เช่น การผลิต กระดาษตอ้ งใชเ้ ยอื่ ไม้ น้า น้ามนั เช้ือเพลิง เป็นวตั ถดุ ิบ 4.)ความตอ้ งการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ บง่ ช้ีถึงความเจริญทางเศรษฐกิจ และความเจริญของสงั คม มนุษย์ 5.)มีความสาคญั ต่อเศรษฐกิจของประเทศท้งั ทางตรง เช่น ทรัพยากรพลงั งาน แร่ อญั มณีที่มีมูลคา่ ทาง เศรษฐกิจ หรือโดยทางออ้ ม เช่น เป็นสถานที่ทอ่ งเที่ยว พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ นารายไดจ้ ากการทอ่ งเที่ยวเขา้ สู่ประเทศ 6.)มีความสาคญั ดา้ นวชิ าการ ทางวทิ ยาศาสตร์และการแพทย์

7.)มีความสาคญั ตอ่ การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เนื่องจากทรพั ยากรธรรมชาติเป็นส่วนหน่ึงของ ระบบนิเวศท้งั ระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศทางน้า เช่น ทรัพยากรธรรมชาติประเภทป่ าไมม้ ี ประโยชน์ตอ่ องคป์ ระกอบของผผู้ ลิตท่ีตอ้ งสร้างอาหารเล้ียงส่ิงมีชีวติ บนโลกใบน้ี เป็นตน้ 8.)มีความสาคญั ตอ่ การหมนุ เวยี น หรือวฏั จกั รของแร่ธาตแุ ละสารอาหารในระบบนิเวศ ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร เป็น1ใน4ของมิติทางสิ่งแวดลอ้ ม ทรพั ยากรแบง่ เป็นทรัพยากรท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ซ่ึงเรียกวา่ “ทรพั ยากรธรรมชาติ”และทรัพยากรที่มนุษยส์ ร้างข้ึน แตใ่ นที่น้ีจะกล่าวเฉพาะ ทรัพยากรธรรมชาติเท่าน้นั ทรัพยากรธรรมชาติมีมากกมายหลายชนิด หลายประเภท สามารถแบ่งตาม การนามาใชง้ านทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ สามารถแบ่งตามการนามาใชง้ านและผลที่เกิดข้ึนได3้ ประเภท ดงั น้ี 1.ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่ใชแ้ ลว้ ไมห่ มด ทรัพยากรธรรมชาติท่ใี ชแ้ ลว้ ไมห่ มดหรือไมส่ ูญหาย (inexhaustible natural resources)ทรัพยากรธรรมชาติประเภทน้ี ไดแ้ ก่ บรรยากาศ น้าในวฎั จกั ร แสงอาทติ ย์ เป็นตน้ ลกั ษณะของทรัพยากรธรรมชาติในประเภทน้ี แบ่งไดเ้ ป็น2ชนิด ดงั น้ี

1.1บรรยากาศ (atmosphere)ในบรรยากาศประกอบไปดว้ ยอากาศซ่ึงเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับมี ชีวติ นอกจากน้นั ยงั มีความช้ืน อุณหภูมิ และการเคล่ือนไหวของมวลอากาศ รวมเรียกวา่ “ภูมิอากาศ (climate)”ซ่ึงมีความสาคญั ต่อลกั ษณะของดิน พืชพนั ธุ์ และสภาพอื่น ๆ ของส่ิงมีชีวติ บน พ้ืนผวิ โลก ดงั น้นั บรรยากาศจึงเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีผลตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ บรรยากาศ จะหมนุ เวยี นเปลี่ยนแปลงต่อเน่ืองกนั ไปอยา่ งไม่มีที่สิ้นสุด จึงจดั บรรยากาศอยใู่ นทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีใชไ้ ม่หมด 1.2น้าทอี่ ยใู่ นวฎั จกั ร (water in cycle)น้าที่อยใู่ นวฎั จกั รจะหมุนเวยี นเปลี่ยนไปจากสภาพ หน่ึงไปเป็นอกี สภาพหน่ึงเร่ือยไปโดยไมม่ ีสิ้นสุด เช่น จากฝน หิมะ ลูกเห็บตกลงสู่พ้ืนดิน บางส่วน ระเหยกลบั ไปสู่บรรยากาศ บางส่วนไหลซึมลึกลงไปเป็นน้าใตด้ ิน บางส่วนไหลไปตามพ้นื ผวิ ดินลงสู่ แมน่ ้าลาคลองออกสู่ทะเลมหาสมุทรและกลบั ระเหยกลายเป็นไอน้าอยใู่ นบรรยากาศและจบั ตวั เป็น กอ้ นเมฆตกลงมาเป็นฝนอีกการหมุนเวยี นของน้าแบบน้ีจึงไม่มีท่ีสิ้นสุด มีอยตู่ ลอดไป 2.ทรัพยากรธรรมชาติท่ีทดแทนได้ ทรัพยากรธรรมชาติท่ีทดแทนไดห้ รือรักษาไวไ้ ด(้ replaceable and maintainable natural resources)แบง่ ไดด้ งั น้ี

2.1น้าที่อยู่ ณ ที่ใดท่ีหน่ึง (water in place)หมายถึง น้าท่อี ยใู่ นทเี่ ฉพาะแห่ง เช่น น้าใน ภาชนะ น้าในเข่ือน เมื่อใช่ไปเร่ือย ๆ ปริมาณจะลดลง แตจ่ ะมีปริมาณเพิ่มข้ึนไดเ้ มื่อเกิดฝนตกน้าทีอ่ ยู่ ณ ที่ใดที่หน่ึงเมื่อใชแ้ ลว้ กจ็ ะหมดไป แตส่ ามารถทีจ่ ะหามาทดแทนใหม่ได้ 2.2ดิน (soil)หมายถึง เน้ือดินท่ีเป็นที่อยอู่ าศยั ของพืชเป็นแหลง่ สะสมแร่ธาตอุ าหารท่ีจาเป็น สาหรับพืช เพราะเหตุท่อี าหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยอู่ าศยั ยารักษาโรค ส่วนมากมาจากพชื ซ่ึงเจริญเติบโต มาจากดินหรือไดจ้ ากสตั วซ์ ่ึงกินพืช ดินจึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับส่ิงมีชีวติ แตด่ ินเกิดทดแทนตาม ธรรมชาติไดช้ า้ มาก กวา่ จะไดเ้ น้ือดินหนา1นิ้ว ธรรมชาติตอ้ งใชเ้ วลาสร้างถึง 100ปี 1,000ปี เป็น อยา่ งนอ้ ย อยา่ งไรก็ตามถึงดินจะเกิดไดช้ า้ แตม่ นุษยก์ ็สามารถดูแลรักษาดินใหค้ งมีคุณภาพเหมือนเดิม ไดโ้ ดยการใส่ป๋ ยุ หรือการใชป้ ระโยชน์จากดินอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั การอนุรักษเ์ พราะฉะน้นั ลกั ษณะ สมบตั ิของดินในแง่ของทรัพยากรธรรมชาติแลว้ จดั เป็นประเภทที่สามารถรักษาใหค้ งอยไู่ ด้ (maintainable)มากกวา่ การเกิดข้ึนทดแทน (replaceable) 2.3ป่ าไม้ (forest)ทรพั ยากรป่ าไมน้ บั วา่ มีความสาคญั มากในแงข่ องการอนุรักษด์ ินน้าและสัตวป์ ่ า ซ่ึงอานวยประโยชน์ใหม้ นุษยท์ ้งั ทางตรงและทางออ้ ม เนื่องจากป่ าไมส้ ามารถข้ึนทดแทนโดย ธรรมชาติ หรือการปลูกใหเ้ ป็นป่ ามาใหมไ่ ด้ ป่ าไมจ้ ึงถกู จดั อยใู่ นทรัพยากรธรรมชาติพวกท่ีเกิดข้ึน ทดแทนและรักษาใหค้ งอยไู่ ด้ 2.4ทุ่งหญา้ (rangeland)หมายถงึ พ้นื ที่ใดพ้ืนท่ีหน่ึงท่ีส่วนใหญม่ ีพชื วงศห์ ญา้ และพชื พนั ธุ์อื่นๆ ข้ึนอยเู่ องตามธรรมชาติ มกั เป็นทท่ี ี่มีฝนตกนอ้ ย ใชเ้ ป็นท่ีหากินของสัตวเ์ ล้ียงและสตั วป์ ่ าเป็นที่เหมาะ

แก่การดาเนินการจดั การโดยอาศยั พ้นื ฐานทางนิเวศวทิ ยามากกวา่ พ้ืนฐานทางการเกษตร และใช้ ประโยชน์แบบเอนกประสงคท์ งุ่ หญา้ เช่นเดียวกบั ป่ าไม้ จดั เป็นทรัพยากรธรรมชาติทเี่ กิดข้ึน ทดแทน และรักษาใหค้ งอยไู่ ด้ 2.5สตั วป์ ่ า (wildlife) 2.6ทรัพยากรกาลงั งานมนุษย์ (human resources)กาลงั งานมนุษยจ์ ดั เป็น ทรัพยากรธรรมชาติประเภทหน่ึง มนุษยเ์ ป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติตามกฎของธรรมชาติมนุษย์ สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากตนเองใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อมนุษยช์ าติและตอ่ สังคม โดยอาศยั กาลงั งานที่มีอยู่ ในตวั มนุษยแ์ ละกาลงั ท่วี า่ น้ีเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ กาลงั งานมนุษยแ์ บง่ ออกไดเ้ ป็น2ทางคือ กาลงั งานทางร่ายกายและกาลงั ทางจิต (body and spirit)กาลงั งานทางร่างกายไดแ้ ก่ความ แขง็ แรงของร่างกาย ส่วนกาลงั ทางจิต ไดแ้ ก่ การนึกคดิ และการใชเ้ หตผุ ล การจนิ ตนาการ ถา้ มนุษยม์ ี ความเป็นอยดู่ ี มีการศึกษา อนามยั ดี มีความรู้ ความชานาญและประกอบการงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ หรือรู้จกั ใชท้ รัพยากรอื่น ๆ อยา่ งชาญฉลาดแลว้ ยอ่ มทาใหก้ าลงั งานที่ตอ้ งสูญเปลา่ ลดนอ้ ยลงและ สามารถใชก้ าลงั งานใหเ้ ป็นประโยชนแ์ ก่งานในทกุ ๆ ดา้ นไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ กาลงั งานมนุษยจ์ ึงเป็น ทรัพยากรที่ควรจะไดม้ ีการอนุรักษแ์ ละจดั การใชป้ ระโยชนใ์ หเ้ หมาะสม 3.ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่ใชแ้ ลว้ หมดไป ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใชแ้ ลว้ หมดไป (exhaustible natural resources) ทรัพยากรธรรมชาติประเภทน้ีจาเป็นอยา่ งยงิ่ ทีต่ อ้ งศึกษาเพือ่ หาแนวทางในการอนุรักษใ์ หส้ ามารถมีใช้ ประโยชน์ไดน้ านที่สุด ซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติประเภทน้ี ไดแ้ ก่

3.1 ทรัพยากรแร่ธาตุ 3.2 ทรัพยากรพลงั งาน 3.3 ท่ีดินในสภาพธรรมชาติ (land in natural condition)ไดแ้ ก่ สถานที่ใชศ้ กึ ษา ธรรมชาติและสถานที่วเิ วกห่างไกลผคู้ น (wilderness area)หากสถานท่ีเหลา่ น้ีถกู ทาลายจะ ไมส่ ามารถสร้างมาทดแทนใหม่ได้ ประเทศทเี่ จริญมวี ฒั นธรรมสูงยง่ิ มีความจาเป็นในการที่จะรักษา สภาพธรรมชาติท่ีไมเ่ คยถกู รบกวนมาก่อนไวส้ าหรับศึกษาหาความรู้ตามธรรมชาติ มีไวส้ าหรับคุณคา่ ทางจติ ใจ เป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีไมส่ ามารถทาใหเ้ กิดข้ึนมาใหม่ไดเ้ พราะมีลกั ษณะสมบตั ิเฉพาะตวั (unique)เช่น น้าตก หนา้ ผา จุดเด่นตามธรรมชาติตา่ งๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook