Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 006_1_1-6(PDF)

006_1_1-6(PDF)

Published by putsongboss, 2022-06-06 04:46:41

Description: 006_1_1-6(PDF)

Search

Read the Text Version

ชื่อ นาย เจษฎาพงศ์ นามสกุล พุธทรง รหสั 0006 ช้นั ปวส.1/1-2 หน่วยท่ี 1 คอมพวิ เตอร์และประเภทของคอมพวิ เตอร์ 1. ความหมายของคอมพวิ เตอร์ คืออุปกรณ์ชนิดหน่ึงท่ีทางานดว้ ยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถเก็บ และจาขอ้ มูลรวมถึงชดุ คาสัง่ ในการทางานไดท้ าให้สามารถทางานได้ โดยอตั โนมตั ดิ ว้ ยอตั ราความเร็วทส่ี ูงมากใช้เพ่ือประโยชน์ในการนวณ หรือทางานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิดทุกประเภทและแสดงผลลพั ธ์ ออกมาในรูปแบบต่าง ๆไดอ้ ย่างวดเร็วถกู ตอ้ ง 2. ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์ 1 งานธุรกิจ เชน่ บริษทั ร้านคา้ ห้างสรรพสินคา้ ตลอดจนโรงงานตา่ ง ๆ ใชค้ อมพิวเตอร์ในการทาบัญชี งานประมวลคา และตดิ ต่อกบั หนว่ ยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากน้ีงานอตุ สาหกรรม ส่วนใหญ่กใ็ ชค้ อมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลติ และการประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซ่ึงทาให้การผลติ มีคุณภาพดขี ้ึนบริษัทยงั สามารถรับ หรืองานธนาคาร ท่ี ให้บริการถอนเงินผ่านตฝู้ ากถอนเงินอตั โนมตั ิ ( ATM ) และใช้คอมพวิ เตอร์คดิ ดอกเบ้ยี ให้กบั ผู้ฝากเงิน แ ล ะ ก า ร โ อ น เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง บั ญ ชี เ ชื่ อ ม โ ย ง กั น เ ป็ น ร ะ บ บ เ ค รื อ ข่ า ย 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในส่วน ของการคานวณท่ีคอ่ นขา้ งซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่ อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็ นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซ่ึงจะให้ผลที่ แ ม่ น ย า ก ว่ า ก า ร ต ร ว จ ด้ ว ย วิ ธี เ ค มี แ บ บ เ ดิ ม แ ล ะ ใ ห้ ก า ร รั ก ษ า ไ ด้ ร ว ด เ ร็ ว ข้ึ น 3.งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนท่เี ก่ียวกบั การเดินทาง จะใชค้ อมพิวเตอร์ในการจองวนั เวลา ทน่ี ัง่ ซ่ึง มกี ารเชอื่ มโยงไปยงั ทุกสถานีหรือทุกสายการบนิ ได้ ทาใหส้ ะดวกต่อผูเ้ ดินทางที่ไมต่ ้องเสียเวลารอ อกี ท้งั ยงั ใชใ้ นการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสญั ญาณจราจร และการจราจรทางอากาศ หรือในการ สื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทยี มเพ่ือให้อยู่ในวงโคจรซ่ึงจะช่วยส่งผลตอ่ การส่งสญั ญาณให้

1. ประเภทของคอมพวิ เตอร์ มอี ะไรบ้าง 1)ไมโครคอมพวิ เตอร์ (micro computer) ไมโครคอมพิวเตอร์เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ที่ใช้งานส่วนบุคคล หรือเรียกว่า พีซี (Personal computer: PC) สามารถใช้เป็ นเครื่องต่อเช่ือม ในเครื อข่าย หรื อใช้เป็ นเครื่ องปลา ยทาง (terminal)ซ่ึงจะทาหน้าที่เป็ นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผลสาหรับป้อนข้อมูลและดูผลลัพธ์ โดย ดาเนินการการประมวลผลบนเคร่ืองอื่นบนเครือขา่ ย 2) สถานีงานวิศวกรรม (engineering works station) ผใู้ ช้สถานีงานวิศวกรรมส่วนใหญ่เป็นวิศวกร นักวิทยาศาสตร์ สถาปนิกและนักออกแบบ สถานีงานวศิ วกรรมมจี ุดเด่นทางกราฟิ ก การ สรา้ งรูปภาพ และการทาภาพเคล่อื นไหว การ เช่ือมโยงสถานีงานวิศวกรรมรวมกันเป็ น เครือข่าย ทาให้สามารถแลกเปล่ียนข้อมูล และใชง้ านร่วมกนั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ บริษทั พฒั นาซอฟต์แวร์หลายบริษทั ได้พฒั นาซอฟต์แวร์สาเร็จสาหรับใช้กับสถานีงานวิศวกรรม ข้ึน เช่น โปรแกรมการจดั ทาต้นแบบหนังสือ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์งานจาลองและคานวณ ทางวทิ ยาศาสตร์ งานออกแบบทางดา้ นวิศวกรรมและการควบคุมเคร่ืองจกั รการซ้ือสถานีงานวศิ วกรรม ต่างจากการซ้ือเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองสามารถใช้โปรแกรม สาเร็จสาหรับไมโครคอมพิวเตอร์ได้ และมีลักษณะการใช้งานเหมือนกัน ส่วน การซ้ือสถานีงาน วิศวกรรมน้ันยุ่งยากกว่า สถานีงานวิศวกรรมมีราคาแพงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์มาก การใช้งานก็ ตอ้ งการบคุ คลากรทมี่ ีการฝึกหดั มาอย่างดี หรือตอ้ งใชเ้ วลาเรียนรู้

สถานีงานวิศวกรรมส่วนใหญ่ใช้ระบบปฏิบตั ิการยูนิกซ์ ประสิทธิภาพของซีพียูของระบบอยู่ ในชว่ ง 50-100 ลา้ นคาสงั่ ตอ่ วนิ าที (Million Instruction Per Second : MIPS) อยา่ งไรกต็ ามหลงั จากที่ใช้ ซีพียูแบบริสก์ (Reduced Instruction Set Computer : RISC) ก็สามารถเพ่ิมขีดความสามารถเชิงคานวณ ของซีพียสู ูงข้ึนได้อีก ทาใหส้ รา้ งสถานีงานวิศวกรรมให้มขี ีดความสามารถเชิงคานวณไดม้ ากกว่า 100 ลา้ นคาส่ังตอ่ วนิ าที 3) มินิคอมพวิ เตอร์ (mini computer) มินิคอมพิวเตอร์เป็ นเครื่องที่สามารถใช้งานไดพ้ ร้อมกันหลาย ๆ คนจึงเป็ น เคร่ืองปลายทางต่อได้มินิคอมพิวเตอร์เป็ นคอมพิวเตอร์ท่ีมีราคาสูงกว่าสถานี งานวิศวกรรม นามาใช้สาหรับการประมวลผลในงานสารสนเทศขององคก์ าร ขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่ที่มีการวางระบบเป็ นเครือข่ายเพื่อใช้งาน ร่วมกนั เช่น งานบญั ชีและการเงนิ งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคมุ การ ผลิตในโรงงานอตุ สาหกรรม มินิคอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์ในระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ขององค์การที่เรียกว่าเคร่ืองใหบ้ ริการ (server) มหี น้าที่ใหบ้ ริการช่วยในการคานวณ และการสื่อสาร 4) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ท่ีสุดทมี่ ีการพฒั นาต้ังแต่เร่ิมแรกเหตุ ทเ่ี รียกวา่ เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ เพราะตวั เครื่อง ประกอบดว้ ยตูข้ นาดใหญ่ที่ภายในตู้มีชิ้นส่วน และอุปกรณต์ า่ ง ๆ อยู่เป็นจานวนมาก แต่อย่างไร ก็ตามในปัจจุบันเมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาด เล็กลงมาก

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงมาก มักอยู่ที่ศูนยค์ อมพิวเตอร์หลักขององค์การ และตอ้ งอยู่ใน ห้องที่ต้องมีการควบคุมอุณหภูมิและมีการรักษาเป็ นอย่างดีบริษัทผู้ผลิตเมนเฟรมได้พัฒนาขีด ความสามารถของเครื่องให้สูงข้ึน ขอ้ เด่นของการใช้เมนเฟรมอยู่ทงี่ านท่ตี อ้ งการให้มีระบบศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเป็ นจานวนมาก เช่น ระบบเอทีเอ็มซ่ึงเชื่อมต่อกบั ฐานข้อมูลท่ีจดั การโดย เคร่ืองเมนเฟรม อย่างไรก็ตามขนาดของเมนเฟรมและ มินิคอมพิวเตอร์ก็ยากท่ีจะจาแนกจากกนั อยา่ ง ชดั เจน ปัจจบุ นั เมนเฟรมไดร้ ับความนิยมน้อยลง ท้งั น้ีเพราะเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ขนาดเล็กมีประสิทธิภาพ และความสามารถสูงข้ึน ราคาถกู ลง ขณะเดียวกนั ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์กด็ ขี ้นึ จนทาให้การใช้งาน บนเครือขา่ ยกระทาไดเ้ หมอื นการใชง้ านบนเมนเฟรม 5) ซุปเปอร์คอมพวิ เตอร์หรือคอมพวิ เตอร์ประสิทธิภาพสูง (super computer) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกบั งานคานวณที่ตอ้ งมีการคานวณตวั เลขจานวนหลายลา้ น ตวั ภายในเวลาอันรวดเร็ว เช่น งานพยากรณ์อากาศ ท่ี ตอ้ งนาขอ้ มูลต่าง ๆ เก่ียวกบั อากาศท้ังระดบั ภาคพ้ืนดิน และระดับช้ันบรรยากาศเพ่ือดูการเคลื่อนไหวและการ เปล่ียนแปลงของอากาศ งานน้ีจาเป็ นต้องใช้เคร่ือง คอมพวิ เตอร์ท่มี ีสมรรถนะสูงมาก นอกจากน้ีมงี านอีกเป็นจานวนมากทีต่ อ้ งใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ซ่ึงมี ความเร็วสูง เช่น งานควบคมุ ขีปนาวุธ งานควบคมุ ทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งาน ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ โดยเฉพาะทางดา้ นเคมี เภสชั วทิ ยา และงานดา้ นวศิ วกรรมการออกแบบ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ทางานไดเ้ ร็ว และมีประสิทธิภาพสูงกว่าคอมพิวเตอร์ชนิดอื่น การที่ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ทางานไดเ้ ร็ว เพราะมีการพัฒนาให้มีโครงสร้างการคานวณพิเศษ เช่น การคานวณแบบ

ขนานที่เรียกว่า เอ็มพีพี (Massively Parallel Processing : MPP) ซ่ึงเป็ นการคานวณท่ีกระทากับขอ้ มูล หลาย ๆ ตวั ในเวลาเดียวกนั 2. คอมพวิ เตอร์ยุคใหม่คืออะไร 4.1 เดสกท์ อ๊ ป (Desktop) เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีพบเห็นไดท้ วั่ กนั ไปตามบา้ นหรือสานักงาน มีการแยกชิน้ ส่วนประกอบ เป็ นซีพียู จอภาพ และแป้นพิมพ์ เป็ นต้น ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะ มีผลิตที่เน้นให้มี ความสวยงามน่าใช้มากย่ิงข้ึน และได้รับความนิยมในการใช้งานมากยิ่งข้ึน และไดร้ ับ ความนิยมในการใช้งานมากเน่ืองจากราคาไมแ่ พงมาก เม่ือเทียบกบั คอมพวิ เตอร์แบบอนื่ ๆ 4.2 โนต้ ยุคยคุ ใหม่ (Notebook) คอมพวิ เตอร์โน้ตบ๊กุ มคี ุณสมบตั คิ ลา้ ยกบั เครื่องPC ทย่ี อ่ ส่วนลงมา มีขนาดเล็กบาง และเบา (ซ่ึงส่งผลให้ราคาสูงข้นึ ตามประสิทธิภาพดว้ ย) โน้ตบกุ๊ ใช้สาหรับงานนอกสถานที่ รองรับ งานไดท้ กุ รูปแบบท้งั งานดา้ นกราฟิก เลน่ เกม 3 มิติ ตดั ต่อวิดีโอ และยงั มีอุปกรณ์อานวยความ สะดวกสาหรับการใช้งานบนั เทงิ ครบ โน้ตบุ๊ก ใชพ้ ลงั งานจากแบตเตอร่ีซ่ึงเทคโนโลยีปัจจุบัน ถกู พฒั นาให้มปี ระสิทธิภาพสูงข้นึ แต่ประหยดั ไฟ บางรุ่นสามารถใชง้ านไดน้ านถึง5-6 ชว่ั โมง

4.3 เดสก์โนต้ หรือพาวเวอร์โน้ต (Desknote) เคร่ืองเดสก์โน้ตจะมีรูปร่างเหมือนเคร่ืองโน้ตบุ๊กทุกประการแต่มีส่วนท่ีแตกต่างกันคือ เดสกโ์ น้ตไม่มีแบตเตอรร่ีภายในตวั เครื่องจะใชไ้ ฟฟา้ แทน รวมถึงโครงสรา้ งภายในเครื่อง เดสกโ์ นต้ เป็นชนิดเดยี วกบั เคร่ือง PC ได้ ไม่ว่าจะเป็นหนว่ ยความจา ซีพียู อปุ กรณป์ ระกอบ อื่นๆ เดสก์โน้ตจะมรี าคาถกู กว่าโนต้ บุ๊กเนื่องจากคุณลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกัน 4.3.1 ให้บอกความแตกต่างระหวา่ ง เดสกโ์ น้ตกบั โนต๊ บุก๊ เครื่องเดสก์โน้ตจะมีรูปร่างเหมือนเคร่ืองโน้ตบุ๊ก ทกุ ประการแต่มีส่วนท่ีแตกตา่ งกนั คือเดสก์โน้ตไม่มแี บตเตอรรี่ ภายในตัวเครื่องจะใช้ไฟฟ้าแทน รวมถึงโครงสร้างภายใน เครื่องเดสก์โน้ตเป็ นชนิดเดียวกบั เคร่ือง PC ได้ ไม่ว่าจะเป็ น หน่วยความจา ซีพยี ู อุปกรณ์ ประกอบอื่นๆ เดสกโ์ น้ตจะมรี าคา ถูกกวา่ โน้ตบกุ๊ เน่ืองจากคณุ ลกั ษณะท่แี ตกตา่ งกนั 4.4 แทบ๊ เลต็ (Tablet) คอมพิวเตอร์พกพาหรือคอมพวิ เตอร์ที่สามารถใชง้ านขณะเคลื่อนที่ไดข้ นาดกลาง ที่มหี นา้ จอแบบสมั ผสั ในการใช้งานเป็ นหลกั หลกั ๆแลว้ ก็ มี 2 ความหมายด้วยกันคือ \"แท็บเล็ต พีซี - Tablet PC (Tablet Personal Computer)\" และ แทบ็ เล็ต คอมพิวเตอร์ - Tablet Computer หรือเรียกส้ันๆวา่ \"แท็บเล็ต - Tablet\"

4.4.1 แทบ๊ เล็ตพซี ี Tablet PC (Table Personal Computer) คือแท็บเล็ตมกั เรียกส้ันๆว่าแท็บเล็ต เป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลที่มีคุณสมบตั คิ ลา้ ยกบั โน้ตบุ๊ก แต่วิธีการใช้งานจะ เป็ นลักษณะของการขีดเขียนบนหน้าจอโดยตรง ( touch screen) และในปัจจุบันได้พัฒนาให้มีการใช้งานเหมือน โนต้ บกุ๊ จอภาพสามารถหมุนได้ 180 อ งศา สามารถพบั ปิ ดได้ ยกจอข้นึ ไดแ้ ละยงั ป้อนข้อมูลไดท้ ้งั แบบแป้นพิมพ์ รวมไปถึง การใช้ปากกา(stylus) อีกดว้ ย ขนาดของแท็บเล็ตจะเล็กกว่า โน้ตบ๊กุ แต่จะใหญ่กว่า สมาร์ทโฟน 5. คอมพวิ เตอร์ในอนาคต มีแนวโน้มจะพฒั นาไปทิศทางใด การพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศในคริสต์ศตวรรษท่ี21 มีแนวโน้มที่จะพฒั นาคอมพิวเตอร์ให้มี ความสามารถ ใกลเ้ คียงกบั มนุษย์ หรือเรียกกวา่ เทคโนโลยี เช่น การเขา้ ภาษาส่ือสารของมนุษย์ โครงข่ายประสาทเทียม ระบบ จาลอง ระบบเสมือนจริง โดยพยายามนาไปใช้ให้เกิด ประโยชน์มากข้ึนลดข้อผิดพลาดและป้องกันไม่ให้ นาไป ใช้ในทางท่ีไมถ่ ูกตอ้ งหรือผิดกฎหมาย แนวโน้มในดา้ นบวก การพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตท่ีเช่ือมโยงกนั ทวั่ โลก กอ่ ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม ช่องทางการดาเนินธุรกจิ เชน่ การทา ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การผ่อนคลายดว้ ยการดหู นัง ฟังเพลง และบนั เทิงต่างๆ เกมออนไลน์

แนวโน้มในดา้ นลบ การพฒั นาใหค้ อมพิวเตอร์สามารถฟังและตอบเป็ นภาษา พดู ได้ อ่านตวั อกั ษรหรือ ลายมอื เขยี นได้ การแสดงผลของคอมพวิ เตอร์ไดเ้ สมือนจริง เป็นแบบสามมติ ิ และ การรบั รูด้ ว้ ยประสาทสมั ผสั เสมือนว่าไดอ้ ยู่ในทนี่ ้นั จริง การพัฒนาระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูล ฐานความรู้ เพ่ือพฒั นาระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ และการจดั การความรู้ การศึกษาตามอธั ยาศยั ดว้ ยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) การเรียนการสอน ด้วยระบบโทรศึกษา (tele-education) การคน้ คว้าหาความรู้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง จากหอ้ งสมดุ เสมือน (virtual library) การพฒั นาเครือขา่ ยโทร คมนาคม ระบบการส่ือสารผ่านเครือข่ายไร้สาย เครือข่าย ดาวเทียม ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทาให้สามารถค้นหาตาแหน่งได้อย่าง แมน่ ยา การบริหารจดั การภาครัฐสมยั ใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่าย การส่ือสารเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการ ดาเนินการของภาครัฐท่ีเรียกว่า รัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ (e-government) รวมท้งั ระบบฐานขอ้ มูลประชาชน หรือ e-citizen ความผิดพลาดในการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ ท้ังส่วนฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ ท่ีเกิดข้นึ จากการออกแบบและพัฒนา ทาใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ ระบบ และสูญเสียคา่ ใช้จา่ ยในการแกป้ ัญหา การละเมดิ ลิขสิทธ์ิของทรัพยส์ ินทางปัญญา การทาสาเนาและลอกเลยี นแบบ 5.1 หุ่นยนต์หรือโรบอต (Robot) คือ คอื เคร่ืองจกั รกลชนิด หน่ึง มลี กั ษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกัน หุ่นยนต์ในแต่ละประเภท จะมีหนา้ ทีก่ ารทางานในดา้ นต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนษุ ย์ การควบคุมระบบต่าง ๆ ใน การสง่ั งานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทาไดโ้ ดยทางออ้ มและอตั โนมตั ิ โดยทว่ั ไปหุ่นยนต์ ถูกสร้างข้ึนเพ่อื สาหรับงานทม่ี ีความยากลาบาก เช่น งานสารวจในพืน้ ทบ่ี ริเวณแคบหรืองานสารวจ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ที่ไม่มีส่ิงมีชีวิต ในปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญกา้ วหน้าอย่าง

รวดเร็ว และเร่ิมเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษยใ์ นด้านตา่ ง ๆ เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิต แตกตา่ งจากเมอ่ื กอ่ นท่ีหุ่นยนต์มกั ถูกนาไปใช้ ในงานอตุ สาหกรรมเป็ นส่วนใหญ่ ปัจจบุ นั มกี ารนา หุ่นยนต์มาใช้งานมากข้ึน เช่น หุ่นยนตท์ ่ใี ช้ในทางการแพทย์ หุ่นยนต์สาหรบั งานสารวจ หุ่นยนต์ที่ ใช้งานในอวกาศ หรือแมแ้ ต่หุ่นยนต์ท่ีถูกสร้างข้ึนเพ่ือเป็ นเคร่ืองเล่นของมนุษย์ จนกระทั่งใน ปัจจุบนั น้ีได้มีการพฒั นาให้หุ่นยนต์น้ันมีลกั ษณะที่คลา้ ยมนุษย์ เพื่อให้อาศยั อยู่ร่วมกนั กบั มนุษย์ ให้ไดใ้ นชวี ติ ประจาวนั 5.1.1 ประโยชน์และความสามารถของหุ่นยนต์ 1. ทางานไดเ้ ร็วกว่า 2. ทางานไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง ไมเ่ หนด็ เหนื่อย 3. สามารถเลือกโปรแกรมหุ่นยนต์ท่ตี อบโจทย์การทางานได้ 4. ทางานท่ีเส่ียงอนั ตรายได้ 5. ทางานไดอ้ ยา่ งแม่นยา 6. มขี อ้ ผดิ พลาดนอ้ ยหรือไม่มีเลย 7. ประหยดั เวลา 8. ลดตน้ ทนุ ดา้ นค่าแรงงาน 9. ทางานไดท้ ้งั แบบวนลูปและตามสถานการณ์ 10. ใช้เวลานอ้ ยในการติดต้งั 11. ใชพ้ น้ื ท่ใี นการทางานน้อยลง 12. ยกระดบั ไลน์การผลิต

5.1.1.1 ความสามารถทางดา้ นการแพทย์ อย่างไร ในงานดา้ นการแพทย์ เร่ิมนาเอาหุ่นยนต์แขนกลเขา้ มามสี ่วนร่วมในการชว่ ยทาการผา่ ตดั คนไข้ แพทยห์ ุ่นยนต์ท่ี เขา้ มาช่วยวนิ ิจฉัยการรักษาโรคบางชนิดร่วมกับแพทย์ผเู้ ช่ียวชาญ เน่ืองจากหุ่นยนต์น้นั สามารถทางานในด้านที่ มีความละเอียดสูงที่เกินกว่ามนุษยจ์ ะทาได้ เช่น การนาเอาหุ่นยนต์มาใช้งานดา้ นการผ่าตัดสมอง ซ่ึงมีความ จาเป็นอยา่ งมากทตี่ อ้ งการความละเอียดในการผ่าตดั หุ่นยนต์แขนกลจึงกลายเป็นส่วนหน่ึงของการผา่ ตดั ในด้าน การแพทย์ การทางานของหุ่นยนตแ์ ขนกลในการผ่าตดั จะเป็ นลกั ษณะการทางานของการควบคมุ การผ่าตดั โดยผ่านทาง แพทยผ์ ทู้ าการผ่าตดั อีกที ซ่ึงการผา่ ตดั โดยมีหุ่นยนตแ์ ขนกลเขา้ มามีส่วนร่วมน้ันจะเนน้ เร่ืองความปลอดภัยเป็ น อย่างสูง รวมท้งั ความสามารถในการเคลือ่ นทขี่ องหุ่นยนต์ รวมถึงงานเภสัชกรรมท่ีมีบางโรงพยาบาลนาหุ่นยนต์ มาใชใ้ นการจ่ายยา (ของประเทศไทย เช่น ทโี รงพยาบาลมงกุฎวฒั นะ มีหุ่นยนตช์ ว่ ยงานดา้ นจดั การเอกสารและ ยงั เปลยี่ นชุดที่เทศกาลดว้ ยนะ) เช่น เอาหุ่นยนต์แขนกลเขา้ มามีส่วนร่วมในการช่วยทาการผ่าตดั คนไข้แพทย์หุ่นยนต์ที่เขา้ มาช่วยวินิจฉัยการ รกั ษาโรคบางชนิดร่วมกบั แพทยผ์ เู้ ช่ียวชาญ 5.1.1.2 ความสามารถในงานวจิ ยั อยา่ งไร หุ่นยนตส์ ามารถทาการสารวจงานวิจยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ร่วมกับมนุษย์ เช่น การสารวจทอ้ งทะเลหรือมหาสมุทรท่มี ี ความลึกเป็นอย่างมาก หรือการสารวจบริเวณปากปลอ่ งภูเขา ไฟเพ่ือเก็บบนั ทึกขอ้ มูลการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ซ่ึงเป็ นงาน เสี่ยงอันตรายที่เกินขอบเขตความสามารถของมนุษย์ที่ ไม่ สามารถปฏบิ ตั ิงานสารวจเช่นน้ีไดท้ าใหป้ ัจจบุ นั มกี ารพัฒนา หุ่นยนต์เพื่อใช้ในงานวิจัยและสารวจ เพ่ือให้หุ่นยนต์ สามารถทนต่อสภาพแวดลอ้ มและสามารถทาการควบคมุ หุ่นยนต์ไดใ้ นระยะไกลด้วยระบบคอนโทรล โดยมี เซนเซอร์ติดต้ังท่ีตวั หุ่นยนตเ์ พ่ือใช้ในการวดั ระยะทางและเก็บขอ้ มูลในส่วนต่าง ๆ ทางดา้ นวิทยาศาสตร์ เช่น การสารวจทอ้ งทะเลหรือมหาสมทุ รทม่ี ีความลึกเป็นอย่างมาก

5.1.1.3 ความสามารถในงานอุตสาหกรรม อย่างไร หุ่ นยนต์ เริ่ มมีบ ท บ า ท ท า ง ด้านเท คโนโลยี อุต สา หกรรมใน ขณะท่ีงานดา้ นอุตสาหกรรม มคี วามตอ้ งการดา้ นแรงงานเป็ น อย่า งมา ก กา รจ้า งแรงงานจา นวนมา กเพ่ือใช้ในงาน อุตสาหกรรม ทาให้ ต้นทุนการผลิตของแต่ละโรงงาน อตุ สาหกรรม เพมิ่ จานวนสูงข้ึน และงานอุตสาหกรรมบางงาน ไมส่ ามารถที่จะใชแ้ รงงงานเขา้ ไปทาได้ ซ่ึงบางงานน้ันอนั ตรายและมีความเสี่ยงเป็ นอย่างมาก หรือเป็ นงานที่ต้องการความรวดเร็วและแม่นยาในการ ผลิตรวมท้ังเป็ นการประหยดั ระยะเวลา ทาให้หุ่นยนต์กลายเป็นทางออกของงานด้านอุตสาหกรรม เช่น ทาให้ ตน้ ทุนการผลิตของแต่ละโรงงานอตุ สาหกรรม เพิม่ จานวนสูงข้ึน และงานอตุ สาหกรรมบางงานไม่สามารถที่จะ ใชแ้ รงงงานเขา้ ไปทาได้ 5.1.1.4 ความสามารถในดา้ นบริการ อย่างไร หุ่นยนต์ประเภทน้ีไดร้ ับการพฒั นาให้สามารถตอบโตก้ บั คนได้เสมือนเป็ นเพ่ือนเล่น หรือสัตวเ์ ล้ียง ซ่ึงมีใน รูปแบบของ สุนัข แมว และแมลง เป็ นต้น หรือกระทั่งสร้างความบันเทิงทางเพศให้กบั มนุษยไ์ ดอ้ ีกด้วย เช่น สุนัข แมว และแมลง

6. ปัญหาและขอ้ จากดั ของการใช้งานคอมพิวเตอร์ มอี ะไรบา้ ง การนาเอาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ จะเห็นได้ว่าก่อให้เกิด ประโยชนม์ ากมาย เช่น ช่วยให้ทางานไดเ้ ร็วและสะดวกข้ึนการวินิจฉัยหรือให้ ผลลัพธ์มีความแม่นยามากกวา่ เดมิ สามารถแบ่งเบาภาระงานของมนุษยล์ งไป อย่างมาก ในทางตรงกันข้ามหากเราจะพิจารณาถึงข้อจากดั ของการใช้ งาน คอมพิวเตอร์แล้วจะเห็นว่าคอมพิวเตอร์เป็ นเพียงอุปกรณ์ที่มนุษย์สร้างข้ึนมา สาหรับแกไ้ ขปัญหาในรูปแบบต่างๆตามที่มนุษยส์ อนหรือกาหนดไว้เท่าน้ัน คอมพวิ เตอร์ยงั ไม่สามารถเขา้ มาแทนที่มนุษยไ์ ด้ 100% เพราะถึงอยา่ งไรก็ตาม มนุษยก์ ต็ อ้ งคอยเป็นผูค้ วบคมุ และสร้างคาสงั่ ให้คอมพิวเตอร์ทางานไดอ้ ย่ดู ี ระบบคอมพิวเตอร์ ถงึ แมจ้ ะมคี วามสามารถในเรื่องของการคดิ และตดั สินใจไดแ้ ทนมนุษย์ แต่กเ็ ป็นแคบ่ างเร่ือง หรือบางกรณีเท่าน้ันซ่ึงไม่ใช่ท้งั หมดทีเดียว การประมวลผลงานบางอยา่ งของคอมพิวเตอร์อาจไม่ฉลาดเท่ากับ การคดิ และตดั สินใจของมนุษย์ เพราะคอมพิวเตอร์จะทางานตามท่ีไดร้ ับคาสั่งหรือตามขอ้ มูลที่ไดร้ ับมาเท่าน้ัน กล่าวง่ายๆ ก็คือไดข้ อ้ มูลมาอยา่ งไรก็ทาตามไปแบบน้ัน หากไดร้ บั ขอ้ มูลท่ีผดิ พลาดหรือข้อมูลที่ไม่มีคุณค่าเขา้ ไปในระบบ ผลลพั ธท์ ไี่ ดอ้ อกมากจ็ ะเป็นขอ้ มูลท่ีผดิ พลาดและไม่เป็นประโยชน์ตามไปดว้ ย ปัญหาของผใู้ ชค้ อมพิวเตอร์ท่ีพบมากท่ีสุดก็คอื \"ความรูไ้ มท่ นั เทคโนโลย\"ี ที่มีการเปลย่ี นแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางดา้ นคอมพิวเตอร์ ผูใ้ ช้งานจึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะตอ้ งติดตามข่าวสารและปรับตวั ให้ ทนั สมยั ตลอดเวลา อกี ปัญหาท่ีพบเห็นบ่อยกค็ ือ ปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ซ่ึงมกั จะเกิดจากคนท่ีมีความรู้และความชานาญ ทางคอมพวิ เตอร์เป็นพิเศษ แต่กลบั นาเอาความรูน้ ้นั ไปใชใ้ นทางท่ผี ดิ และสร้างความเสียหายแกผ่ ูอ้ ื่นอย่างมาก

ดงั น้นั การทค่ี อมพิวเตอร์จะทางานไดด้ ีและมปี ระสิทธิภาพมากท่ีสุดจึงอยทู่ ี่ \"มนุษย\"์ ซ่ึงจะตอ้ งรู้จกั เลือกใช้งาน ให้ถูกวิธี ติดตาม ข่าวสารเทคโนโลยีทางดา้ นคอมพวิ เตอร์อย่างสม่าเสมอ และมคี วามตระหนักถงึ จริยธรรมใน การใช้งานโดยท่วั ไปท่ีจะไม่สร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น ซ่ึงจะทาให้เกิดปัญหาในการใช้งานตามมาน้อยที่สุด น่ันเอง - ปัญหาของการใชค้ อมพวิ เตอร์ที่พบมากทีส่ ุด คืออะไรบา้ ง 1. คอมพิวเตอร์มีเสียงร้อง 2. อุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่ทางาน 3. ไม่สามารถเข้า Windows ได้ 4. ปัญหาต้องต้งั เวลา ใหม่ 5. แอพหรือโปรแกรมคา้ ง ทางานไม่ได้ ปิดกไ็ ม่ได้ 6. เปิดคอมไม่ตดิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook