Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 29-10-2021-SHC-Sanbox-Report

29-10-2021-SHC-Sanbox-Report

Published by chanutsikanw, 2021-10-29 10:24:50

Description: 29-10-2021-SHC-Sanbox-Report

Search

Read the Text Version

โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ รายงานผลการประเมนิ ความพร้อมตามหลักเกณฑก์ ารเปดิ โรงเรยี นเอกชน ในระบบในกรงุ เทพมหานคร ประเภทไป - กลบั โรงเรียนพระหฤทยั คอนแวนต์ เลขท่ี 94 ถนนสนุ ทรโกษา แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรงุเทพมหานคร รหัสไปรษณยี ์ 10110 โทร.02-671-9041-4 ตอ่ 100,102 Website : www.shc.ac.th, E-Mail: [email protected] Facebook : โรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต์ You tube : โรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต์ IG/TikTok :shc_school

เนอ่ื งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนได้กาหนดแนวทาง และมาตรการในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ 2 /2564 โดยมาตรการตา่ ง ๆ ทก่ี าหนดขนึ้ โรงเรยี นได้ศึกษา จากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องหลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียน หรือสถานศึกษาตามข้อกาหนดออกตามความใน มาตรา ๙ แห่งพระราชกาหนดการบรหิ ารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิก พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับท่ี ๓๒) ลงวนั ท่ี ๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๔ และคู่มือการปฏิบัติของสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข (2563) จากการประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดแนวปฏิบัติให้โรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ควบคุม สูงสุด (สีแดงเข้ม) หากจะจัดการเรียนการสอน Onsite ต้องผ่านการเกณฑ์การประเมินความพร้อมของระบบ Thai Stop COVID + (TSC+) ซึง่ โรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต์ผ่านเกณฑป์ ระเมินความพรอ้ มดังกลา่ ว โรงเรียนจึงจัดทาคู่มือระบบ ระเบียบ มาตรการต่าง ๆ และแนวทางการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบที่ เหมาะสมกับสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รวมถึงเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ สาหรบั ครู บคุ ลากร นักเรียน และผปู้ กครอง เพอื่ การเตรียมพรอ้ มในการเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ต่อไป โรงเรียนมุ่งหวังวา่ มาตการต่าง ๆ จะทาให้โรงเรียนเป็นสถานทีป่ ลอดภัยสาหรบั ครู บุคลากรและนักเรียนทกุ คน ขอขอบคณุ ทุกฝา่ ยท่ีรว่ มมือกันวางแผน ดาเนนิ การในดา้ นต่าง ๆ เพือ่ การดาเนนิ การท่ีส่งผลดีต่อครู บุคลากรและการ พัฒนานกั เรยี นต่อไป ขอพระหฤทยั ทรงอานวยพระพรใหท้ ุกทา่ นมีสุขภาพท่ีดี (ซสิ เตอร์ ดร.สุรยี ์พร ระดมกิจ) ผู้ปฏิบตั ิหน้าที่แทนผูร้ บั ใบอนุญาต/ผ้จู ัดการ โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ 19 ตุลาคม 2564

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของโรงเรยี น หนา้ ตอนท่ี 2 แนวทางดำเนนิ การของโรงเรียนเพอ่ื ป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติด 1 1 เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 1. ด้านกายภาพ 1 2. ดา้ นการมีสว่ นรว่ ม 27 3. ด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ 29 4. การดำเนนิ การของโรงเรยี น หรอื สถานศึกษา(ระหวา่ งภาคการศกึ ษา) 33 45 ภาคผนวก 46 - การดำเนนิ การจดั ด้านกายภาพอื่น ๆ 50 - รายช่ือนักเรียนอายุ 12 -18 ปี ที่รบั วัคซีนแลว้ 70 - รายช่ือครู และบุคลากรของโรงเรยี นทีร่ ับวัคซนี แล้ว

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลักเกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 1 ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของโรงเรียน ประเภท R สามญั * นานาชาติ รหสั โรงเรียน 1110100559 ชื่อโรงเรียน พระหฤทยั คอนแวนต์ ทอี่ ยู่ เลขที่ 94 ถนนสนุ ทรโกษา แขวง คลองเตย เขต คลองเตย กรุงเทพมหานคร วนั ทขี่ อเปดิ การเรยี นการสอน วันจนั ทร์ที่ 15 พฤศจกิ ายน 2564 ระดับชั้นท่ขี อเปิด ช้ันเตรียมอนุบาล ถึง มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 จํานวนนกั เรยี น 2,366 คน จาํ นวนครแู ละบคุ ลากร 300 คน ตอนที่ 2 แนวทางดาํ เนนิ การของโรงเรียนเพอื่ ปอ้ งกันการแพร่ระบาดของ โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 1. .0ด00$า00น000ก00า00ย0 ภาพ โรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต์ จดั ให้มีอาคาร และพื้นท่โี ดยรอบอาคารของโรงเรียน ให้เป็นไปตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School รายละเอียดดังน้ี 1.1 พน้ื ที่/อาคารสนบั สนุนการบริการ 1.1.1 หอ้ งสมดุ Æ แนวปฏบิ ตั หิ รือแผนดำเนนิ การของโรงเรยี นในการเตรยี มพื้นทแ่ี ละการใชบ้ ริการห้องสมดุ ดงั น้ี 1. แนวปฏิบตั ใิ นการเตรยี มพน้ื ที่หอ้ งสมุด และปอ้ งกันโรค ดังน้ี 1.1 จดั โตะ๊ เกา้ อี้ หรือที่นง่ั ให้มกี ารเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร และจดั ทำ สญั ลักษณแ์ สดงจดุ ตำแหน่งการน่ังอย่างชดั เจน และมีฉากก้ันระหวา่ งทีน่ งั่ ทุกโตะ๊ 1.2 จัดให้มีการระบายอากาศทดี่ ี ให้อากาศถ่ายเท เชน่ เปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง กรณถี า้ จำเปน็ ต้องใช้ เคร่อื งปรับอากาศ มีการกำหนดช่วงเวลาเปิด – ปิดเครื่องปรบั อากาศทกุ 2 ชั่วโมง เปิดประตู หน้าตา่ ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง และทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ 1.3 จดั ให้มเี จลแอลกอฮอล์ 70 % ใชท้ ำความสะอาดมือ สำหรบั ครบู รรณารักษ์ เจ้าหน้าทหี่ อ้ งสมุด นักเรยี น และครูผใู้ ชบ้ ริการ บรเิ วณทางเข้าด้านหนา้ และภายในหอ้ งสมุดอยา่ งเพียงพอ และจัดเครื่องวดั อุณหภมู ิไว้บรเิ วณทางเขา้ ด้านหนา้ 1.4 ให้มกี ารทำความสะอาดพื้นผวิ สมั ผสั ของสถานที่ และพืน้ ท่จี ุดสัมผสั รว่ ม เช่น โต๊ะ เกา้ อ้ี อุปกรณ์ ลกู บดิ ทีจ่ ับประตู ช้ันวางหนังสือ เคานเ์ ตอรบ์ ริการ ดว้ ยน้ำยาทำความสะอาด เชน่ แอลกอฮอล์ 70% หรอื โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 0.1% ทุกวัน ๆ ละ 2 คร้งั ก่อนเปดิ ให้บรกิ าร ช่วงเช้า และกอ่ นใหบ้ ริการชว่ งพกั กลางวัน 1.5 มีการกำหนดจำกัดจำนวนผู้ใชบ้ รกิ าร โดยพจิ ารณาให้ไม่มีความแออัด สำหรับผู้เข้าใชบ้ รกิ ารท่มี า เป็นหมู่คณะอาจจัดเป็นรอบเข้าใช้บริการ โดยแบ่งให้เข้าใช้บริการไม่เกินกลุ่มละ 10 คน และให้ นักเรียน และครูผู้ใช้บริการทุกคน สวมหน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้า ขณะใช้บริการห้องสมุด ตลอดเวลา ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลักเกณฑ7การเปด8 โรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 2 1.6 งดให้บริการกรณีพบนักเรียน หรือครูผู้ใช้บริการไม่สามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน ควบคุมโรคเช่น ไม่สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า หรือมีอาการป่วยจากการคัดกรอง ก่อนเขา้ ใชบ้ รกิ าร 1.7 จัดให้มีการสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์เรื่อง COVID-19 สร้างความรู้ความเข้าใจ และแนะนำ แนวทางการปฏิบัติตามมาตรการทางสาธารณสุข ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์รูปแบบต่างๆ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อนักเรียน ครูผู้ใช้บริการ และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด 1.8 ปิดให้บริการพื้นที่บางส่วน เช่น ชั้นหนังสือ ชั้นวารสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นการชั่วคราว โดยให้นักเรียน และครูผู้ใช้บริการแจ้งความประสงค์หนังสือ หรือวารสารที่ต้องการแก่เจ้าหน้าท่ี และเจา้ หน้าท่จี ะทำการหยบิ ตวั เล่มนน้ั ให้ผใู้ ช้บริการ 1.9 ให้มีการกักตัวหนังสือท่ีผู้ใช้บริการนำมาคืนห้องสมุดบนชั้นแยกอย่างต่ำ 14 วัน ภายใน อุณหภูมิห้อง เพื่อลดเชื้อจากหนังสือ ซึ่งเป็นวิธีท่ีไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อหนังสือ ควรสวมถุงมือเมื่อ เคลื่อนย้ายหนังสือหรือสื่อของห้องสมุดเข้าสู่การพัก และถอดถุงมือน้ัน ออกทันทีหลังจากเสร็จงานเพื่อไม่ให้ สัมผัสกับสิ่งอื่นๆ โดยไม่ตั้งใจ หลังจากนั้นควรล้างมือด้วย สบหู่ รือเจลแอลกอฮอลเ์ ปน็ เวลา 20 วนิ าที 1.10 ครบู รรณารกั ษ์ และเจา้ หนา้ ทหี่ ้องสมดุ ทกุ คนตอ้ งสวมหนา้ กากอนามัยหรอื หน้ากากผา้ ตลอดเวลา และให้รกั ษาระยะหา่ งระหวา่ งผู้ใชบ้ ริการ และเจา้ หน้าท่ีอย่างนอ้ ย 1-2 เมตร 1.11 เจา้ หนา้ ท่ที ุกคนควรล้างมือดว้ ยสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์ 70% ทงั้ กอ่ น ระหวา่ ง และ หลงั ให้บริการทุกครงั้ 2. แนวปฏบิ ตั ใิ นการเขา้ ใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ มีแนวปฏบิ ตั ิ ดังน้ี 2.1 สวมหน้ากากอนามยั ทุกครัง้ เมอื่ มาใช้บริการหอ้ งสมุด 2.2 ตรวจวดั อณุ หภูมริ ่างกายผมู้ าใชบ้ ริการ ณ จุดคดั กรองกอ่ นเขา้ พน้ื ทหี่ ้องสมุด ซึ่งมี 2 กรณี - ถ้าวัดอณุ หภมู แิ ลว้ พบวา่ ตำ่ กว่า 37.5 องศา สามารถเข้าใชบ้ รกิ ารห้องสมุดได้ - ถ้าสูงกวา่ หรอื เท่ากับ 37.5 องศา ขอความรว่ มมืองดเข้าใช้บรกิ ารห้องสมุด และควรไป พบแพทยห์ รอื อยู่แต่ภายในบา้ นเพอื่ สังเกตอาการ 2.3 ลา้ งมือดว้ ยเจลแอลกอฮอล์ 70% ณ จุดคัดกรองและจดุ ต่าง ๆ ภายในหอ้ งสมุด 2.4 ลงชอื่ เข้าใช้บริการห้องสมุด เพ่อื เกบ็ ข้อมลู คดั กรองคนเข้าใช้บริการ โดยจดั ให้มกี ารบันทกึ ชื่อ เบอรโ์ ทร วนั เวลาของผู้มาใชบ้ รกิ ารทุกคนเพ่อื ให้สามารถติดตามตวั ได้กรณี ตอ้ งมกี ารสอบสวนโรค และใช้แอปพลิเคชันไทยชนะ 2.5 รกั ษาระยะห่างระหวา่ งบุคคลอยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร ทกุ กิจกรรมในห้องสมุด ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลักเกณฑก7 ารเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 3 การเตรยี มจดั โตะ- เก0าอ้ี หรือที่น่งั ใหม0 กี ารเว0นระยะห;างระหว;างบุคคล อยา; งน0อย 1 - 2 เมตร และจัดทำสัญลักษณแI สดงจดุ ตำแหนง; การนง่ั อยา; งชดั เจน และมฉี ากก้นั ระหวา; งทน่ี ง่ั ทุกโตะ- ในหอ0 งสมดุ มัธยมศึกษา และแผนก English Program อาคารหน่งึ ศควรรษคณะพระหฤทัย ชั้น 3 การเตรียมจัดโตะ- เก0าอี้ หรือที่นงั่ ใหม0 กี ารเวน0 ระยะหา; งระหวา; งบคุ คล อย;างนอ0 ย 1 - 2 เมตร และจัดทำสญั ลกั ษณแI สดงจดุ ตำแหนง; การนงั่ อย;างชดั เจน และมีฉากกน้ั ระหวา; งท่ีนั่งทุกโตะ- ในหอ0 งสมดุ ประถมศึกษา อาคารสวุ รรณสมโภช รศ.200 ชน้ั 3 ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมินความพร.อมตามหลกั เกณฑ7การเป8ดโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 4 1.1.2 หอ้ งประชุม/หอประชมุ Æ แนวปฏบิ ตั หิ รือแผนดำเนินการของโรงเรยี นในการเตรยี มพน้ื ที่และการใชห้ อ้ งประชมุ / หอประชมุ ดงั น้ี 1. กําหนดระเบยี บการใช้ห้องประชมุ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และแจง้ ใหผ้ ู้เกย่ี วขอ้ งทราบ 1.1 จดั ให้มกี ารคัดกรองตรวจวัดอุณหภูมิรา่ งกายก่อนเข้าหอ้ งประชุม หอประชุม หากพบผู้มีอาการ ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจบ็ คอหายใจลาํ บาก เหนื่อยหอบ ไมไ่ ดก้ ล่ิน ไมร่ รู้ ส แจง้ งดรว่ มประชมุ และ แนะนาํ ให้ไปพบแพทยท์ ันที 1.2 การจดั โต๊ะ เกา้ อ้ี หรือที่นั่ง ใหก้ ารเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล 1 – 2 เมตร 1.3 ผู้เขา้ ประชมุ ทกุ คนสวมหน้ากากอนามยั หรอื หนา้ กากผ้าขณะประชุมตลอดเวลา 1.4 จัดให้มีเจลแอลกอฮอลใ์ ชท้ าํ ความสะอาดมือสําหรับผเู้ ขา้ ประชมุ บริเวณทางเข้าภายในอาคาร หอประชุม บริเวณทางเขา้ ด้านหนา้ และด้านในของหอ้ งประชมุ อยา่ งเพียงพอและท่ัวถึง 1.5 งดหรือหลีกเลีย่ งการให้บรกิ ารอาหารและเครื่องด่ืมภายในห้องประชมุ 2. ให้มีการทาํ ความสะอาดโตะ๊ เก้าอี้ อปุ กรณ์ และจุดสัมผสั เส่ยี งร่วม เช่น ลูกบิดประตู รีโมท อุปกรณ์ ส่ือต่างๆ กอ่ นและหลังใชห้ ้องประชุมทกุ ครงั้ 3. จดั ใหม้ ีการระบายอากาศที่ดี ใหอ้ ากาศถ่ายเท เชน่ เปดิ ประตู หนา้ ต่าง กอ่ นและหลังใช้ห้องประชุม ทกุ ครง้ั หากจําเปน็ ต้องใช้เครือ่ งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปิด-ปิด เครอ่ื งปรบั อากาศ เปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ และทําความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ 4. งดหรอื หลกี เลีย่ งการให้บริการอาหารและเครอ่ื งดื่มภายในห้องประชุม/หอประชุมทกุ กรณี การจดั เตรียมห0องประชมุ หกทศวรรษ อาคารสริ นิ เทพ ชั้น 1 ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลักเกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 5 หอประชุม 3 การใช0เกา0 อี้น่งั โดยเว0นระยะหา; งแถวเว0นแถว อาคารสริ ินเทพ ช้ัน 2 หอประชุม 1 อาคารพระแม;เจา0 แห;งสนั ติภาพ ช้นั 1 ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมินความพร.อมตามหลกั เกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 6 1.1.3 โรงยมิ /สนามกฬี า (ลานหทยั นิรมล) Æ แนวปฏิบัติหรือแผนดำเนนิ การของโรงเรยี นในการเตรยี มพ้นื ท่ีและการใช้ ลานหทัยนริ มล ดังนี้ 1. ลดความแออัด อาจจดั ให้เลน่ กฬี าเป็นรอบ เหล่ือมเวลาหรอื มีการเวน้ ระยะหา่ ง ระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร 2. จดั ให้มีเจลแอลกอฮอล์ใชท้ าํ ความสะอาดมอื สําหรับนักกฬี าและผู้มาใชบ้ ริการบริเวณทางเข้า และ บรเิ วณดา้ นในอาคารอยา่ งเพยี งพอและทั่วถงึ 3. ทําความสะอาดอุปกรณแ์ ละเครื่องเล่นแตล่ ะชนดิ ก่อนหรือหลงั เลน่ ทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 ครงั้ 4. จดั ให้มกี ารระบายอากาศให้อากาศถ่ายเท เชน่ เปิดประตูหน้าตา่ ง เปิด พัดลม 5. จํากัดจํานวนคนจาํ นวนเวลาในการเล่นกฬี าหรือกจิ กรรมภายในอาคาร โรงยิมหรือสนามกีฬา 6. หลกี เลยี่ งการจดั กจิ กรรมหรอื เลน่ กฬี าประเภทแขง่ ขนั เปน็ ทีม หรือทม่ี ีการปะทะกัน อย่างรุนแรง เชน่ วอลเลย์บอล ฟตุ ซอล บาสเกตบอล เปน็ ตน้ 7. งดการนำอาหาร ขนม และเครอ่ื งด่มื เขา้ มารบั ประทานภายในลานกฬี า ลานหทัยนิรมล 8. ทาํ ความสะอาดพนื้ ผวิ สมั ผัสต่างๆ เชน่ ถูพ้นื หลังเลิกเรยี นทุกวัน การจัดเตรียมโรงยิม/สนามกฬี า (ลานหทยั นริ มล)โดยใชส0 ัญลกั ษณIการเว0นระยะหา; งติดทีพ่ ื้น 1.5 เมตร การจดั เตรยี มโรงยมิ /สนามกฬี า (ลานหทัยนิรมล)โดยใชส0 ัญลกั ษณกI ารเวน0 ระยะห;างติดทีพ่ ้นื 1.5 เมตร ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 7 1.1.4 สถานท่แี ปรงฟนั Æ แนวปฏิบัติหรอื แผนดำเนนิ การของโรงเรยี นในการเตรยี มพนื้ ที่ และการใชส้ ถานที่ แปรงฟนั ดังนี้ 1. การจดั เตรียมวัสดอุ ปุ กรณ์การแปรงฟัน 1.1 แปรงสีฟัน 1.1.1 นกั เรียนทุกคนมแี ปรงสฟี ันเปน็ ของตนเอง ห้ามใชแ้ ปรงสีฟันและยาสีฟนั ร่วมกัน 1.1.2 จดั ทำสัญลกั ษณห์ รอื เขียนชอื่ บนแปรงสีฟนั ของแต่ละคน เพอื่ ให้รวู้ า่ เปน็ แปรงสฟี ันของ ใครป้องกนั การหยิบของผู้อน่ื ไปใช้ 1.1.3 ให้นกั เรียนเปลีย่ นแปรงสฟี นั ทกุ 3 เดือน เมอ่ื แปรงสฟี ันเส่ือมคุณภาพ โดยสังเกต ดังน้ี 1. บริเวณหัวแปรงสีฟันมคี ราบสกปรกตดิ ค้างล้างได้ยาก 2. ขนแปรงสฟี ันบานแสดงวา่ ขนแปรงเสอื่ มคณุ ภาพใช้แปรงฟนั ได้ไมส่ ะอาด และ อาจกระแทกเหงอื กให้เปน็ แผลได้ 3. จดั ให้นกั เรียนทุกคนมียาสฟี นั เปน็ ของตนเอง และเลือกใชย้ าสีฟนั ผสมฟลอู อไรด์ ซ่งึ มปี ริมาณฟลูออไรด์ 1,000-1,500 ppm. (มลิ ลกิ รมั /ลิตร) เพ่ือป้องกนั ฟันผุ 4. จดั ให้นักเรยี นทุกคนมีแก้วนำ้ ส่วนตวั เป็นของตนเอง จาํ นวน 2 ใบ 5. จัดให้นักเรยี นทกุ คนมผี า้ เชด็ หน้าสว่ นตัว สาํ หรับใช้เชด็ ทําความสะอาดบริเวณ ใบหน้าพร้อมซักและเปล่ยี นใหม่ทุกวัน 1.2 การเก็บอุปกรณแ์ ปรงสฟี ัน 1.2.1 เก็บแปรงสีฟันในบรเิ วณท่มี อี ากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่อบั ช้นื และปลอดจากแมลง 1.2.2 จดั ทําทเี่ กบ็ แปรงสฟี ัน แก้วน้ำ โดยเก็บของนักเรียนแต่ละคนแยกจากกนั ไม่ปะปนกนั เว้นทใ่ี ห้มีระยะห่างเพียงพอทีจ่ ะไมใ่ หแ้ ปรงสีฟันสัมผสั กนั เพื่อปอ้ งกันการแพรร่ ะบาด ของโรคโควดิ 19 และควรวางหวั ของแปรงสฟี นั ตงั้ ขน้ึ เพอ่ื ป้องกันไม่ใหน้ ำ้ ทค่ี า้ งตาม ดา้ มแปรงสฟี นั หยดลงใส่หวั แปรงสีฟัน 1.3 การจดั กจิ กรรมแปรงฟนั หลงั อาหารกลางวัน โดยครปู ระจําชัน้ ดูแล และจดั ให้มีกิจกรรมการแปรงฟันในหอ้ งเรียนให้นกั เรียนทกุ คนแปรงฟนั หลงั อาหารกลางวนั ทุกวนั อยา่ งสม่ำเสมอ โดยหลกี เลีย่ งการรวมกล่มุ และเว้นระยะห่างในการแปรงฟนั 1.3.1 จัดให้นักเรยี นแปรงฟนั ในหอ้ งเรียนโดยน่งั ท่ีโตะ๊ เรยี นเพ่ือปอ้ งกันการแพรก่ ระจายของ นำ้ ลาย ละอองน้ำหรือเช้ือโรคสู่ผู้อืน่ กรณีห้องเรยี นแออดั ให้เหลือ่ มเวลาในการแปรงฟัน 1.3.2 ก่อนการแปรงฟันทุกครง้ั ให้ล้างมอื ดว้ ยสบแู่ ละน้ำเสมอเป็นเวลาอยา่ งนอ้ ย 20 วนิ าที หรอื เจลแอลกอฮอล์ที่มคี วามเข้มขน้ 70% หลกี เล่ียงการรวมกลุ่มและเว้นระยะห่าง ระหวา่ งบคุ คลอยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร 1.3.3 ครปู ระจําช้ันเทน้ำให้นกั เรยี นใส่แก้วนำ้ ใบที่ 1 ประมาณ 1/3 แกว้ (ประมาณ 15 ml.) 1.3.4 นักเรียนนั่งทโ่ี ตะ๊ เรยี น แปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลอู อไรด์ ครอบคลุมทกุ ซ่ีทุกด้าน ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเปด8 โรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 8 นานอยา่ งน้อย 2 นาทีเม่อื แปรงฟนั เสร็จแลว้ ให้บ้วนยาสฟี ัน และนำ้ สะอาดลง ในแกว้ นำ้ ใบที่ 2 เช็ดปากให้เรยี บร้อย 1.3.5 นกั เรียนทุกคนนาํ นำ้ ทใ่ี ช้แล้วจากแก้วใบท่ี 2 เทรวมใส่ภาชนะท่ีเตรียมไวแ้ ละให้ครู ประจาํ ชน้ั นาํ ไปเทท้ิงในที่ระบายน้ำของสถานศกึ ษา หา้ มเทลงพนื้ ดนิ 1.3.6 นักเรียนนาํ แปรงสีฟนั และแก้วนำ้ ไปล้างทําความสะอาด และนํากลับมาเก็บให้ เรียบรอ้ ย หลีกเล่ียงการรวมกลุ่ม และเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร 1.3.7 มีการตรวจความสะอาดฟนั หลงั การแปรงฟนั ดว้ ยตนเองทกุ วัน โดยอาจมีกระจก ของตัวเองในการตรวจดูความสะอาด เสริมดว้ ยกิจกรรมการย้อมสฟี ันอย่างน้อย ภาคเรียนละ 2 ครง้ั ที่เก็บแปรงสฟี นl ตามเลขที่ของเด็ก 1.1.5 สระน้ำ Æ โรงเรยี นหลีกเลย่ี งหรืองดการจดั การเรียนการสอนในสระวายนำ้ Æ 1.1.6 สนามเดก็ เล่น Æ แนวปฏิบัตหิ รือแผนดำเนินการของโรงเรียนในการเตรยี มพืน้ ท่ี และการใช้สนาม เดก็ เล่น ดังน้ี 1. จดั ให้มีการทาํ ความสะอาดเครื่องเลน่ และอปุ กรณ์การเลน่ ทุกวันอยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 ครั้ง ทําความสะอาดด้วยนำ้ ยาทําความสะอาดตามคําแนะนําของผลติ ภณั ฑ์ 2. จดั เครอื่ งเลน่ อปุ กรณ์การเลน่ และนักเรียน ให้มีการเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร และกาํ กบั ดแู ลให้เดก็ สวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาการเล่น 3. จาํ กดั จํานวนคนจาํ กดั เวลาการเล่นในสนามเด็กเลน่ โดยอยู่ในความควบคมุ ดแู ลของครใู น ชว่ งเวลาพกั เทีย่ งและหลังเลิกเรียน 4. ให้นกั เรียนลา้ งมือด้วยสบแู่ ละน้ำหรือเจลแอลกอฮอล์ใช้ทําความสะอาดมือกอ่ นและหลังการ เล่นทกุ คร้งั ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเปด8 โรงเรียนพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 9 สนามเดก็ เลน; และลานกจิ กรรมอนุบาล ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 10 1.1.7 ห้องสว้ ม Æ แนวปฏิบัติหรือแผนดำเนินการของโรงเรียนในการเตรียมพื้นที่ และการใช้ห้องส้วม ดังน้ี 1. มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ทำความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ำยาทําความสะอาด หรือน้ำยาฟอก ขาว อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้ำ ไม้ถูพื้น คีบด้ามยาวสําหรับเก็บขยะ ผ้าเช็ดทําความสะอาด และอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลที่เหมาะสมกับการปฏิบัตงิ านของพนกั งาน เชน่ ถุงมอื หน้ากากผา้ เสอ้ื ผ้าทีจ่ ะนํามาเปลยี่ นหลงั ทําความสะอาด 2. มีการทําความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ด้วยน้ำยาทําความสะอาดทั่วไป พื้นห้องส้วม ให้ฆ่าเชื้อโดยใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ โดยนํามาผสม กับน้ำเพื่อให้ได้ความเข้มข้น 0.1% หรือ 1000 ส่วนในล้านส่วนหรือผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสม ของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์โดยนํามาผสมกับน้ำ เพื่อให้ได้ความเข้มข้น 0.5% หรือ 5000 ส่วนใน ล้านส่วน ราดน้ำยาฆ่าเชื้อ ทิ้งไว้อย่างน้อย 10 นาทีเน้นเช็ดบริเวณที่รองนั่งโถส้วม ฝาปิดโถส้วม ที่กดชักโครก สายสาระ ราวจับ ลูกบิดหรือกลอนประตูที่แขวน กระดาษชําระ อ่างล้างมือ ขันน้ำ ก๊อกน้ำ ที่วางสบู่ผนัง ซอกประตูด้วยผ้าชุบน้ำยาฟอกขาวหรือใช้แอลกอฮอล์70% หรือ ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% 3. หลงั ทําความสะอาด นำซักผา้ เชด็ ทาํ ความสะอาด และไม้ถูพน้ื ด้วยนำ้ ผสมผงซักฟอกหรอื นำ้ ยา ฆ่าเชอื้ แลว้ ซกั ดว้ ยนำ้ สะอาดอีกครง้ั และนาํ ไปผึง่ แดดให้แหง้ ห0องส0วมชาย ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑก7 ารเปด8 โรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 11 ห0องส0วมหญิง 1.1.8 หอ้ งพยาบาล Æ แนวปฏิบัติหรือแผนดำเนินการของโรงเรียนในการเตรียมพื้นที่ และการใช้ ห้องพยาบาล ดงั นี้ 1. จัดให้มีพื้นที่หรือห้องแยกอย่างชัดเจน ระหว่างนักเรียนป่วยจากอาการไข้หวัดกับนักเรียนป่วย จากสาเหตุอ่นื ๆ เพื่อปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเช้ือโรค ดงั นี้ - ระดับปฐมวยั ทีห่ อ้ งพยาบาลอนุบาล อาคารสวุ รรณสมโภช รศ.200 ชั้น 2 - ระดบั ประถมศกึ ษา ทห่ี อ้ งพยาบาลประถม อาคารพระแม่เจา้ แห่งสันติภาพ ชนั้ 1 - ระดับมธั ยมศกึ ษา ท่หี ้องพยาบาลมธั ยม อาคารสิรนิ เทพ ชัน้ 4 - English Program (EP) ทห่ี ้องพยาบาล EP อาคารหนึง่ ศตวรรษคณะพระหฤทัย ช้ัน 5 - หอ้ งพกั คอยสำหรบั School Isolation Zone อาคารคณุ พอ่ ปิโอ ดา้ นหนา้ โรงเรียน ชั้น 2 2. จัดพยาบาลวิชาชีพประจำห้องพยาบาลของโรงเรียน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ดูแลนักเรียนให้ ได้รบั บริการสุขภาพ ข้นั พ้ืนฐานอย่างทั่วถงึ 3. ทําความสะอาดเตียงและอุปกรณ์ของใช้ทุกวัน เช่น ปลอกหมอน ผ้าห่ม ผ้าปูที่นอน และ จัดเตรยี มสาํ รองไว้ สําหรบั เปล่ยี นทนั ทกี อ่ นท่ีจะมีผ้ปู ว่ ยคนใหม่มานอนโดยไม่มีการใชซ้ ้ำ 4. จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใชท้ าํ ความสะอาดมอื บริเวณทางเขา้ หน้าประตู และภายในหอ้ ง พยาบาลอยา่ งเพียงพอ 5. จัดเตรียมอปุ กรณค์ ดั กรอง เชน่ เครอื่ งมือวัดอุณหภมู ริ า่ งกายทางหนา้ ผากแบบมอื ถอื ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑก7 ารเป8ดโรงเรียนพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 12 6. จดั เตรยี มสํารองหนา้ กากอนามยั เมอ่ื ความจาํ เปน็ สำหรบั มกี ารรอ้ งขอจากครู บคุ ลากร และ นักเรียนกรณีท่ลี มื หรอื ตอ้ งการเปลยี่ น 7. มกี ารจดบนั ทึก และตดิ ตามข้อมูลอาการของนักเรยี น และสรปุ รายงานต่อหัวหน้าฝา่ ยอาคาร สถานท่แี ละบริการทกุ สปั ดาห์ หอ0 งพยาบาลเด็กอนบุ าล อาคารสวุ รรณสมโภช รศ.200 ช้นั 2 หอ0 งพยาบาลนักเรียนประถม อาคารพระแม;เจา0 แห;งสนั ติภาพ ชนั้ 1 หอ0 งพยาบาลนักเรียนมัธยม อาคารสริ นิ เทพ ชั้น 4 ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลักเกณฑก7 ารเปด8 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 13 ห0องพยาบาลนกั เรียนEP อาคารหนึง่ ศตวรรษคณะพระหฤทยั ช้นั 5 ห0องพกั คอย School Isolation Zone อาคารบา0 นคณุ พอ; ปโu อ ชั้น 2 ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเปด8 โรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 14 1.1.9 โรงอาหาร Æ แนวปฏิบตั หิ รอื แผนดำเนินการของโรงเรียนในการเตรียมพ้ืนท่ี และการใช้ โรงอาหาร ดังนี้ การจดั บริการภายในโรงอาหาร การน่งั กนิ อาหารร่วมกนั ของผใู้ ชบ้ รกิ าร รวมถงึ อาหารภาชนะ อปุ กรณต์ ู้กดนำ้ ดมื่ ระบบกรองนำ้ และผู้สัมผสั อาหาร อาจเป็นแหลง่ แพรก่ ระจายเชื้อโรคจงึ ควรมีการ ดูแลเพอื่ ลดและป้องกนั การแพร่กระจายเชื้อโรค ดังนี้ 1.1.9.1 หนว่ ยงานที่จดั บรกิ ารโรงอาหาร กําหนดมาตรการการปฏบิ ัติ ให้สถานท่สี ะอาดถกู สุขลกั ษณะ ดังนี้ 1) จัดให้มีอา่ งลา้ งมือพรอ้ มสบ่สู ําหรับให้บริการแกผ่ ู้เขา้ มาใชบ้ ริการโรงอาหารบริเวณ ก่อนทางเขา้ โรงอาหาร 2) ทกุ คนทีจ่ ะเขา้ มาในโรงอาหารต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย 3) จดั ทําสัญลกั ษณใ์ หม้ กี ารเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร ในพืน้ ทตี่ ่างๆ เชน่ ทรี่ ับประทานอาหาร จุดรบั อาหาร จดุ รอคิวซอ้ื อาหาร จดุ คืน ถว้ ย จานอาหาร จดุ ปฏบิ ตั ิงานร่วมกนั ของผู้สัมผสั อาหาร 4) จัดเหล่ือมช่วงเวลาซือ้ และกินอาหารเพ่ือลดความแออัดพ้นื ท่ภี ายใน โรงอาหาร 5) ทาํ ความสะอาดสถานทีป่ รงุ ประกอบอาหาร พนื้ ทตี่ ้งั ตู้กดนำ้ ดม่ื และพน้ื ทบี่ รเิ วณทีน่ ั่ง กนิ อาหารให้สะอาดด้วยนำ้ ยาทาํ ความสะอาดหรือผงซกั ฟอกและจัดให้มกี ารฆ่าเช้ือ ดว้ ย โซเดียมไฮโปคลอไรท์(นำ้ ยาฟอกขาว) ท่ีมคี วามเขม้ ข้น 1,000 ส่วนในลา้ นส่วน (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6% อตั ราสว่ น 1 ช้อนโต๊ะต่อนำ้ 1 ลิตร) 6) ทําความสะอาดโต๊ะและทน่ี ัง่ ให้สะอาดสําหรบั น่งั กนิ อาหารด้วยน้ำยาทําความสะอาด หรือจัดให้มกี ารฆ่าเชอื้ ด้วยแอลกอฮอล์ 70% โดยหยดแอลกอฮอลล์ งบนผ้าสะอาด พอหมาดๆ เช็ดไปในทศิ ทางเดยี วกนั หลงั จากผู้ใช้บริการทกุ ครงั้ 7) ทาํ ความสะอาดภาชนะอปุ กรณ์และเครอื่ งใช้ให้สะอาดดว้ ยน้ำยาล้างจานและให้มีการ ฆา่ เช้อื ดว้ ยการแช่ในนำ้ ร้อน 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 วนิ าทหี รือแช่ดว้ ย โซเดียมไฮโปคลอไรท์(น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเขม้ ข้น 100 สว่ นในลา้ นสว่ น (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6% อตั ราส่วนคร่ึงช้อนชาตอ่ น้ำ 1 ลิตร) 1 นาทีแล้วล่างนำ้ ให้สะอาดและอบหรอื ผึง่ ให้แหง้ ก่อนนําไปใช้ใสอ่ าหาร 8) ทาํ ความสะอาดตู้กดนำ้ ดืม่ ภายในตู้ถังน้ำเยน็ อยา่ งนอ้ ยเดอื น ละ 1 คร้ัง เช็ด ภายนอกตู้และกอ๊ กนำ้ ดมื่ ให้สะอาดทุกวนั และฆ่าเช้อื ด้วยการแช่ โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (นำ้ ยาฟอกขาว) ท่ีมีความเขม้ ขน้ 100 ส่วนในล้านสว่ น เปน็ เวลา 30 นาทที กุ ครงั้ กอ่ นบรรจนุ ้ำใหม่ กรณีทม่ี ีเครื่องกรองน้ำ ควรทําความสะอาด ด้วยการลา้ งยอ้ น (Backwash) ทุกสัปดาหแ์ ละเปลย่ี นไส้กรอง ตามระยะเวลากาํ หนด ของผลติ ภณั ฑ์ และตรวจเช็คความชาํ รุดเสียหายของระบบ ไฟฟา้ ท่ีใชส้ ายดิน ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลกั เกณฑก7 ารเปด8 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 15 ตรวจเชค็ ไฟฟา้ รัว่ ตามจุดต่างๆ โดยเฉพาะบริเวณกอ๊ กนำ้ ทถี่ อื เปน็ จุดเส่ียง เพ่อื ป้องกนั ไฟฟา้ ดูดขณะใช้งาน 9) จดั บรกิ ารอาหาร เนน้ ปอ้ งกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค เช่น อาหารปรงสุ าํ เร็จสกุ ใหม่ ทกุ คร้งั การปกปดิ อาหารปรงุ สําเรจ็ การใช้ภาชนะทีเ่ หมาะสมกับประเภทอาหารและ จดั ให้มีภาชนะอุปกรณ์สำหรับการกนิ อาหารอย่างเพยี งพอเปน็ รายบคุ คล เชน่ จาม ถาดหลุม ชอ้ นส้อม แกว้ นำ้ เปน็ ตน้ 10) ประชาสัมพันธใ์ ห้ความรภู้ ายในโรงอาหาร เช่น การสวมหนา้ กากท่ถี กู วธิ ี ขน้ั ตอน การลา้ งมอื ท่ีถูกตอ้ ง การเว้นระยะหา่ งระหว่างงบคุ คล การเลอื กอาหารปรงุ สุกใหม่ สะอาด เป็นต้น 11) กรณีมีการใช้บริการร้านอาหารจากภายนอก จัดสง่ อาหารให้กบั สถานศึกษาควรให้ครู หรอื ผู้รับผดิ ชอบ ตรวจประเมินระบบสขุ าภิบาลอาหารของร้านอาหาร โดยกําหนด ข้อตกลง การจดั สง่ อาหารปรงุ สุกพรอ้ มกินภายใน 2 ชั่วโมง หลังปรุงเสรจ็ และมกี าร ปกปิดอาหารเพอ่ื ปอ้ งกันการปนเป้ือนสิ่งสกปรกลงในอาหาร 12) พิจารณาทางเลอื กให้ผู้ปกครองสามารถเตรียมอาหารกลางวนั (Lunch box) ให้นกั เรียนมารบั ประทานเอง เพอื่ ปอ้ งกนั เช้อื และลดการแพรก่ ระจายเชอ้ื 1.9.1.2 ผู้สมั ผสั อาหาร ตอ้ งดแู ลสขุ ลักษณะส่วนบุคคล มีการปอ้ งกันตนเองและป้องกัน การแพร่กระจายเชือ้ โรค ดังน้ี 1) กรณีพบผู้สัมผสั อาหาร มีอาการปว่ ย ไข้ ไอ มีนำ้ มกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่อื ยหอบ ไมไ่ ด้กลิ่น ไม่รรู้ สให้หยดุ ปฏิบัติงาน และนำให้ไปพบแพทย์ทันที 2) ดูแลสุขอนามยั ส่วนบุคคล มกี ารป้องกนั ตนเอง แต่งกายให้สะอาด สวมใส่ผ้ากนั เปอ้ื น และอปุ กรณ์ปอ้ งกันการปนเป้อื นส่อู าหาร ในขณะปฏบิ ัตงิ าน 3) รักษาความสะอาดของมือ ด้วยการลา้ งมือบ่อย ๆ ดว้ ยสบู่และนำ้ ก่อนปฏิบตั งิ าน และขณะเตรียมอาหารประกอบอาหาร และจำหน่ายอาหาร รวมถึงหลงั จากการ จับเหรียญหรือธนบัตร หรอื สมั ผสั สิง่ สกปรก อาจใช้เจลแอลกอฮอลท์ ำความสะอาด มอื รว่ มด้วย หลีกเลีย่ งการใช้มอื สมั ผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น 4) สวมใสห่ นา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัย ตลอดเวลาขณะปฏิบัตงิ าน 5) มพี ฤติกรรมขณะปฏบิ ตั ิงานปอ้ งกันการปนเป้อื นของเช้ือโรค เชน่ ใชอ้ ุปกรณใ์ นการ ปรงุ ประกอบอาหาร เชน่ เขยี ง มดี การหยบิ จับอาหาร แยกระหวา่ งอาหารสกุ อาหารประเภท เนอ้ื สตั วส์ ด ผกั และ ผลไม้ และไม่เตรยี มปรุง ประกอบอาหาร บนพนื้ โดยตรง 6) จดั เมนอู าหารที่จำหนา่ ย โดยเน้นอาหารปรงุ สุกด้วยความรอ้ น โดยเฉพาะเนอ้ื สัตว์ ปรงุ ให้สกุ ดว้ ยความรอ้ นไม่น้อยกวา่ 70 องศาเซลเซยี ส หลกี เลี่ยงการจำหน่ายอาหาร บูดเสยี งา่ ย เชน่ อาหารประเภทกะทิ และอาหารทไี่ ม่ผ่านความรอ้ น เชน่ ซูชิ เปน็ ตน้ 7) อาหารปรุงสำเรจ็ จัดเกบ็ ในภาชนะสะอาด มกี ารปกปดิ อาหารจดั เกบ็ สงู จากพ้นื ไม่ ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลักเกณฑ7การเปด8 โรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 16 นอ้ ยกวา่ 60 เซนตเิ มตร กรณีอาหารปรุงสำเรจ็ รอการจำหนา่ ย ให้นำมาอุน่ ทกุ 2 ชั่วโมง 8) การใช้ภาชนะบรรจอุ าหารแบบใช้คร้งั เดยี วท้งิ ตอ้ งสะอาดมีคุณภาพเหมาะสม กับการ บรรจอุ าหารปรุงสำเรจ็ และไม่ควรใชโ้ ฟมบรรจอุ าหาร 9) ระหว่างการปฏบิ ตั งิ าน ให้มีการเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร 10) เขียน Timeline และประเมนิ TST ทกุ วนั 1.9.1.3 ผู้ท่ีเข้ามาใช้บริการโรงอาหาร ตอ้ งปอ้ งกันตนเองและปอ้ งกนั การแพร่กระจายเช้อื โรค ดังนี้ 1) ล้างมือบอ่ ย ๆ ด้วยสบ่แู ละนำ้ หรอื ใช้เจลแอลกอฮอลท์ ำความสะอาดมอื ทกุ คร้ัง กอ่ นเข้าไปในโรงอาหาร ก่อนกินอาหาร ภายหลงั ซ้ืออาหารหลังจากจบั เหรยี ญหรอื ธนบตั ร หลังจากสมั ผสั สิ่งสกปรกหรือหลังออกจากห้องส้วม 2) ทุกคนตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาที่อยใู่ นโรงอาหารหรือ เข้าไปในสถานทจี่ ำหนา่ ยอาหาร 3) เลือกซื้ออาหารปรุงสำเรจ็ สุกใหม่หลีกเลีย่ งการกนิ อาหารประเภทเนือ้ สตั ว์ เครอ่ื งในสตั วท์ ป่ี รงุ ไม่สกุ และตรวจสอบคณุ ภาพของอาหารทันที เช่น สภาพอาหาร กลนิ่ ความสะอาดและ ความเหมาะสมของภาชนะบรรจุ มกี ารปกปิดอาหารมิดชิด ไม่เลอะเทอะ ไม่ฉกี ขาด เปน็ ต้น 4) ให้มกี ารเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร ในการซอื้ อาหาร ขณะรออาหาร นงั่ กินอาหาร ขณะรอกดนำ้ ดม่ื ห0องอาหาร Canteen อาคารหนึ่งศตวรรษคณะพระหฤทยั ชัน้ 1 ห0องอาหารเสริมสวสั ด์ิ อาคารดวงหทยั นิรมลและอาคารสิรนิ เทพ ช้ัน 1 ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 17 ห0องอาหารจอหนI พอล อาคารจอหนI พอล ชัน้ 1 ห0องอาหารอนุบาล อาคารสวุ รรณสมโภช รศ.200 ช้นั 1 ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลกั เกณฑก7 ารเปด8 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 18 จุดบริการตู0นำ้ ด่มื อาคารหนง่ึ ศตวรรษคณะพระหฤทยั ชน้ั 1 จดุ บริการตน0ู ้ำดมื่ อาคารพระแม;เจา0 แห;งสันตภิ าพ ช้ัน 1 จดุ อ;างลา0 งมอื อาคารสุวรรณสมโภช รศ.200 ชั้น 1 ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเปด8 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 19 จุดอ;างล0างมือ อาคารพระแม;เจ0าแห;งสนั ติภาพ ชัน้ 1 จุดอา; งลา0 งมอื รา0 นกาแฟบรโู น; ช้นั 1 1.1.10 รถรับ-สง่ นกั เรียน Æ แนวปฏบิ ตั ิหรือแผนดำเนนิ การของโรงเรยี นในการเตรียมการและการใช้บริการ รถรบั -ส่งนักเรยี น ดังน้ี 1) คัดกรองตรวจวดั อณุ หภมู ิคนขับรถรับส่งนกั เรยี น และนักเรยี นทกุ คนทใี่ ช้บรกิ าร 2) ทําความสะอาดรถรบั - ส่งนักเรยี นและบริเวณจดุ สัมผสั เสีย่ ง เชน่ ราวจับ ทเ่ี ปิดประตู เบาะนัง่ ทว่ี างแขน ด้วยนำ้ ผสมผงซักฟอก หรอื นำ้ ยาทําความสะอาดทีม่ ีสว่ นผสมของ โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกผา้ ขาว)และปฏบิ ตั ติ ามคําแนะนาํ บนฉลากผลิตภัณฑ์ (เชน่ ผสมโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ความเขม้ ข้น 6% ปรมิ าณ 20 มิลลิลติ ร ตอ่ นำ้ 1 ลิตร) 3) นกั เรียนท่ีใชบ้ ริการรถรบั - สง่ นกั เรยี น ต้องสวมหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาที่อยู่บนรถ ลดการพูดคยุ กัน เล่นหยอกล้อกัน รวมถงึ กําหนดจุดรับ – สง่ นักเรียนสาํ หรับผู้ปกครอง ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลักเกณฑ7การเป8ดโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 20 4) การจัดทนี่ ่ังบนรถรับ - สง่ นักเรียน ควรจัดให้มีการเว้น ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ทั้งนคี้ วรคํานงึ ถึงขนาดพน้ื ทข่ี องรถ จํานวนทนี่ ง่ั พจิ ารณาตาม คุณลักษณะของรถและความเหมาะสม จดั ทําสญั ลักษณ์แสดงจดุ ตําแหน่งชัดเจน โดยยึดหลัก Social distancing อยา่ งเคร่งครดั 5) กอ่ นและหลงั ให้บริการรบั – ส่งนกั เรยี นแตล่ ะรอบทําความสะอาดภายในและภายนอก รถทกุ ครัง้ ควรเปิดหน้าต่าง ประตู ระบายอากาศให้อากาศถา่ ยเทได้สะดวก 6) จดั ให้มีเจลแอลกอฮอลส์ าํ หรบั ใชท้ ําความสะอาดมือบอ่ ย ๆ บนรถรบั – สง่ นักเรยี น 7) ลงทะเบียนบันทึกข้อมลู การใช้บรกิ าร แตล่ ะรอบของนักเรียน เพื่อความรวดเรว็ ใน การสบื สวนโรคของแพทย์หากพบผตู้ ดิ เชือ้ 8) คนขบั รถตจู้ ะนดั แนะกบั นกั เรียนท่นี ั่งรถต้ขู องตนเองอย่างชดั เจนว่าให้มาข้นึ รถท่จี ุดใด 9) สำหรับนักเรยี นอนุบาล-ป.2 คนขับรถจะไปรับนักเรียนตามจดุ ต่าง ๆ ท่ีโรงเรยี นกำหนด เพ่ือมาขน้ึ รถ 1.1.11 หอ้ งนอนเด็กเล็ก Æ แนวปฏิบัติหรือแผนดำเนนิ การของโรงเรียนในการเตรียมการและการใชห้ ้องนอน เด็กเลก็ ดังน้ี 1) ทาํ ความสะอาดเคร่ืองนอน เปลี่ยนผา้ ปทู ่ีนอน ปลอกหมอนและผา้ กนั เปือ้ นทกุ วัน รวมถงึ ทํา ความสะอาดอุปกรณข์ องใช้ ของเลน่ ตู้เกบ็ ของส่วนบุคคล และจดุ สมั ผัสเสีย่ ง เปน็ ประจาํ ทุกวนั 2) จดั ให้มีพน้ื ที่สาํ หรบั การเรียนรขู้ องเด็กรายบุคคล เชน่ เรียนบนเสื่อ ใชส้ ัญลกั ษณแ์ ทนขอบเขต รวมถึงการจัดท่นี อนสําหรบั เด็กต้องเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร 3) มี และใช้ของใช้ส่วนตวั เนน้ ไม่ใชข้ องใชร้ ว่ มกนั เช่น ผา้ กันเปื้อน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเชด็ ตวั แก้วนำ้ 4) จัดให้มเี จลแอลกอฮอลใ์ ชท้ ําความสะอาดมอื สําหรบั ครูและนักเรยี นบริเวณทางเขา้ และภายใน ห้องอย่างเพยี งพอ 5) มีการระบายอากาศทด่ี อี ากาศถา่ ยเทสะดวก เช่น เปิดประตูหน้าตา่ ง กรณีใช้เคร่อื งปรับอากาศ กาํ หนดเวลาเปดิ – ปิดเครอื่ งปรับอากาศและเปดิ ประตู หนา้ ต่าง ให้ระบายอากาศ และต้องทาํ ความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ 6) จัดอปุ กรณก์ ารสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กอย่างเพียงพอ คนละ 1 ชุด 7) อตั ราส่วนของครูหรอื ผู้ดูแลเด็กหรอื พ่เี ลี้ยงตอ่ เดก็ เล็ก 1 : 5 - 8 ในการดแู ลเด็กตลอดทง้ั วัน 1.1.12 จดุ เขา้ แถวเคารพธงชาติ Æ แนวปฏิบตั หิ รอื แผนดำเนนิ การของโรงเรยี นในการเตรยี มการ และการเข้าแถว เคารพธงชาติ ดงั นี้ 1) การจัดพ้ืนทเี่ ข้าแถว ให้มีการเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร กรณีมพี ้นื ที่ จํากัดไม่เพยี งพออาจพจิ ารณาสลบั ชั้นเรยี นมาเขา้ แถวบรวิ ณหน้าเสาธง หรอื จดั ให้มีการเข้า ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลักเกณฑก7 ารเปด8 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 21 แถวบรเิ วณทม่ี พี น้ื ท่ีกว้างขวาง เช่น หนา้ หอ้ งเรยี น ลานเอนกประสงค์ ลานสนามกีฬา โรงยมิ หอประชมุ เปน็ ตน้ 2) ครแู ละนกั เรียนทุกคนตอ้ งสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาการเข้าแถว เคารพธงชาติ 3) ลดระยะเวลาการจดั กิจกรรมหนา้ เสาธงกรณีมกี ารสื่อสารประชาสัมพนั ธโ์ ดยใชช้ ่องทางอ่นื ๆ เช่น เสยี งตามสาย ผ่านออนไลน์ Website Line Facebook E-mail IG Tiktok แจ้งใน ห้องเรียน เปน็ ต้น 4) ทาํ ความสะอาดอุปกรณข์ องใช้หรือจุดสมั ผัสเสี่ยงภายหลงั การใชง้ านทุกครง้ั เชน่ เชือกทใ่ี ช้ ชักธงชาติ ไม่โครโฟน เป็นต้น 1.2 พน้ื ท่ี/อาคารจดั การเรยี นการสอน 1.2.1 หอ้ งเรียน ห้องเรยี นรวม เชน่ ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งดนตรี Æ แนวปฏบิ ัติหรอื แผนดำเนนิ การของโรงเรียนในการเตรยี มพืน้ ทแ่ี ละห้องเรียน ห้องเรยี นรวม เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี ดังนี้ 1) จดั โต๊ะ เกา้ อ้ี หรอื ท่นี ง่ั ให้มีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อยา่ งนอ้ ย 1.5 เมตร โดยคำนึงถึง สภาพบริบทและขนาดพน้ื ท่ี การแบ่งจำนวนนักเรียน หรือการใชพ้ ้นื ทใี่ ชส้ อยบรเิ วณโรงเรียนตาม ความเหมาะสม ท้ังนีอ้ าจพิจารณาวิธปี ฏบิ ัตอิ ่ืนตามบริบทความเหมาะสม โดยยึดหลัก Social distancing (จำนวนนกั เรยี น 25 คน ตอ่ หอ้ งเรียน) 2) จัดให้มกี ารเหลือ่ มเวลาเรยี น การเรียนกลุ่มย่อยหรอื วิธปี ฏิบตั ทิ เ่ี หมาะสมตามบรบิ ทสถานการณ์ และดำเนนิ การให้นกั เรยี นสวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามยั ขณะเรียนตลอดเวลา 3) จัดให้มีการระบายอากาศท่ดี ีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหนา้ ตา่ ง กรณีใช้เครอื่ งปรบั อากาศ กาํ หนดเวลาเปิด – ปดิ เคร่ืองปรบั อากาศ ควรเปดิ ประตูหนา้ ต่างให้ระบายอากาศและทาํ ความ สะอาดอย่างสมำ่ เสมอ 4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาํ ความสะอาดมือสําหรบั นกั เรียนและครใู ช้ประจาํ ทกุ หอ้ งเรียน อย่างเพียงพอ 5) ให้มีการทําความสะอาดโตะ๊ เก้าออ้ี ุปกรณ์และจดุ สมั ผสั เสยี่ ง เชน่ ลกู บิดประตเู ครอ่ื งเล่นของใช้ รว่ มทุกวัน อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 คร้ัง เชา้ ก่อนเรยี นและพักเที่ยง หรือกรณีมกี ารย้ายห้องเรยี น ตอ้ ง ทําความสะอาดโต๊ะ เกา้ อกี้ ่อนและหลังใชง้ านทกุ ครั้ง ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมินความพร.อมตามหลักเกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 22 หอ0 งเรียนอนุบาล จัดเตรยี มโต-ะ เก0าอ้ี หอ0 งละ 25 คน อาคารสุวรรณสมโภช รศ.200 ช้ัน 1 - 2 ห0องเรียนประถมศึกษาปทy ี่ 1 จดั เตรยี มโตะ- เก0าอ้ี หอ0 งละ 25 คน อาคารสวุ รรณสมโภช รศ.200 ช้นั 3 ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลักเกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 23 ห0องเรยี นประถมศกึ ษาปyท่ี 2 จัดเตรียมโตะ- เกา0 อ้ี ห0องละ 25 คน อาคารสุวรรณสมโภช รศ.200 ช้นั 4 ห0องเรยี นประถมศกึ ษาปทy ี่ 3 จดั เตรยี มโตะ- เกา0 อ้ี หอ0 งละ 25 คน อาคารพระแมเ; จา0 แหง; สันติภาพ ช้นั 3 ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลกั เกณฑ7การเป8ดโรงเรียนพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 24 หอ0 งเรียนประถมศกึ ษาปyที่ 6 จดั เตรียมโต-ะ เกา0 อ้ี ห0องละ 25 คน อาคารพระแมเ; จ0าแหง; สนั ตภิ าพ ชนั้ 4 ห0องเรียนมัธยมศกึ ษาปyที่ 1 จดั เตรียมโต-ะ เก0าอี้ หอ0 งละ 25 คน อาคารสริ ินเทพ ช้นั 3 ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลักเกณฑก7 ารเป8ดโรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 25 ห0องเรียนมัธยมศกึ ษาปyที่ 2 จดั เตรียมโต-ะ เก0าอี้ ห0องละ 25 คน อาคารสิรินเทพ ช้นั 4 หอ0 งเรยี นคอมพิวเตอรI อาคารพระแมเ; จ0าแหง; สนั ตภิ าพ ชน้ั 2 ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเปด8 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 26 ห0องเรยี นเปยy โน อาคารสวุ รรณสมโภช รศ.200 ชั้น 2 ห0องเรยี นเปยy โน อาคารสุวรรณสมโภช รศ.200 ช้นั 5 หอ0 งวงโยธวาทติ อาคารหนึ่งศตวรรณคณะพระหฤทยั ชนั้ 2 ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลกั เกณฑก7 ารเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 27 2. ด$านการมสี 1วนร1วม 2.1 จัดให้มกี ารประชมุ หารือร่วมกันของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ครูผู้ปกครอง ผู้นําชุมชน และ มีมติให้ความเหน็ ชอบร่วมกนั ในการจัดพนื้ ทีก่ ารเรยี นการสอนในรปู แบบ Sandbox : Safety Zone in School ตลอดภาคการศกึ ษา Æ แนวปฏบิ ัติหรือแผนดำเนินการของโรงเรยี นในการมีสว่ นร่วม ดงั นี้ 1) จัดประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนเพื่อระดมความคิดในการดำเนินงาน เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2564 โดยที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้โรงเรียนดำเนินการจัดทำเรื่องเพื่อขอเปิด โรงเรยี นในการจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School 2) คณะกรรมการจัดทำมาตรการในการเตรียมความพร้อมการเปิดโรงเรียนเพื่อจัดการเรียน การสอนในภาวการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ประเภทไป-กลับ และประเภทพักนอน ในวันพุธที่ 6 ตลุ าคม 2564 3) จัดประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน เพื่อให้ความเห็นชอบการดำเนินการขอเปิด โรงเรียนเพื่อจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ในวันศกุ ร์ที่ 8 ตลุ าคม 2564 4) คณะกรรมการบริหารโรงเรียนและคณะผู้บริหารโรงเรียน ได้ดำเนินงานประสานในการเปิด โรงเรียนเพื่อจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School จาก องคก์ รท้งั ภาครฐั และเอกชน คณะบคุ คลเพือ่ ดำเนนิ การแบบมีสว่ นร่วม ดงั น้ี 4.1 ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย เพื่อตรวจสุขภาพอนามัย หรือตรวจหาเช้ือ โควิด-19 รวมทั้งจะทำหน้าที่ประสานงานในกรณีที่มีการตรวจพบเชื้อกับโรงพยาบาล โดยเรว็ ทีส่ ดุ 4.2 ผู้ช่วย ส.ส.กรณิศ งามสุคนธ์รัตนา ซึ่งเป็น ส.ส.กรุงเทพมหานคร เขตคลองเตย- วัฒนา เพื่อส่งเจ้าหน้า/พยาบาล มาสาธิตการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ให้กับคณะครู และผู้ปกครอง รวมทั้งในวันเปิดเรียนจัดส่งเจ้าหน้าที่/พยาบาล/นายแพทย์ มาตรวจหาเชือ้ โควิด-19 และจะดำเนนิ การส่มุ ตรวจตามระบบอยา่ งตอ่ เน่ือง 4.3 สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ ให้ความร่วมมือในการจัดวิทยากรให้ การอบรมหรือประชุมปฏิบัติการให้แก่คณะครู ผู้ปกครอง ในการดูแลรักษาสุขภาพให้ หา่ งไกลจากเช้อื โควดิ -19 4.4 สมาคมผู้ปกครอง นักเรียน และครูโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ ให้การสนับสนุนใน เรื่องตา่ ง ๆ ที่โรงเรยี นร้องขออย่างเร่งด่วนและทันที 4.5 ผู้ปกครองนักเรียน ให้การสนับสนุนในการดูแลบุตร ให้ห่างไกลจากการแพร่ระบาด ของเช้ือโควดิ -19 4.6 คณะกรรมการบริหารโรงเรียนจะทำหน้าที่ติดต่อประสานงานการจัดซื้อชุดตรวจ ATK ในราคาประหยัดและมคี ณุ ภาพ ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลักเกณฑก7 ารเป8ดโรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 28 คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นรEวมประชุมระดมความคดิ เหน็ ผEานระบบ Zoom School Isolation (แยกชาย - หญิง) ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลกั เกณฑ7การเปด8 โรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 29 3. ดา$ นการประเมนิ ความพร$อมสู1การปฏิบตั ิ 3.1 โรงเรยี น หรือสถานศึกษา Æ แนวปฏิบตั หิ รือแผนดำเนินการของโรงเรยี น ดังนี้ 3.1.1 โรงเรียนพระหฤทยั คอนแวนต์ได้ผา่ นการประเมินตนเองเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเปิด ภาคเรยี นตามแบบประเมินตนเองในรูปแบบของ Digital Platform ผ่านระบบ Thai Stop COVID Plus (TSCบวก) กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ เมอื่ วนั ที่ 23 เมษายน 2564 รายงานผลการประเมนิ คะแนนเตม็ : 44 คะแนน คะแนนท่ีได้ : 44 คะแนน ระดบั : สีเขียว 3.1.2 จดั ให้มีสถานทีแ่ ยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) สําหรับการดแู ลรกั ษาเบอ้ื งต้น กรณนี ักเรยี น ครูหรือบุคลากรในสถานศึกษามกี ารตดิ เช้อื โควดิ -19 หรือผลตรวจ ATK เปน็ บวกรวมถงึ มแี ผนเผชิญเหตุ และมคี วามรว่ มมือกับสถานพยาบาลเครือขา่ ยในพ้นื ท่ี ทดี่ ูแลอย่างใกล้ชิดตามรายละเอียด ดังน้ี 1) จัดอบรม ให้ความรู้ และขั้นตอนการดำเนนิ งานสำหรบั ครู บุคลากรทุกคนเกีย่ วกบั แผนเผชิญเหตุ 2) แตง่ ตง้ั คณะทำงานแผนเผชิญเหตุ 3) ฝกึ ซอ้ มคณะทำงานแผนเผชิญเหตุ ให้ดำเนนิ การตามแผนเชญิ เหตุ กรณที ีผ่ ลตรวจ ATK ของนักเรยี น ครู และบุคลากร เป็นบวก โรงเรยี นจะดำเนนิ การตามข้ันตอนตาม แผนเผชญิ เหตุ คือ ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลักเกณฑก7 ารเป8ดโรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 30 3.1) เมอื่ พบนักเรยี น ครู และบุคลากรที่มีผลการตรวจ ATK เป็นบวก คณะทำงาน แผนเผชญิ เหตจุ ะใสช่ ุด PPE และนำครู บคุ ลากร หรือนักเรยี นไปยงั ห้อง School Isolation (แยกชาย - หญงิ ) 3.2) หวั หนา้ คณะทำงานแผนเผชญิ เหตุจะติดตอ่ เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ เขตคลองเตย เพ่ือมารบั ผู้ป่วยไปรักษายงั โรงพยาบาลในอันดบั ต่อไป 3.3) คณะทำงานแผนเผชิญเหตุจะแจง้ ให้ผปู้ กครองรบั ทราบ 3.4) คณะทำงานแผนเผชิญเหตุจะดแู ลนกั เรียนจนกว่าทางเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสขุ เขตคลองเตย และโรงพยาบาลจะมารับนักเรียนไปรักษาตอ่ 3.5) คณะทำงานแผนเผชญิ เหตจุ ะติดตามข้อมลู ผลการรกั ษาของนักเรียนท่ีมี ผลการตรวจ ATK เป็นบวก 4) โรงเรียนจะดำเนินการปดิ ห้องเรยี นทนี่ กั เรยี นผลการตรวจ ATK เป็นบวก และห้องเรยี น ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับนักเรยี นท่มี ผี ลการตรวจ ATK เป็นบวก กกั ตัวเป็นเวลา 14 วนั เพือ่ เฝ้าระวงั 5) ครูที่เข้าสอนในวันที่ผลการตรวจ ATK ของนักเรียนในห้องนั้นเป็นบวก ครูต้องกักตัวเป็น เวลา 14 วัน 6) พ่นยาฆ่าเชือ้ ท่วั บริเวณโรงเรยี น หอ. ง School Isolation (แยกชาย - หญิง) อาคารบ.านคุณพอE ชนั้ 2 3.1.3 จัดให้มกี ารควบคมุ ดแู ลการเดนิ ทางระหวา่ งบ้านกบั โรงเรียนอยา่ งเข้มขน้ โดยหลีกเลย่ี ง การเข้าไป สมั ผสั ในพ้นื ทตี่ า่ งๆ ตลอดเสน้ ทSาcงhกoาoรlเดIsินoทlaาtงion (แยกชาย - หญงิ ) 3.1.4 จัดให้มีพืน้ ที่หรอื บริเวณให้เป็นจุดคดั กรอง (Screening Zone) ทเี่ หมาะสม จัดจดุ รับส่ง สง่ิ ของ จดุ รับส่งอาหาร หรอื จุดเสย่ี งอ่นื เปน็ การจําแนกนักเรียน ครู บคุ ลากร ผู้ปกครอง และผมู้ าติดตอ่ ที่เขา้ มาใน โรงเรยี น 3.1.5 จัดให้มีระบบและแผนรับการตดิ ตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการบรู ณา การร่วมกันระหว่างกระทรวงศกึ ษาธิการและกรุงเทพมหานครทง้ั ชว่ งก่อนและระหวา่ ง ดาํ เนินการ ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมินความพร.อมตามหลกั เกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 31 จุดคัดกรอง (Screening Zone) School Isolation (แยกชาย - หญงิ ) ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลักเกณฑ7การเปด8 โรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 32 3.1 นักเรยี น ครู และบคุ ลากร Æ แนวปฏบิ ัติหรือแผนดำเนินการของโรงเรียนเกี่ยวกบั นักเรียน ครู และบุคลากร ดงั น้ี 3.2.1 ครบู ุคลากร ได้รับการฉีดวัคซีนครบโดส ต้งั แตร่ ้อยละ 95 สว่ นนักเรยี นและ ผู้ปกครองควรได้รับวัคซนี ตามมาตรการของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและกระทรวง สาธารณสุข (เอกสารแนบรายชอ่ื นกั เรยี น ครู และบคุ ลากร ทฉี่ ีดวัคซีนในภาคผนวก) สรปุ ผลการสำรวจการฉดี วคั ซีนของครู และบุคลากรผาE น Google form คิดเปhนร.อยละ 95 นักเรียนอายุ 12 -18 ปm รับวัคซนี Pfizer เข็มท่ี 1 ณ โรงพยาบาลเมดพาร7ค ประมาณ 900 คน ในวนั ท่ี 14 17 และ 20 ตุลาคม 2564 ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลกั เกณฑ7การเป8ดโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 33 3.2.2 นกั เรยี น ครูบุคลากร ทุกคนต้องตรวจคดั กรอง ATK ในวันแรกของการเปิดเรยี นของ สถานศึกษา ชดุ ตรวจคดั กรอง ATK และอุปกรณอ7 ่นื ๆพร.อมใชง. านเมอ่ื เป8ดเรียน 3.2.3 นกั เรียน ครบู คุ ลากรทํากิจกรรมรว่ มกนั ในรปู แบบ Small Bubble หลีกเลย่ี งการทาํ กิจกรรมขา้ มกลุ่มกนั 4. ดำเนินการของโรงเรียน หรือสถานศึกษา (ระหวา1 งภาคการศึกษา) 4.1 จัดใหม้ กี ารเรยี นการสอน ไดท้ ้ังรปู แบบ Onsite และ/หรอื Online หรือ แบบผสมผสาน (Hybrid) Æ แนวปฏบิ ัติหรอื แผนดำเนนิ การของโรงเรยี นระหวา่ งภาคการศึกษา ดงั น้ี 1) โรงเรยี นได้ดำเนนิ การสำรวจความคิดเห็นของผปู้ กครองเพ่อื เปน็ ข้อมลู สำหรบั เตรยี มการ จัดการเรยี นการสอนในภาคเรยี นที่ 2 /2564 ผ่านGoogle form 2) โรงเรยี นวางแผน และดำเนินการเพ่ือเตรยี มการจัดการเรียนการสอนท้งั รูปแบบ Online และ รปู แบบ Onsite 3) สำหรับนกั เรยี นท่ีสมัครใจมาเรยี นทโ่ี รงเรียน โรงเรียนจดั ขยายห้องเรยี น จากจำนวน หอ้ งเรียนปกติ ขยายจำนวนนักเรยี นในแต่ละหอ้ งไม่เกิน 25 คน (การจัดห้องเรียนตามที่ สช. กำหนดเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล) 4.2 นักเรียน ครบู ุคลากรท่อี ยใู่ นพืน้ ที่ Safety Zone ต้องประเมิน Thai Save Thai (TST) อย่างต่อเน่อื งทกุ วัน Æ แนวปฏบิ ตั หิ รือแผนดำเนนิ การของโรงเรยี นระหว่างภาคการศกึ ษา ดงั นี้ ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลักเกณฑก7 ารเปด8 โรงเรียนพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 34 1. โรงเรียนกำหนดแนวปฏิบัติสำหรับผู้บริหารโรงเรียน คือ 1) ประกาศนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิการเปดิ โรงเรยี นเพ่อื จัดการเรยี นการสอนใน ภาวการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School 2) กาํ หนดแนวทางปฎบิ ัตติ ามระเบียบสาํ หรบั นักเรยี น ครู และบุคลากรทสี่ งสยั ติดเช้อื หรือป่วยดว้ ยโรคโควิด-19 โดยไม่ถอื เป็นวนั ลาหรอื วนั หยดุ เรยี น 3) จดั ต้งั คณะทํางานดําเนนิ การควบคมุ ดูแล และป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ประกอบด้วย นักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง เจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ เขตคลองเตย ท้องถิน่ ชุมชน และผู้เก่ียวข้อง พร้อมบทบาทหนา้ ท่ี 4) ทบทวน ปรบั ปรุง ซอ้ มปฏบิ ตั ิตามแผนฉุกเฉินของโรงเรยี นในภาวะท่ีมกี ารระบาด ของโรค โควดิ -19 5) สื่อสารประชาสัมพนั ธ์การปอ้ งกนั โรคโควิด-19เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏบิ ตั ิ และการจัดการเรยี นการสอนใหแ้ ก่ นักเรียน ครู บุคลากร ผูป้ กครอง และ คณะกรรมการสถานศกึ ษาผา่ นช่องทางส่ือที่เหมาะสม และติดตามข้อมูลข่าวสารท่ี เกยี่ วข้องกับโรคโควดิ -19 จากแหล่งข้อมลู ทเ่ี ช่อื ถอื ได้ 6) สื่อสารทาํ ความเขา้ ใจเพื่อลดการรงั เกยี จและลดการตตี ราทางสังคม (Social stigma) กรณอี าจพบนักเรยี น ครู และบุคลากรในโรงเรยี น หรือผปู้ กครองตดิ เชอ้ื โควิด-19 7) มีมาตรการคัดกรองสขุ ภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเขา้ ไปในโรงเรียน (Point of entry) ให้แกค่ รู บุคลากร นกั เรียน และผูม้ าตดิ ตอ่ และจัดใหม้ ีพ้ืนทีแ่ ยกโรค อปุ กรณป์ อ้ งกัน เช่น หน้ากากอนามัย หรอื หนา้ กากผ้า เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพยี งพอ รวมถึงเพ่ิม ชอ่ งทาง การสื่อสารระหวา่ งนกั เรยี น ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และเจา้ หนา้ ท่ี สาธารณสขุ ในกรณี ทพี่ บนักเรียนกลมุ่ เส่ยี ง หรอื สงสยั 8) ควรพจิ ารณาการจัดใหน้ ักเรยี นสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนทมี่ คี ณุ ภาพเหมาะสม ตามบริบทได้อย่างตอ่ เน่อื ง ตรวจสอบ ติดตาม กรณนี ักเรยี นขาดเรยี น ลาปว่ ย การปิด สถานศึกษา การจัดใหม้ ี การเรยี นทางไกล สอ่ื ออนไลน์ การติดต่อทางโทรศพั ท์ Social media โดยติดตามเป็นรายวนั หรอื สัปดาห์ 9) กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาใน โรงเรียนให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เขตคลองเตย เพื่อดําเนินการสอบสวนโรค และ พิจารณาปดิ โรงเรยี นตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข 10) มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนมตามสิทธิที่ควรได้รับ กรณพี บอยใู่ นกลุม่ เสี่ยงหรอื กักตวั 11) ควบคุม กํากับ ติดตาม และตรวจสอบการดําเนินงานตามมาตรการป้องกัน การแพร่ ระบาดของโรคโควดิ -19 ในสถานศกึ ษาอย่างเครง่ ครดั และต่อเน่อื ง ภาคเรยี นท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลักเกณฑ7การเปด8 โรงเรียนพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 35 12) มีการจัดหางบประมาณสําหรับจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันโรคโควิด-19 ให้กับนักเรียน ครู บคุ ลากร ตามความจาํ เป็นและเหมาะสม 13) มกี ารจดั สรรบุคลากรในการดแู ลนักเรยี น และการจัดการสงิ่ แวดล้อมภายในโรงเรียน 14) จัดอบรมครู บุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ให้ครู และบุคลากรสามารถใช้ ชุดตรวจ ATK ได้ 15) ให้มกี ารสุ่มตรวจ ATK สำหรบั นักเรียน ครู และบคุ ลากร สปั ดาหล์ ะ 2 ครั้ง 16) ให้นักเรียน ครู และบคุ ลากร เขียน Timeline และประเมนิ TST ทกุ วนั 2. แนวปฏิบัตสิ ําหรบั นักเรยี น 1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 พื้นที่เสี่ยง คําแนะนํา การป้องกันตนเองและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรคโควิด-19 จากแหล่ง ข้อมลู ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้ 2) สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส รีบแจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมี คนใน ครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด-19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติ ตามคําแนะนาํ ของเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครัด 3) มีและใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผู้อื่น เช่น ช้อน ส้อม แก้วนํา แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า หน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้า และทําความสะอาดหรือเก็บให้เรียบร้อย ทกุ คร้ังหลงั ใชง้ าน 4) กรณีนักเรียนดื่มน้ำบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทําเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ เฉพาะไม่ให้ปะปนกับของคนอ่ืน 5) หมั่นล้างมือบ่อย ๆ ด้วยวิธีล้างมือ 7 ขั้นตอน อย่างน้อย 20 วินาที ก่อนรับประทาน อาหาร หลัง ใช้ส้วม หลีกเลี่ยงใช้มือสัมผัสกับใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จําเป็น รวมถึงสร้าง สุขนิสัยที่ดีหลังเล่นกับเพื่อน หรือสัมผัสกับผู้อื่น เมื่อกลับมาถึงบ้าน ต้อง รีบอาบนำ้ สระผม และเปลยี่ นเสอื้ ผ้าใหม่ทนั ที 6) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1–2 เมตร ในการทํากิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก และหลังเลิกเรียน เช่น นั่งรับประทานอาหาร เข้าแถวต่อคิว ระหว่างเดินทางอยู่ บนรถ 7) สวมหนา้ กากอนามยั หรือหนา้ กากผ้าตลอดเวลาทีอ่ ยู่ในโรงเรียน 8) หลกี เลย่ี งการไปในสถานท่ีทีแ่ ออัด หรือแหล่งชุมชนทีเ่ สยี่ งตอ่ การติดโรคโควิด-19 9) ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรุงสุก ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้ 5 สี เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน รวมถึงการออกกําลังกาย อย่างน้อย 60 นาที ทุกวัน และ นอนหลบั อย่างเพยี งพอ ประมาณ 9–11 ชั่วโมงตอ่ วัน ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 36 10) กรณีนักเรียนขาดเรียนหรือถูกกักตัว ควรติดตามความคืบหน้าการเรียนอย่างสม่ำเสมอ ปรึกษาครู เช่น การเรียนการสอน สื่อออนไลน์ อ่านหนังสือ ทบทวนบทเรียน และ ทาํ แบบฝึกหัดทีบ่ ้าน 11) หลีกเลี่ยงการล้อเลียนความผิดปกติ หรืออาการไม่สบายของเพื่อน เนื่องจากอาจจะก่อ ให้เกิดความกลัวมากเกินไปต่อการป่วยหรือการติดโรคโควิด-19 และเกิดการแบ่งแยก กดี กนั ในหมนู่ กั เรยี น 12) เขยี น Timeline และประเมิน TST ทกุ วัน 3. แนวปฏิบัติสาํ หรบั ครผู ้ดู ูแลนกั เรียน 1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคสำหรับพื้นที่เสี่ยง คําแนะนํา การป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของเชื้อโควิด-19 จากแหล่ง ขอ้ มูลทเี่ ชื่อถอื ได้ 2) สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันทีกรณี มีคน ในครอบครัว ป่วยด้วยโรคโควิด-19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ ปฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนําของเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ อย่างเคร่งครัด 3) แจ้งผู้ปกครองและนักเรียน ให้นําของใช้ส่วนตัวและอุปกรณ์ป้องกันมาใช้เป็นของตนเอง พร้อมใช้ เช่น ช้อน ส้อม แก้วน้ำ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า หน้ากากอนามัย หรือ หนา้ กากผา้ เปน็ ต้น 4) สื่อสารความรู้ คําแนะนํา หรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเสี่ยง จาก การแพร่กระจายโรคโควิด-19 ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากอนามัย หรือสวมหน้ากากผ้า คําแนะนําการปฏิบัติตัว การเว้นระยะ ห่างทางสังคม การทําความสะอาด หลีกเลี่ยงการทํากิจกรรมร่วมกันจํานวนมากเพื่อลด ความแออดั 5) ทําความสะอาดสื่อการเรียนการสอนหรืออุปกรณ์ของใช้ร่วมท่ีเป็นจุดสัมผัสเสี่ยงทุกคร้ัง หลงั ใช้งาน 6) ควบคุมดูแลการจัดที่นั่งในห้องเรียน ระหว่างโต๊ะเรียน (เว้นระยะห่าง 1.5 เมตร) ที่นั่งใน โรงอาหาร การจัดเว้นระยะห่าง ระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1-2 เมตร หรือ เหลื่อมเวลา พักกินอาหารกลางวัน และกํากับให้นักเรียนสวมหน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้า ตลอดเวลา และล้างมือบ่อย ๆ 7) ตรวจสอบ กํากับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ ในกลุม่ เสย่ี งตอ่ การตดิ โรคโควดิ -19 และรายงานตอ่ ผ้บู รหิ าร ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลักเกณฑ7การเป8ดโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 37 8) หากทางโรงเรียน พบว่า มีนักเรียนที่มีพฤติกรรมเจตนาไม่รักษามาตรการ และทาง โรงเรียนไม่สามารถควบคุมหรือกำกับได้ อันเป็นภัยคุกคามต่อผู้อื่น จะมีการดำเนินการ ขั้นเด็ดขาด โดยแยกนักเรียนไปอยู่ห้องพักแยกเพื่อรอท่ีห้องฝ่ายปกครอง และทาง โรงเรียนจะเชิญผู้ปกครองมารับกลบั บ้านในทนั ที 9) ครูมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความเครียดว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะ วิกฤติที่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และนํากระบวนการการจัดการความเครียด การฝึกสติให้กลมกลืน และเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัยร่วมกับการฝึกทักษะชีวิต ที่เสริม สร้าง ความเข้มแข็งทางใจ (Resilience) ให้กับนักเรียน ได้แก่ ทักษะชีวิตด้านอารมณ์ สงั คม และความคดิ เปน็ ต้น 10) ครูแกนนำควบคมุ โรค จะสุ่มตรวจนกั เรียน และบคุ ลากรในโรงเรียนด้วยชุดตรวจ ATK 11) เขียน Timeline และประเมนิ TST ทุกวัน 4. แนวปฏิบัตสิ ําหรบั ผปู้ กครอง 1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 พื้นที่เสี่ยง คําแนะนํา การป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรคจากแหล่งข้อมูล ที่ เช่อื ถือได้ 2) สังเกตอาการป่วยของบุตรหลาน หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่นกับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้าน จนกว่าจะหายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรค โควิด-19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง อยู่ในช่วงกักตัวให้ปฏิบัติตามคําแนะนําของเจ้าหน้าท่ี สาธารณสขุ อย่างเครง่ ครัด 3) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้บุตรหลานอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทําความสะอาดทุกวัน เช่น ชอ้ น ส้อม แกว้ นำ้ แปรงสฟี ัน ยาสฟี ัน ผ้าเช็ดหน้า หน้ากากอนามยั หรือหนา้ กากผา้ 4) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ และกํากับดูแลบุตรหลานให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อน รับประทานอาหาร หลังใช้ส้วม หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดย ไม่จําเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดี หลังเล่นกับเพื่อน และเมื่อกลับมาถึงบ้าน ควรอาบน้ำ สระผม และเปล่ียนชดุ เสอื้ ผา้ ใหมท่ ันที 5) ดูแลสุขภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรุงสุกใหม่ ส่งเสริมให้รับประทานอาหารร้อน สะอาด กนิ อาหารครบ 5 หมู่ และผกั ผลไม่้ 5 สี เพ่ือเสรมิ สรา้ งภมู คิ ุม้ กัน ออกกาํ ลงั กาย อยา่ งนอ้ ย 60 นาที ทุกวนั และนอนหลับอยา่ งเพียงพอประมาณ 9 - 11 ชั่วโมงตอ่ วัน 6) หลีกเล่ยี งการพาบตุ รหลานไปในสถานเสี่ยงตอ่ การตดิ โรคโควิด-19 สถานที่แออัดท่ีมีการ รวมกันของคนจํานวนมากหากจําเป็นต้องสวมหน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้า ล้างมือ บ่อย ๆ 7 ขนั้ ตอน ด้วยสบแู่ ละนำ้ นาน 20 วินาที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมินความพร.อมตามหลกั เกณฑก7 ารเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 38 7) กรณีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูใน การดูแลจัดการเรียนการสอนแก่นักเรียน เช่น การส่งการบ้าน การร่วม ทํากิจกรรม เป็นต้น 5. แนวปฏบิ ัตสิ ําหรับแม่ครวั ผ้จู ําหน่ายอาหาร และผ้ปู ฏบิ ตั งิ านทําความสะอาด 1) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 พื้นที่เสี่ยง คําแนะนําการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรคจาก แหลง่ ขอ้ มูลทีเ่ ชือ่ ถือได้ 2) เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงานและรีบไปพบแพทย์ทันที กรณี มีคน ในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด-19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ ปฏบิ ัติตามคาํ แนะนําของเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ อย่างเครง่ ครัด 3) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ ก่อน – หลังปรุง และประกอบอาหารขณะจําหน่าย อาหาร หลังสัมผัสสิ่งสกปรกเมื่อจับเหรียญ หรือธนบัตร หลังใช้ส้วมควรล้างมือด้วยสบู่ เหลวและน้ํา หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ และหลกี เล่ยี งการใชม้ ือสมั ผสั ใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไม่จาํ เปน็ 4) ขณะปฏิบัติงานของผู้สัมผัสอาหาร ต้องสวมหมวกคลุมผม ผ้ากันเปื้อน ถุงมือ สวมหน้า กากอนามยั หรอื หน้ากากผ้า และปฏิบัตติ นตามสขุ อนามยั สว่ นบุคคลทีถ่ ูกตอ้ ง 5) ใช้ภาชนะปิดอาหารให้มิดชิด ใส่ถุงมือ และใช้ที่คีบหยิบจับอาหาร ห้ามใช้มือหยิบจับ อาหารโดยตรง 6) จดั เตรียมเมนูอาหารที่ปรงุ สกุ ใหม่ให้ครบ 5 หมู่ ผกั และผลไม้ 5 สี เพ่ือเสรมิ สร้างภมู คิ มุ้ กัน 7) ผู้ปฏิบัติงานทําความสะอาด ผู้ปฏิบัติงานเก็บขนขยะ ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น สวมหน้ากากอนามัย หรือหน้ากากผ้า สวมถุงมือยาง ผ้ายางกันเปื้อน และรองเท้าพื้นยาง หมุ้ แขง็ 8) การเก็บขยะ ควรใช้ที่จับปากคีบด้ามยาวเก็บขยะ ใส่ถุงขยะ ปิดปากถุงให้มิดชิด และ นําไปรวบรวมไว้ท่ีพักขยะ 9) เมื่อปฏิบัติงานเสร็จทุกครั้งต้องล้างมือบ่อย ๆ และเมื่อกลับมาถึงบ้าน ควรรีบอาบน้ำ สระผม เปลย่ี นเส้อื ผ้าใหม่ทันที 10) เขยี น Timeline และประเมิน TST ทกุ วัน 6. แนวปฎบิ ตั สิ ําหรับผปู้ กครองและบคุ คลภายนอกที่มาตดิ ตอ่ กับทางโรงเรยี น ให้มีการคัดกรองบุคคลที่เขา้ มาในโรงเรียน โดยยึดหลัก (DMHT-RC Distancing) เว้นระยะห่าง (Mask wearing) สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาที่อยู่ใน โรงเรียน (Hand washing) ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ (Testing) วัดไข้ โดยพยาบาล ครู หรือ พนักงานรกั ษาความปลอดภยั ของโรงเรยี น ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลักเกณฑก7 ารเป8ดโรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 39 4.3 จัดใหม้ ีการสุม่ ตรวจ ATK นักเรียน ครแู ละบคุ ลากรที่เกยี่ วขอ้ งกบั สถานศึกษา เพือ่ เฝา้ ระวงั 2 ครงั้ /สัปดาห์ 4.4 ปฏบิ ัติตามมาตรการสุขอนามัยสว่ นบุคคลอย่างเขม้ ข้น ไดแ้ ก่ Æ แนวปฏิบัติหรือแผนดำเนนิ การของโรงเรยี นระหว่างภาคการศกึ ษา ดังนี้ 4.4.1 การดำเนนิ งาน 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) 1) เวน้ ระยะห่าง (Distancing) เว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคลอยา่ งน้อย 1-2 เมตร 2) สวมหนา้ กาก (Mask wearing) สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา ท่อี ยู่ในสถานศึกษา 3) ลา้ งมอื (Hand washing) ลา้ งมอื บอ่ ยๆ ดว้ ยสบู่และน้ำ นาน 20 วินาที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ 4) คัดกรองวัดไข้ (Testing) วดั ไข้ สังเกตอาการ ซักประวตั ิผู้สมั ผสั เสยี่ งทกุ คน กอ่ นเขา้ สถานศกึ ษา 5) ลดการแออัด (Reducing) ลดแออัด ลดเขา้ ไปในพน้ื ทเี่ สี่ยง กลุม่ คนจำนวนมาก 6) ทำความสะอาด (Cleaning) ทำความสะอาดบรเิ วณพื้นผิวสมั ผัสรว่ ม อาทิ ทจี่ ับประตู ลกู บดิ ประตู ราวบันได ป่มุ กดลิฟต์ 4.4.2 การดำเนนิ งาน 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) 1) ดูแลตนเอง(Self - care) ดูแลใส่ใจ ปฏิบัตติ น มวี ินยั รบั ผิดชอบตัวเอง ปฏบิ ตั ิตาม มาตรการอย่างเคร่งครัด 2) ใช้ช้อนกลางสว่ นตัว (Spoon) ใช้ชอ้ นกลางของตนเองทกุ ครัง้ เม่อื ตอ้ งกินอาหาร รว่ มกนั ลดสัมผัสรว่ มกับผอู้ ่ืน 3) กนิ อาหารปรงุ สกุ ใหม่ (Eating) กนิ อาหารปรุงสุกใหม่รอ้ นๆ กรณีอาหารเกบ็ เกิน 2 ชม. ควรนำมาอุ่นให้รอ้ นทัว่ ถึง ก่อนกินอกี ครง้ั 4) ไทยชนะ (Thai chana) ลงทะเบียนตามท่รี ฐั กำหนดดว้ ย app ไทยชนะ หรือ ลงทะเบียนบันทกึ การเขา้ -ออกอยา่ งชดั เจน 5) สำรวจตรวจสอบ (Check) สำรวจบุคคล นกั เรยี น กลุม่ เส่ียงทเ่ี ดนิ ทางมาจาก พน้ื ทเี่ ส่ียง เพ่อื เขา้ สูก่ ระบวนการคดั กรอง 6) กกั กนั ตัวเอง (Quarantine) กกั กนั ตวั เอง 14 วนั เมอ่ื เข้าไปสมั ผสั หรืออยใู่ น พน้ื ที่เสีย่ งทม่ี ีการระบาดโรค ภาคเรยี นที่ 2/2564

รายงานประเมินความพร.อมตามหลกั เกณฑ7การเปด8 โรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 40 4.5 จัดให้นกั เรียน ครแู ละบคุ ลากรเขียนบนั ทึก Timeline กิจกรรมประจาํ วนั และการเดินทางเข้าไป ในสถานทต่ี า่ งๆ แตล่ ะวันอย่างสม่ำเสมอ Æ แนวปฏบิ ตั ิหรือแผนดำเนนิ การของโรงเรียนระหว่างภาคการศกึ ษา ดงั นี้ 1. โรงเรยี นกำหนดให้นกั เรียนเลือกบันทกึ Timeline บน Google Map เมื่อเปิดประวัติตำแหน่ง Timeline จะแสดงสถานที่ที่ไปมา รวมถึงอุปกรณ์ท่ีใช้เข้าสู่ระบบบัญชีและรายงานตำแหน่ง อยู่ให้ทำตามข้ันตอนดังน้ี 1.1 เปิดแอป Google Maps ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต Android 1.2 แตะ ไอคอนบัญชี Timeline 1.3 แตะ \"เพิ่มเติม\" การต้ังค่า 1.4 มองหาข้อความ \"ตำแหน่งเปิดอยู่\" หากไม่เห็น ให้แตะตำแหน่งปิดอยู่ เพ่ือเปิดตำแหน่ง 1.5 มองหาข้อความ \"ประวัติตำแหน่งเปิดอยู่\" หากไม่เห็น ให้แตะประวัติตำแหน่งปิดอยู่ เพื่อเปิดประวัติตำแหน่ง เม่ือสร้าง Timeline แล้ว ก็จะสามารถเช็คดูการเดินทางย้อนหลังของตัวเองได้ โดย Timeline จะแสดงสถานที่ที่ไปมาแล้ว และวิธีท่ีใช้เดินทางจากสถานที่หน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง เช่น เดินเท้า ขี่จักรยาน ขับรถ หรือขนส่งมวลชน เป็นต้น 2. โรงเรียนกำหนดให้นกั เรียนเลือกบันทกึ Timeline ผ่าน Google form โดยการ Scan QR-Code หรือ Link ที่ครูประจำช้ันสง่ ให้ในกลมุ่ ไลน์ห้องตามรายละเอียด https://forms.gle/Fm5Bu4mSr6RaqkaT8 3. โรงเรยี นกำหนดให้นักเรยี นเลอื กบนั ทกึ Timeline โดยเขียนบนั ทกึ ในสมุดตามหวั ทีก่ ำหนด วัน/เดือน/ปี ชว่ งเวลา สถานท่ี วธิ เี ดินทาง คนทีไ่ ปด้วย หมายเหตุ ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมินความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเปด8 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 41 4.6 ปฏิบัติตามแนวทาง 7 มาตรการเข้มขน้ สาํ หรบั สถานศึกษาอยา่ งเคร่งครัด ดงั น้ี Æ แนวปฏบิ ตั หิ รอื แผนดำเนนิ การของโรงเรยี นระหว่างภาคการศกึ ษา ดังนี้ 1) มแี บบประเมนิ ความพร้อมเปดิ เรยี นผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผล ผ่าน MOECOVID โดยถอื ปฏิบตั ิอยา่ งเขม้ ข้นต่อเนื่อง 2) ทาํ กิจกรรมร่วมกันในรปู แบบ Small Bubble หลกี เลี่ยงการทาํ กิจกรรมขา้ มกลุม่ กันและจดั นักเรยี นใน หอ้ งเรยี นขนาดปกติ (6 X 8 เมตร) ไม่เกนิ 25 คน หรอื จัดให้เวน้ ระยะห่างระหว่างนกั เรียนในหอ้ งเรยี น ไม่นอ้ ยกว่า 1.5 เมตร 3) จดั ระบบการให้บรกิ ารอาหารสําหรบั นกั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรในสถานศึกษา ตามหลกั มาตรฐาน สุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการอาทเิ ช่น การจัดซื้อจัดหาวตั ถุดิบจากแหลง่ อาหารการปรุง ประกอบอาหารหรือการสัง่ ซือ้ อาหารตามระบบนําส่งอาหาร (Delivery) ที่ถกู สขุ ลักษณะและตอ้ งมี ระบบตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนํามาบรโิ ภค 4) จดั การด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมใหไ้ ดต้ ามแนวปฏบิ ัติด้านอนามยั สงิ่ แวดลอ้ มในการปอ้ งกนั โรคโควิด -19 ในสถานศกึ ษา ได้แก่ 4.1) การระบายอากาศภายในอาคาร 4.1.1) เปดิ ประตูหนา้ ต่างระบายอากาศก่อนและหลงั การใช้งาน อยา่ งนอ้ ย 15 นาที ควรมีหน้าตา่ งหรอื ชอ่ งลม อยา่ งนอ้ ย 2 ด้านของหอ้ งให้อากาศภายนอกถ่ายเทเขา้ สูภ่ ายในอาคาร 4.1.2) กรณใี ชเ้ คร่อื งปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคารกอ่ นและหลงั การใชง้ าน อย่างนอ้ ย 2 ช่วั โมง หรือเปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศชว่ งพักเท่ยี งหรอื ช่วงที่ไม่มี การเรียนการสอน กาํ หนดเวลาเปิด-ปดิ เครอื่ งปรบั อากาศและทาํ ความสะอาดสมํา่ เสมอ 4.2) การทำความสะอาด 4.2.1) ทาํ ความสะอาดวัสดุสิง่ ของด้วยผงซกั ฟอกหรือนํา้ ยาทําความสะอาดและลา้ งมอื ดว้ ย สบู่และนาํ้ 4.2.2) ทาํ ความสะอาดและฆา่ เชือ้ โรคบนพน้ื ผวิ ทั่วไป อปุ กรณ์สัมผัสร่วม เช่น หอ้ งนํ้า ห้องส้วม ลกู บดิ ประตรู โี มทคอนโทรล ราวบนั ได สวติ ซไ์ ฟ ปุ่มกดลฟิ ท์ จุดน้าํ ด่ืม เปน็ ตน้ 4.2.3) ดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% นาน 10 นาทีและฆา่ เชอื้ โรคบนพื้นผิววัสดุ แขง็ เชน่ กระเบ้ือง เซรามกิ สแตนเลส ดว้ ยนํา้ ยาฟอกขาวหรอื โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 0.1% นาน 5-10 นาที อยา่ งนอ้ ยวันละ 2 คร้งั และอาจเพิ่มความถ่ตี ามความเหมาะสม โดยเฉพาะเวลาที่มีใชง้ าน จาํ นวนมาก 4.3) คุณภาพน้ำอปุ โภคบรโิ ภค 4.3.1) ตรวจดูคุณลกั ษณะทางกายภาพ สีกลนิ่ และไม่มีสงิ่ เจอื ปน 4.3.2) ดูแลความสะอาดจุดบริการนาํ้ ดื่มและภาชนะบรรจนุ าํ้ ดื่มทุกวัน (ไม่ใช้แก้วน้ําดมื่ รว่ มกันเดด็ ขาด) 4.3.3) ตรวจคุณภาพนาํ้ เพ่ือหาเชือ้ แบคทีเรียดว้ ยขดุ ตรวจภาคสนาม (อ 11) ทุก 6 เดอื น ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑก7 ารเปด8 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 42 4.4) การจดั การขยะ 4.4.1) มีถังขยะแบบมฝี าปดิ สําหรับรองรบั ส่งิ ของทไี่ ม่ใช้แลว้ ประจาํ ห้องเรยี น อาคารเรียนหรือ บรเิ วณ โรงเรียนตามความเหมาะสม และมีการคดั แยก-ลดปริมาณขยะตามหลัก 3R (Reduce Reuse Recycle) 4.4.2) กรณขี ยะเกิดจากผสู้ มั ผัสเส่ยี งสงู /กักกนั ตัว หรอื หนา้ กากอนามัยทใ่ี ชแ้ ล้ว นาํ ใส่ในถุง กอ่ นทงิ้ ให้ราดด้วยแอลกอฮอล์70% หรอื นํ้ายาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถุง มัดปากถงุ ให้ แน่นซอ้ นด้วยถุงอีก 1 ชนั้ ปดิ ปากถงุ ให้สนทิ และฉดี พน่ บริเวณปากถุงดว้ ยสารฆ่าเชื้อแล้ว ทิง้ ในขยะทัว่ ไป 5) จดั ให้มสี ถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน School Isolation และแผนเผชญิ เหตุ สาํ หรับ รองรบั การดแู ล รกั ษาเบือ้ งตน้ กรณีนักเรยี น ครูหรอื บคุ ลากรในสถานศกึ ษามกี ารตดิ เซือ้ โควิด-19 หรอื ผลตรวจ ATK เป็นบวก โดยมีการซักซ้อมอยา่ งเคร่งครัด 6) ควบคุมดูแลการเดินทางเขา้ และออกจากโรงเรยี น (Seal Route) อยา่ งเขม้ ข้น โดยหลีกเลีย่ งการเขา้ ไป สัมผสั ในพ้ืนทีต่ า่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดินทางจากบ้านไปกลับโรงเรยี น ท้งั กรณรี ถรับ - สง่ นกั เรียน รถสว่ นบคุ คล และพาหนะโดยสารสาธารณะ 7) จัดให้มี School Pass สําหรบั นักเรยี น ครูและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ซ่ึงประกอบด้วย ขอ้ มูล ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน 7-14 วนั และประวตั กิ ารรับวคั ซีนตามมาตรการของ กระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสขุ โรงเรยี นดำเนนิ การประเมนิ ความพรอ. มเป8ดเรียนผEาน TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมินผล ผEาน MOECOVID โดยถือปฏิบตั อิ ยEางเข.มข.นตEอเนือ่ ง ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพร.อมตามหลกั เกณฑก7 ารเปด8 โรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 43 โรงเรียนดำเนินการประเมนิ รายงานการรบั วัคซนี ของนกั เรียน ครู และบุคลากร ผาE น MOECOVID โดยถือปฏิบตั ิอยาE งเข.มข.นตEอเนื่อง การท้ิงขยะของนักเรยี นและบคุ ลากรของโรงเรยี น ภายใตก. ารดำเนนิ งานของ โครงการพระหฤทัยรEวมใจ...รกั ษส7 ่ิงสรา. ง 5Rs ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลักเกณฑก7 ารเป8ดโรงเรยี นพระหฤทยั คอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 44 4.7 กาํ หนดให้สถานประกอบการกิจกรรมท่อี ยู่รอบร้วั สถานศกึ ษาผา่ นการประเมิน Thai Stop COVID plus (TSC+) COVID free Setting Æ แนวปฏิบตั ิหรอื แผนดำเนินการของโรงเรยี นระหว่างภาคการศกึ ษา ดงั น้ี 1) โรงเรยี นขอความรว่ มมือสถานประกอบการบริเวณด้านหน้าแนวรั้วโรงเรียนและบริเวณ ใกลเ้ คยี งเข้าร่วมการประเมิน Thai Stop COVID plus (TSC+) COVID free Setting 2) รายงานผลการประเมินให้ทางโรงเรียนรับทราบทุกระยะ ศูนย7พระหฤทยั อนิ เตอรเ7 นต็ และมัลติมเิ ดยี อาคารสริ ินเทพ ชัน้ 2 ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑก7 ารเป8ดโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 45 ภาคผนวก ภาคเรียนที่ 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑ7การเปด8 โรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลบั 46 การดำเนนิ การจัดดา+ นกายภาพอ่นื ๆ การจัดท่นี ่งั แบบเว.นระยะหEาง ภาคเรียนท่ี 2/2564

รายงานประเมนิ ความพรอ. มตามหลกั เกณฑก7 ารเป8ดโรงเรยี นพระหฤทัยคอนแวนต7 : ประเภท ไป-กลับ 47 ภาคเรยี นที่ 2/2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook