หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เครื่องมือทาง ภูมิศาตร์ Presented by: ปาณิศรา คุณกันหา 0
เครื่องมือทางภูมิศาตร์ (Thematic Map) ความหมาย เครื่องมือภูมิศาสตร์ที่ส าคัญ ได้แก่ แผนที่ ลูกโลก เข็มทิศ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายจากดาวเทียม และเครื่องมือเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้าง ขึ้นเพื่อแสดงลักษณะที่ตั้งของสิ่งต่างๆที่อยู่บนพื้นผิว โลก โดยการย่อส่วน กับใช้ สัญลักษณ์แทนสิ่งต่างๆลงในวัสดุพื้นแบนราบ 0
เครื่องมือทางภูมิศาตร์ (Thematic Map) ตัวอย่าง แผนที่ ลูกโลก ภาพถ่ายดาวเทียม เข็มทิศ 1
แผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic Map) เป็นแผนที่ที่แสดงเฉพาะสิ่งที่สนใจในบริเวณพื้นที่ภูมิศาสตร์ที่ สนใจ แผนที่นี้สามารถแสดงลักษณะต่างๆ ตัวอย่าง 2
การอ่านแผนที่เฉพาะเรื่อง ชี่อแผนที่ คำอธิบายสัญลักษณ์ มาตราส่วน สีเค้ม เป็นส่วนที่ใช้คำนวณ แสดงความข้อมูลของ ระยะทางจริง ความสูง สีอ่อน 3 แสดงความข้อมูลของ ความสูงของที่ต่ำ
แผนที่จุด (Dot Map) เป็นแผนที่ที่ใช้จุดแสดงความหนาแน่นหรือการกระจายตัวของข้อมูล ตัวอย่าง 4
การอ่านแผนที่จุด ชี่อแผนที่ จุดกระจายอยู่มาก มาตราส่วน จุดกระจายอยู่น้อย คำอธิบายสัญลักษณ์ รูปทรงต่างๆ แสดงความข้อมูลต่างๆ เส้น แสดงความข้อมูลเกี่ยว แม่น้ำ การเดินทาง สีต่างๆ แสดงความข้อมูลเกี่ยวกับ 5แหล่งน้ำ หรือข้อมูลต่างๆ
แผนที่สัดส่วน (Porpotional Map) เป็นแผนที่ที่ใช้สัญลักษณ์ขนาดแตกต่างกัน แสดงสัดส่วนหรือ ความหนาแน่นของข้อมูล ตัวอย่าง 6
การอ่านแผนที่สัดส่วน ชี่อแผนที่ คำอธิบายสัญลักษณ์ ชื่อของแผนที่ที่ระบุเอาไว้ วงกลมใหญ่ วงกลมใหญ่ แสดงความหนาแน่นมาก วงกลมเล็ก แสดงความหนาแน่นน้อย วงกลมเล็ก 7
แผนที่เส้นเท่า (Isoline Map) เป็นแผนที่ที่ใช้เส้นแสดงข้อมูล เพื่อบอกความห่าง ถี่ของข้อมูล โดยแต่ละเส้นจะลากผ่านบริเวณที่ข้อมูลมีค่าเท่ากัน ตัวอย่าง 8
การอ่านแผนที่เส้นเท่า ชี่อแผนที่ คำอธิบายสัญลักษณ์ ชื่อของแผนที่ที่ระบุเอาไว้ พื้นที่สีม่วงอ่อน สัญลักษณ์สี แสดงความปริมาณฝนที่มาก พื้นที่สีขาว แสดงความปริมาณฝนที่น้อย เส้นเท่า 9
GIS คืออะไร ความหมาย GIS (geographic information system) หรือระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ที่ทำงานโดยการป้อน ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ เช่น ภาพแผนที่ ภาพถ่ายผ่านดาวเทียม ตัวเลข ตัวอักษร ระยะทาง เข้าไป วิเคราะห์ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้มักมีความถูกต้องแม่นยำสูง สามารถนำไป ประยุกต์ใช้งานได้หลายด้าน GIS มีประโยชน์หลายด้านโดยเฉพาะการจัดการสิ่งแวดล้อม การวาง ผังเมือง การจัดการระบบสาธารณูปโภค โดยการคำนวณหาพื้นที่บริเวณที่จะใช้งานจากภาพแผนที่ 10
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system) องค์ประกอบ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โปรแกรม ข้อมูล บุคลากร วิธีการหรือขั้น ตอนการทำงาน เครื่องคอมพิวเตอร์รวมไป ชุดของคำสั่งสำเร็จรูป ข้อมูลต่าง ๆ ที่จะใช้ใน ผู้ปฏิบัติงานซึ่งเกี่ยวข้อง ถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ระบบ GIS และถูกจัดเก็บ กับระบบสารสนเทศ วิธีการที่องค์กรนั้น ๆ นำเอา ในรูปแบบของฐานข้อมูล ภูมิศาสตร์ ระบบ GIS ไปใช้งานโดย แต่ละ ระบบแต่ละองค์กรย่อ มีความแตกต่างกันออกไป 11
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system) หน้าที่ การนำเข้าข้อมูล (Input) 12 ก่อนที่ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกใช้งานได้ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ข้อมูลจะต้องได้รับการแปลง ให้มาอยู่ในรูปแบบของข้อมูล เชิงตัวเลข (digital format) เสียก่อน การปรับแต่งข้อมูล (Manipulation) ข้อมูลที่ได้รับเข้าสู่ระบบบางอย่างจำเป็นต้องได้รับการปรับแต่งให้เหมาะสมกับงาน การบริหารข้อมูล (Management) ระบบจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS จะถูกนำมาใช้ในการบริหารข้อมูลเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพในระบบ GIS DBMS ที่ได้รับการเชื่อถือและนิยม ใช้กันอย่างกว้างขวางที่สุดคือ DBMS แบบ Relational หรือระบบจัดการฐานข้อมูลแบบสัมพัทธ์ (DBMS) ซึ่งมีหลักการทำงานพื้นฐานดังนี้คือ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บ ในรูปของตารางหลาย ๆ ตาราง การบริหารข้อมูล (Management) เมื่อระบบ GIS มีความพร้อมในเรื่องของข้อมูลแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การนำข้อมูลเหล่านี่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ การปรับแต่งข้อมูล (Manipulation) จากการดำเนินการเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์ที่ได้จะอยู่ในรูปของตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งยากต่อการตีความหมายหรือทำความเข้าใจ การนำเสนอข้อมูลที่ดี
ระ บบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system) ลักษณะข้อมูล โลกมีความสลับซับซ้อนมากเกินกว่าที่จะเก็บข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับโลกไว้ในรูปข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ จึงต้องเปลี่ยนปรากฏการณ์บน ผิวโลกจัดเก็บในรูปของตัวเลขเชิงรหัส (digital form) โดยแทนปรากฏการณ์ เหล่านั้นด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่า Feature จุด (Point) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีตำแหน่งที่ตั้งเฉพาะเจาะจง หรือมีเพียงอย่างเดียว สามารถแทนได้ด้วยจุด (Point Feature) เส้น (Arc) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่วางตัวไปตามทางระหว่างจุด 2 จุด จะแทนด้วยเส้น (Arc Feature) พื้นที่(Polygon) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีพื้นที่เดียวกันจะถูกล้อมรอบด้วยเส้นเพื่อแสดงขอบเขต 13
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system) ข้อมูลเชิงพื้นที่ ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) มีส่วนประกอบ 2 ส่วน ข้อมูลเชิงภาพ (Graphic data) สามารถแทนได้ด้วย 2 รูปแบบพื้นฐาน ข้อมูลแบบเวกเตอร์ (Vector format) ข้อมูลแบบแรสเตอร์ (Rastor format) ข้อมูลอรรถธิบาย (Attribute data) เป็นข้อความอธิบายที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงภาพเหล่านั้น เช่น ชื่อ ถนน, ลักษณะ พื้นผิว และจำนวนช่องทางวิ่งของเส้นถนนแต่ละเส้น 14
ระ บบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system) ลักษณะข้อมูล จุด (Point) ที่ตั้งสถานที่ จุดความสูงจุดประชากร จุดความร้อน เส้น (Arc) ถนน แม่น้ำ ทางรถไฟ พื้นที่(Polygon) การใช้ประโยชน์ที่ดินเขตการปกครอง 15
ระ บบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system) การใช้ประโยชน์ ด้านภัยธรรมชาติ วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงเกิดภัยธรรมชาติเพื่อวางแผนป้องกันภัย วิเคราะห์พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ แผนที่แสดงพื้นที่เสี่ยงภัยฝนตกในประเทศไทย 15
ระ บบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system) การใช้ประโยชน์ ด้านคมนาคมขนส่ง วางแผนเส้นทางเดินรถเพื่อประหยัดเวลาเดินทาง ใช้วางแผนสร้างเส้นทางคมนาคม ติดตามยานพาหนะ การใช้งาน Google Map นำทางเพื่อหาระยะทางที่สั่นและรวดเร็วที่สุด 17
ระ บบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system) การใช้ประโยชน์ การบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ที่ดิน จัดทำแผนที่ภาษี วางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน การวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมในการทำกิจกรรมต่าง ๆ การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 18
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (geographic information system) การใช้ประโยชน์ ด้านสิ่งแวดล้อม จัดทำแผนที่ขอบเขตพื้นที่ป่าเพื่อวางแผนอนุรักษ์และฟื้ นฟู เพื่อติดตามสถานการณ์ป่าไม้ แผนที่พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย 19
สถิติทางภูมิศาสตร์ (Geographic Statistic) ข้อมูลของปรากฏการณ์เชิงพื้นที่ต่าง ๆ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง หรือหลายช่วงเวลามีการนำเสนอลงบนแผนที่หลาก หลายรูปแบบเพื่อง่ายต่อการวิเคราะห์ ข้อมูลสถิติทางภูมิศาสตร์ 20
จัดทำโดย Name : ด.ญ.ปาณิศรา คุณกันหา Class : มัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 10 No : 21
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: