Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การนำหลักการบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ 6

การนำหลักการบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ 6

Published by armtonwut2540, 2017-07-03 00:16:36

Description: การนำหลักการบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ 6

Keywords: การนำหลักการบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ

Search

Read the Text Version

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เร่ือง แนวคิดการบรหิ ารเชิงมนุษยสัมพนั ธ์ Principle and EducationAdministration SystemHuman Relation Approachแนวคดิ การบริหารเชิงมนุษยสัมพนั ธ์ยุคท่ี 2 ของววิ ฒั นาการการบรหิ ารการศึกษา

Khonkaen University วชิ าหลักการและระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา Educational Administration #2012 เร่ือง แนวคิดการบรหิ ารเชิงมนษุ ยสมั พันธ์ สมาชิก รหัส 555050152-2• นายชชั ชยั โชมขนุ ทด• นางพรเพ็ญ สมบรู ณ์ รหัส 555050164-5• นางสาวละคร เขียนชานาจ รหสั 555050174-2• นางสาวยวุ ดี ไชยนจิ รหัส 555050245-5• นางสาวบุษกร บญุ ทศ รหัส 555050161-1• นายภานวุ ัฒน์ สิงห์หาญ รหัส 555050168-7• นางสาวนชิ นนั ทร์ บุญสา รหัส 555050157-2• นางเพ็ญศรี กลั ยาณกิตติ รหัส 555050243-9

Khonkaen University วชิ าหลักการและระบบการบริหารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เรอ่ื ง แนวคิดการบริหารเชงิ มนษุ ยสัมพันธ์ความหมายของมนุษยสมั พนั ธ์• อริสโตเตลิ ( Aristotle )มนุษย์เป็นสตั ว์สงั คม มปี ฏิสมั พันธ์รว่ มกนั ทำใหพ้ วกเขำรู้สึกปลอดภัยพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ควำมสมั พนั ธ์ในทำงสังคม ระหวำ่ งมนษุ ย์ ซ่ึงจะกอ่ ให้เกดิ ควำมเข้ำใจอนั ดตี อ่กัน โดยมกี ำรตดิ ต่อสื่อสำรกัน ระหว่ำงบุคคล ระหว่ำงกลุ่ม เพือ่ ใหท้ รำบควำมตอ้ งกำรของแตล่ ะบคุ คล หรือกลุ่มอานวย แสงสวา่ ง กำรแสวงหำ เพอ่ื ทำควำมเข้ำใจ กำรติดตอ่ สัมพันธก์ นัระหว่ำงบุคคล เป็นผลกอ่ ใหเ้ กิดควำมเชอ่ื มโยงเพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลสำเร็จตำมเป้ำหมำยขององคก์ ำร ของแตล่ ะบคุ คลทไี่ ดก้ าหนดไว้

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบริหารจัดการศึกษาEducational Administration #2012 เร่ือง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ความหมายของมนุษยสัมพันธ์• David, Keith. กระบวนกำรจูงใจของบคุ คลอยำ่ งมีประสทิ ธผิ ล และมปี ระสิทธภิ ำพ โดยมคี วำมพอใจในทำงเศรษฐกิจ Edwin B. Flippo กำรรวมคนให้ทำงำนรว่ มกนั ในลักษณะท่มี ุ่งให้เกดิ ควำมร่วมมือประสำนงำนควำมคิดรเิ รม่ สร้ำงสรรค์เพอ่ื ใหบ้ ังเกิดและบรรลุเปำ้ หมำย ชลอ ธรรมศิริ เปน็ ควำมสมั พนั ธ์ระหว่ำงบุคคล เพ่อื ยึดเหนย่ี วระหวำ่ งกัน ใหเ้ กิดควำมรักใคร่ชอบพอ ควำมรว่ มมอื รว่ มใจในกำรทำกิจกรรมใหบ้ รรลเุ ป้ำหมำย และดำเนินชีวติ ใหม้ คี วำมรำบรื่น

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาEducational Administration #2012 เรอื่ ง แนวคิดการบรหิ ารเชิงมนุษยสมั พนั ธ์ความหมายของมนษุ ยสัมพนั ธ์มนุษยสมั พันธ์ หมายถงึ กระบวนกำรของศำสตรท์ ใ่ี ชศ้ ลิ ปะสรำ้ งควำมพอใจ รักใคร่ ศรทั ธำ เคำรพนับถือ โดยแสดงพฤติกรรม ให้เหมำะสมท้งั ทำงกำย วำจำ และใจ เพ่ือโน้มนำใหม้ คี วำมรู้สกึ ใกล้ชิดเป็นกนั เอง จงู ใจใหร้ ่วมมอื รว่ มใจ ในอันทจ่ี ะบรรลุสงิ่ ซงึ่ พึงประสงค์อย่ำงรำบรื่น และอยูใ่ นสงั คมได้อย่ำงสนั ติสุขความหมายในแง่จิตวทิ ยา มนษุ ยสัมพันธ์ หมำยถึง กำรแสดงพฤติกรรมต่อกันในระบบสงั คม เนอ่ื งจากจติ วิทยาเปน็ ศาสตรท์ ี่ศกึ ษาพฤตกิ รรมของมนษุ ย์นกั จิตวทิ ยาจึงให้ความหมายของมนุษยสมั พันธใ์ นสภาวะของการแสดงพฤติกรรมโต้ตอบกันในสังคม

Khonkaen University วิชาหลักการและระบบการบริหารจดั การศกึ ษาEducational Administration #2012 เรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนษุ ยสมั พนั ธ์สรุปความหมายของมนษุ ยสมั พันธ์• เป็นควำมสมั พันธท์ ำงสงั คม ของบคุ คลหรือกลุ่มบุคคล ที่มีกำรติดตอ่ ส่ือสำรและเชอื่ มโยงกัน เป็นทัง้ ศำสตร์และศิลปะเก่ียวกับพฤติกรรมของมนุษย์เพือ่ ใหเ้ กิดควำมสัมพันธ์ท่ีดตี ่อกันและกำรบรรลจุ ุดมุ่งหมำยขององคก์ ำรเพื่อควำมรำบร่ืนในกำรดำรงชีวติ ให้ปลอดภยั หรือปลอดพ้นอุปสรรค

Khonkaen University วชิ าหลักการและระบบการบริหารจดั การศกึ ษาEducational Administration #2012 เรือ่ ง แนวคิดการบรหิ ารเชิงมนุษยสมั พันธ์1.ยคุ บรรพกาล มนุษยเ์ กิดมาพรอ้ มกับการรวมกลมุ่ 2.ยคุ สังคมเปลย่ี นแปลง

ประวัติความเป็นมาของมนษุ ยสมั พนั ธ์กดขี่บังคบั ลูกจ้าง สภำพแวดล้อมไมด่ ี ขำดแคลนทางานหนัก สขุ ภำพทรุดโทรม ใช้แรงงำนคน แบบทำส ยำกจน

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาEducational Administration #2012 เร่อื ง แนวคดิ การบรหิ ารเชิงมนุษยสัมพนั ธ์->ผูท้ ี่มบี ทบำทสำคัญในกำรปรบั ปรุงงำนด้ำนมนษุ ยสมั พนั ธ์ “และถอื กันว่ำเปน็ ปฐมบิดร”คอื โรเบริ ์ต โอเวน (Robert Owen)->ค.ศ. 1835 แอนดรูว์ ->ระยะตน้ ปี ค.ศ. 1900 เฟรเดอริค เทเลอร์เออร์ (Andrew Ure) ผู้ซึ่งได้รบั สมญำนำมวำ่ “บิดำแห่งกำรจดั กำรแบบ วทิ ยำศำสตร์”-> ค.ศ. 1910 แมร่ี ->1920 และปี 1930 เอล ->หลังสงครำมโลกจนถงึฟอลเลทท์ ตนั เมโย (Elton Mayo) ปจั จุบัน(Mary Follett)

Khonkaen University วิชาหลกั การและระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาEducational Administration #2012 เร่อื ง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสมั พนั ธ์ ความปลอดภัย เศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง

Khonkaen University วิชาหลกั การและระบบการบริหารจัดการศึกษาEducational Administration #2012 เร่อื ง แนวคิดการบรหิ ารเชงิ มนุษยสมั พนั ธ์ แนวควำมคดิ มนุษยสัมพนั ธ์ รูจ้ กั ตน เขำ้ ใจผูอ้ ่ืน สรำ้ งสภำพแวดลอ้ มท่ดี ีวิเครำะห์ตนปรับปรงุ ตน วิเครำะหค์ วำมแตกตำ่ ง วเิ ครำะห์ส่ิงแวดล้อม ของผ้อู ืน่ ยอมรับควำมแตกต่ำง ปรับปรงุ สงิ่ แวดล้อม พฒั นำคนให้เข้ำกับผ้อู ่ืน และสงิ่ แวดลอ้ ม แนวควำมคดิ มนุษยสัมพนั ธ์ตนสุข ผอู้ ่ืนสขุ สง่ิ แวดลอ้ มดี แผนภูมแิ สดงองคป์ ระกอบของแนวความคดิ มนุษยสมั พันธ์

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบริหารจดั การศกึ ษาEducational Administration #2012 เรอ่ื ง แนวคดิ การบรหิ ารเชิงมนุษยสมั พันธ์ทฤษฎที ี่สาคญั ของแนวคดิ มนุษยสมั พนั ธ์ เปน็ ยุคท่มี ีควำมเชอื่ วำ่ งำนใด ๆ จะบรรลุผลสาเรจ็ ได้จะตอ้ งอาศยั คนเปน็ หลกั นกั บรหิ ำรกลมุ่ น้ีจงึ หนั มำสนใจศึกษำพัฒนำทฤษฎี วธิ ีกำรและเทคนิคตำ่ ง ๆ ทำงดำ้ นสงั คมศำสตร์ พฤตกิ รรมและกลุ่มคนในองค์กำร

Khonkaen University วิชาหลกั การและระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาEducational Administration #2012 เร่ือง แนวคดิ การบรหิ ารเชงิ มนุษยสมั พันธ์ เป็นชำวอเมริกนั ได้เขยี นตำรำที่มแี นวคิดในเชงิมนุษยสัมพนั ธ์ เช่น เขียนเรอื่ งความขัดแยง้ การประสานความขัดแย้ง กฎที่อำศัยสถำนกำรณ์ และควำมรบั ผดิ ชอบเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาความขดั แย้ง(Conflict) ไว้ 3 แนวทาง Domination Compromise Integration คือ ใชอ้ านาจอกี ฝา่ ย คือ คนละครง่ึ ทาง คือ การหาแนวทางทีไ่ มม่ ีสยบลง คือใหอ้ ีกฝ่ายแพ้ เพ่อื ใหเ้ หตุการณส์ งบ ใครเสียหนา้ ได้ประโยชน์ โดยประนปี ระนอม ทงั้ 2 ทาง (ชนะ ชนะ) ให้ได้ ไมด่ นี ัก

Khonkaen University วชิ าหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาEducational Administration #2012 เรือ่ ง แนวคดิ การบริหารเชงิ มนษุ ยสัมพนั ธ์ เป็นชาวออสเตรยี นักจิตวิทยาจากมหาวทิ ยาลัยฮาวารด์ เรม่ิ ตน้ จำกคำถำมวำ่ “จะเปน็ ไปได้ หรอื ไม่ ถำ้ หำกวำ่ พนกั งำนได้รบั กำรดแู ล เป็นพเิ ศษแล้ว ประสทิ ธภิ ำพกำรทำงำน ก็จะเพม่ิ ขน้ึ ”

Khonkaen University วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เรื่อง แนวคดิ การบรหิ ารเชงิ มนุษยสัมพนั ธ์ การศกึ ษาทดลองทฮ่ี อร์ทอร์น Hawthorn Study มขี ้ึนทบ่ี ริษทั Western ElectricCompany ในชิคำโก ระหว่ำง ค.ศ.1927-1932 กำรทดลองดังกลำ่ วไดเ้ กิดข้ึนภำยใต้ควบคุมของ Elton Mayo (เอลตัน เมโย) กำรศกึ ษำดงั กล่ำวนี้เริม่ ตน้ ดว้ ยกำรสำรวจควำมสมั พันธ์ระหวำ่ ง สภำพแวดล้อมทำงกำยภำพ (PhysicalEnvironment) กับประสทิ ธิภำพในกำรทำงำน (Productivity)

Khonkaen University วชิ าหลักการและระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาEducational Administration #2012 เรอ่ื ง แนวคดิ การบริหารเชงิ มนษุ ยสมั พนั ธ์ การศึกษาทดลองทีฮ่ อร์ทอรน์วิธีการศึกษา1.ศึกษำสภำพของห้องทำงำน(ใช้ระยะเวลำ 26 เดอื น) มที ั้งส้ิน 13 ข้นั ตอนในกำรทดลองครง้ั น้ี2.กำรสัมภำษณ์ (Interview Studies) ศึกษำจำกคนงำนจำนวน 21,000 คน ของโรงงำน Western Electric Company โดย เทคนคิ กำรสัมภำษณ์ ทำใหท้ รำบวำ่ โครงสร้ำงองค์กำรแบบไมเ่ ปน็ ทำงกำรมบี ทบำทและทำ หน้ำทเ่ี ป็นกลไกทำงสงั คม ต่อกำรเรียนรู้และกำรทำงำนของคนงำนรวมถึงมบี ทบำทเปน็ ตวั กำหนดคุณภำพของผลงำนของคนงำนด้วย3.กำรสงั เกต (Observation Studies) กำรสงั เกต เพอื่ สังเกตกำรปฏิบัติงำนของกล่มุ คนงำนพนั ขดลวดโทรศัพท์ โดยใช้ระบบ กำรตอบแทนตำมหลกั วทิ ยำศำสตร์กำรจัดกำร คอื ทำงำนไดม้ ำกไดค้ ำ่ ตอบแทนมำก

Khonkaen University วิชาหลักการและระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เรอื่ ง แนวคดิ การบริหารเชงิ มนษุ ยสมั พนั ธ์

Khonkaen University วิชาหลักการและระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เรอ่ื ง แนวคิดการบรหิ ารเชงิ มนษุ ยสัมพันธ์สรปุ ผลการศกึ ษาได้ ดังน้ี1. ปทัสถำนสังคม (ขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ ในกำรทำงำน) เป็น ตัวกำหนดปริมำณผลผลิต ไม่ใช้ปจั จัยดำ้ นกำยภำพ2. ควำมคิดท่ีว่ำคนเห็นแก่ตัว ตอ้ งกำรเงนิ ค่ำตอบแทนมำกๆเปน็ กำรมองแคบๆ3. พฤตกิ รรมของคนงำนถูกกำหนดโดยควำมสัมพันธ์ภำยในกลุม่4. สนบั สนนุ ใหม้ ีกำรทำวจิ ยั ด้ำนผนู้ ำตำ่ งๆ ผ้นู ำต้องเปดิ โอกำส ใหค้ นในองคก์ ำรเขำ้ มำมสี ่วนร่วมในกำรตัดสินใจ

Khonkaen University วชิ าหลักการและระบบการบริหารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เรื่อง แนวคดิ การบรหิ ารเชิงมนุษยสมั พนั ธ์ การศึกษาทดลอง ทฮี่ อรท์ อร์นการเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียตามแนวคิดของ Mayoขอ้ ดี ขอ้ เสีย1) ทฤษฎนี ีใ้ ห้ความสาคญั แก่คน 1) คำนึงเฉพำะปจั จัยกำรบรหิ ำรงำนมากกวา่ ระบบ โดยถอื ว่า จิตวทิ ยา ภำยในองคก์ ำรเทำ่ นั้นของคนงานสาคญั กว่ากฎเกณฑ์ และ 2) ยังมีกำรควบคมุ คนงำนด้ำนควำมคิดระเบียบตา่ ง ๆ ทีค่ วบคมุ พฤตกิ รรม และกำรควบคุมยงั เป็นส่งิ สำคญั อยู่2) คานงึ ถงึ พฤติกรรมของของคนทง้ั ใน เหมอื นกบั ทฤษฎเี ครอ่ื งจกั รท่ีควบคมุองค์การที่เปน็ ทางการและองค์การท่ีไม่เปน็ ทางการ

Khonkaen University วิชาหลกั การและระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เรอื่ ง แนวคดิ การบริหารเชิงมนษุ ยสัมพนั ธ์ เสนอทฤษฎลี ำดับข้ันของควำมต้องกำรโดยตั้งสมมติฐำนของกำรจงู ใจไว้ 3 ประกำร1. มนษุ ย์มคี วำมตอ้ งกำรอยู่ตลอดเวลำ2. ควำมต้องกำรที่รับกำรตอบสนองแล้วจะไม่เป็นแรงจงู ใจ หรอื เป็นส่ิงกระตุ้น สำหรบั พฤตกิ รรมน้ันอกี ตอ่ ไป3. ควำมตอ้ งกำรของคนมีลักษณะเป็นลำดบั ขัน้ จำกต่ำไปหำ สงู ตำมลำดับควำมสำคญั ประจักษ์ในคณุ คา่ ยกย่องและยอมรบั ความต้องการทางสงั คม ความตอ้ งการความมน่ั คง ความต้องการทางกายภาพ

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบริหารจดั การศกึ ษาEducational Administration #2012 เรื่อง แนวคดิ การบรหิ ารเชงิ มนุษยสมั พนั ธ์ได้เขยี นหนังสือช่อื The Human Side of Enterprise ได้อธิบำยไวว้ ่ำ กำรจูงใจคนงำนมีอยู่ 2 วิธี คือ วิธีเดมิ เรียกว่ำทฤษฎี X และวธิ ีแบบมนุษยสัมพนั ธเ์ รยี กวำ่ ทฤษฎี Y

Khonkaen University วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เร่อื ง แนวคดิ การบริหารเชิงมนุษยสมั พันธ์Douglas McGregor ดกั กลาส แมคเกรเกอร์ มนุษย์มีสนั ดำนขี้เกียจ พยำยำมหลกี เลี่ยงงำน มนษุ ยเ์ หน็ แก่ตัวคิดถงึ แต่ตวั เองมนษุ ย์มีนสิ ยั ตอ่ ต้ำนกำรเปลี่ยนแปลง มนษุ ยไ์ มฉ่ ลำดนกั ถกู หลอกง่ำยมนุษย์ทกุ คนมีความรับผิดชอบ มนุษยไ์ ม่เฉอ่ื ยชา มนุษยท์ กุ คนมพี ืน้ ฐานทด่ี ี

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบริหารจดั การศกึ ษา Educational Administration #2012 เรอ่ื ง แนวคิดการบรหิ ารเชงิ มนุษยสมั พนั ธ์Douglas McGregor ดกั กลาส แมคเกรเกอร์การเปรียบเทียบขอ้ ดีและขอ้ เสียตามแนวคดิ ของ McGregorขอ้ ดี ขอ้ เสยีทฤษฎนี ี้พยายามทาความเข้าใจ ทฤษฎนี ้ีพยำยำมทำควำมเข้ำใจพฤติกรรมของมนษุ ยเ์ พราะเห็นว่ามนุษย์ มนุษย์ แตไ่ มพ่ ยำยำมทจี่ ะแกพ้ ฤตกิ รรมสามารถบอกหรอื ให้เหตผุ ลตอ่ สงิ่ ที่ตนทาหรือ เหลำ่ นน้ั กลบั พยำยำมทีจ่ ะปรับปรงุ และสร้ำงชอบได้เสมอ การท่ใี ช้ศาสตร์ด้านอืน่ เชน่ การ งำนให้เหมำะกับคนมำกกว่ำซงึ่ น่ำจะเปน็ กำรจัดการแบบวทิ ยาศาสตร์มาใชใ้ นการบรหิ าร แกไ้ ขท้งั สองทำงเขำ้ ด้วยกนัละเลยความถกู ตอ้ งท่ีแท้จริงของมนษุ ย์ เป็นต้น

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบริหารจัดการศึกษาEducational Administration #2012 เร่อื ง แนวคดิ การบรหิ ารเชิงมนษุ ยสัมพันธ์ทฤษฎีการจูงใจกับสุขวทิ ยา Motivation – Hygiene- ปัจจยั ทางสุขวิทยา(Hygiene Factors) - ควำมเข้ำใจในนโยบำยและกำรบริหำรของบริษทั - กำรบงั คับบัญชำ - ควำมสัมพนั ธ์กับบคุ คลอื่น - เงินเดือน - สภำพแวดลอ้ ม- ปจั จัยจูงใจ (Motivation Factors)- ควำมสำเรจ็ ในกำรปฏิบัติงำน เฮิร์ชเบิร์กได้แนะนาการจงู ใจอกี 3 วิธี- กำรได้รบั กำรยอมรบั จำกคนอ่ืน +1. การปรับปรุงงาน- กำรมโี อกำสก้ำวหนำ้ ในงำน +2. การเพม่ิ ขยายงาน- กำรได้ทำงำนทถ่ี นัด +3. การหมนุ เวยี นสบั เปล่ยี น- ควำมรับผดิ ชอบทเ่ี หมำะสมกับตำแหน่ง ตาแหน่งงาน

Khonkaen University วิชาหลักการและระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาEducational Administration #2012 เร่ือง แนวคดิ การบรหิ ารเชิงมนษุ ยสมั พนั ธ์ ไดเ้ ขยี นหนังสือชื่อ Personality and Development โดย นาเสนอ ทฤษฎพี ัฒนาการดา้ นบุคลิกภาพ1. มนุษย์ท่มี ีสุขภำพจติ ดี2. กำรจัดองค์กำรแบบระบบรำชกำร เปน็ อปุ สรรค..3. กำรออกแบบองคก์ ำรแบบรำชกำร จะไมส่ ่งผลให้องค์กำรเกดิประสทิ ธผิ ล

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เร่อื ง แนวคดิ การบริหารเชงิ มนษุ ยสัมพันธ์ ศกึ ษาถึงความจาเปน็ ในการใชท้ รัพยากรมนษุ ย์และทุนประเภทอ่ืนๆ ในฐานะที่เป็นทรพั ย์สินท่มี คี ่าของกิจการจดุ มงุ่ หมายเพือ่ หาทางช่วยองค์การให้เปลีย่ นมมุ มองจาก x ใหเ้ ป็น Y โดยให้ความสาคัญกบั ปจั จยั สุขวิทยา และพฒั นาไปส่ปู ัจจยั จูงใจ

Khonkaen University วิชาหลักการและระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาEducational Administration #2012 เร่อื ง แนวคิดการบริหารเชงิ มนษุ ยสมั พนั ธ์ระบบการจัดการ 4 ระบบ ดงั น้ีระบบท่ี 1 ฝา่ ยจดั การไมม่ ีความมน่ั ใจหรอื ความไว้วางใจในผใู้ ตบ้ งั คับบัญชา ระบบที่ 2 ฝา่ ยจัดการเร่มิ มคี วามมั่นใจและไวว้ างใจในตวั ผูใ้ ต้บงั คับบญั ชาเพ่ิมข้นึ ในลักษณะเจา้ นายกับคนใช้ ระบบที่ 3 ฝ่ายจดั การมคี วามม่ันใจและไว้วางใจในตัว ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชามากแต่ก็ยงั ไมเ่ ตม็ ที่ ระบบที่ 4 ฝา่ ยจดั การมคี วามม่นั ใจและไว้วางใจในตวั ผู้ใต้บังคบั บัญชา อยา่ งเต็มที่ การตัดสินใจมีการกระจายไปสูท่ กุ ๆ สว่ นขององคก์ าร

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาEducational Administration #2012 เร่ือง แนวคิดการบริหารเชงิ มนษุ ยสัมพันธ์แนวคดิ ทฤษฎกี ารบริหารบนพื้นฐานของมนษุ ยสัมพันธ์1. ไม่ยึดมน่ั ในกระบวนกำร และผลลพั ธ์เพียงอยำ่ งเดียว2. ใหค้ วำมสำคัญกบั คนถอื ว่ำคนเปน็ ทรพั ยำกรทม่ี คี ่ำ3. ควำมแตกต่ำงของคน เป็นส่ิงทีด่ ี และ จำเปน็ ต่อกำรบริหำรองคก์ ำร4. ผู้บรหิ ำรตอ้ งมีควำมรดู้ ำ้ นกำรบรหิ ำรจัดกำร5. บรรยำกำศในกำรทำงำน เอ้ือต่อกำรปฏบิ ตั ิงำน6. ให้ควำมสำคัญตอ่ ควำมหมำยในควำมเปน็ มนุษย์7. ผู้บรหิ ำรต้องเปน็ ท่ยี อมรับของผใู้ ตบ้ ังคบั บญั ชำ

Khonkaen University วชิ าหลกั การและระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาEducational Administration #2012 เรื่อง แนวคดิ การบรหิ ารเชิงมนุษยสมั พันธ์การประยกุ ตใ์ ช้หลกั มนุษยสมั พนั ธใ์ นการบรหิ ารการศกึ ษา1. ผบู้ ริหำรควรสร้ำงมนษุ ยสมั พนั ธ์อนั ดีกบั ครูเป็นรำยบคุ คลและเป็นกล่มุ2. ปญั หำเร่อื งมนษุ ยสัมพนั ธ์ ซึง่ ในเบอ้ื งต้นไม่คอ่ ยมีควำมสำคญั แตต่ อ่ มำได้รบั กำรยอมรับมำกข้นึ3. ผูบ้ ริหำรสำมำรถสร้ำงภำวะผนู้ ำแบบประชำธปิ ไตยได้มำกกว่ำเพรำะตำแหน่งเออ้ื อำนวยให้4. ครูทุกคนรวมเป็นกลุ่มสงั คมทซี่ บั ซ้อน ผูบ้ ริหำรจะต้องรว่ มงำนกับครูเหล่ำนี้ดว้ ยควำมระมดั ระวงั5. ครแู ละเจ้ำหน้ำท่ีทุกคนท่ีไดร้ บั ผลกระทบกระเทอื นตอ่ กำรตดั สินใจควรจะมีสว่ นรว่ มในกำรตดั สนิ ใจ

Khonkaen University วชิ าหลักการและระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษา Educational Administration #2012 เรื่อง แนวคดิ การบรหิ ารเชงิ มนษุ ยสัมพนั ธ์ 1. บุคคลย่อมมีความแตกต่างกัน 6. บุคคลมีความรับผดิ ชอบ(individual difference) (responsibility) 2. การพิจารณาศึกษาบุคคลตอ้ งดทู ัง้ หมด 7. บคุ คลต้องการเอาใจเขามาใส่ในฐานะทบ่ี คุ คลนนั้ เปน็ บุคคลคนหน่ึง ใจเรา (empathy)3. พฤตกิ รรมของบุคคลแตล่ ะคนต้องมี 8. บุคคลต้องการผลประโยชนซ์ งึ่สาเหตุ (caused behavior) กนั และกัน (mutual interest)4. บคุ คลทกุ คนมศี ักดิศ์ รขี องความเปน็ 9. บคุ คลต้องการพฒั นาศักยภาพของมนุษย์ (human dignity) เสมอกัน ตนใหถ้ ึงขดี สุด (self development)5. บคุ คลตอ้ งการท่ีจะติดต่อสอ่ื สาร 10. บคุ คลต้องการทจี่ ะเรยี นร้แู ละมี(communications) ความรบั ผดิ ชอบ (responsibility)

Khonkaen University วชิ าหลักการและระบบการบรหิ ารจดั การศึกษาEducational Administration #2012 เรอ่ื ง แนวคดิ การบริหารเชงิ มนุษยสมั พันธ์ แนวคดิ การบริหารเชิงมนุษย์สัมพนั ธ์ https://bemler.files.wordpress.com/2012/06/hu manrelationapproach2012.pptx