กระบวนการขบั เคลื่อนการบริหารจัดการโดย ยดึ หลักการบริหารจดั การที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล Good Governance ดร.สมเดช สีแสง www.wachum.org/eBook/881101/goodgovernment1.ppt
1.เกร่ินนา 1.1 เหตุผลท่ตี ้องมกี ารบริหารกจิ การทด่ี ตี ามหลกั ธรรมาภบิ าล พระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ซ่ึงถือไดว้ า่ เป็นกฎหมายแมบ่ ทเกี่ยวกบั การนาการบริหารกิจการบา้ นเมืองท่ีดีฉบบั แรก ของไทย และในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 หมวด 5 มาตรา 78 (4) ท่ี บญั ญตั ิไวว้ ่า “...พฒั นาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพฒั นาคุณภาพ คุณธรรม และ จริยธรรมของเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ ควบคู่ไปกบั การปรับปรุงรูปแบบและวธิ ีการทางาน เพื่อให้ การบริหารราชการแผน่ ดินเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมใหห้ น่วยงานของรัฐใช้ หลกั การบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิราชการ” 1.2 การบริหารจัดการท่ดี ีกบั การบริหารการศึกษา “การปฏิรูปการศึกษา” ซ่ึงโดยส่วนใหญ่กจ็ ะม่งุ เนน้ ปรับเปล่ียนในมิติสาคญั เช่น การปฏิรูปการเรียนรู้ใหส้ ามารถเรียนรู้ไดท้ ุกท่ีทุกเวลาตลอดชีวติ การปฏิรูปการเรียนการสอนโดยเนน้ ท่ีผเู้ รียนเป็นสาคญั การปฏิรูปครู ยทุ ธศาสตร์ที่สาคญั ท่ีจะช่วยใหก้ ารปฏิรูปในมิติต่างๆ เหลา่ น้ีประสบความสาเร็จ กค็ ือ การกระจายอานาจในการบริหารจดั การศึกษาใหส้ ถานศึกษาและชุมชน
พระราชกฤษฎกี าว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกจิ การบ้านเมืองท่ดี ี พ.ศ. 2546หมวด 1 การบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดี (มาตรา 6)หมวด 2 การบริหารราชการเพอื่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ขุ ของ (มาตรา 7-มาตรา 8) ประชาชน (มาตรา 9-มาตรา 19)หมวด 3 การบริหารราชการเพือ่ ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธ์ิ (มาตรา 20-มาตรา 26) ต่อภารกิจของรฐัหมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ (มาตรา 27-มาตรา 32) (มาตรา 33-มาตรา 36) และเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรฐั (มาตรา 37-มาตรา 44)หมวด 5 การลดข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานหมวด 6 การปรบั ปรงุ ภารกิจของส่วนราชการ (มาตรา 45-มาตรา 49)หมวด 7 การอานวยความสะดวกและการตอบสนอง (มาตรา 50-มาตรา 53) ความตอ้ งการของประชาชน 3หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการหมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด
พระราชกฤษฎกี าว่าด้วยหลักเกณฑ์และวธิ ีการบริหารกจิ การบ้านเมอื งท่ดี ี พ.ศ. 2546 Strategic Managementแนวนโยบายพนื้ ฐานแหง่ รฐั แนวนโยบายของรฐั บาล Result Based Management ม.3 แผนบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ Public Participation ม.9(2) มเี ป้ าหมาย ผลสมั ฤทธ์ิ Transparency & และตวั ชวี้ ดั ผลสาเร็จ ม.16 แผนปฏบิ ตั กิ าร 4 ปี Responsiveness Customer-Driven ม.10 การบรู ณาการรว่ มกนั ม.16 แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี ม.8 KM/LO ปรับปรุงภารกจิ • วเิ คราะหผ์ ลดผี ลเสยี ม.33 ทบทวนภารกจิ อานาจหนา้ ท่ี • ฟังความเห็น ปชช. ม.11 องคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ • หากเกดิ ปัญหา รบี แกไ้ ข โครงสรา้ งและอตั รากาลัง ม.41-42 หากมขี อ้ รอ้ งเรยี น VFM/Activity-Based Costing ม.33 ทบทวนกฎหมาย ประกาศ ตอ้ งแกไ้ ข และตอบใหเ้ ขา้ ใจ ม.22 บญั ชตี น้ ทนุ ม.23 จัดซอื้ โปรง่ ใส คา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ หนว่ ย การปฏริ ปู ราชการ ม.25 วนิ จิ ฉัยโดยเร็ว ม.26 ส่งั การเป็ นลายลักษณอ์ กั ษร ม.22 การประเมนิ ความคมุ้ คา่ ม.37 กาหนดระยะเวลาแลว้ เสร็จ ม.43 ทกุ เรอื่ งเป็ นเรอ่ื งเปิดเผย ม.37 นา ICT มาใช้ ม.44 เผยแพรข่ อ้ มลู งบรายจา่ ย ม.45 มคี ณะผปู้ ระเมนิ อสิ ระประเมนิ ผลสมั ทธ์ิ คณุ ภาพความพอใจ ลดขนั้ ตอน 4 ของประชาชน ม.27 กระจายอานาจ ม.29 ทาแผนภมู ขิ น้ั ตอนม.46-47 ประเมนิ ผบู้ รหิ ารและผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ม.30-32 ศนู ยบ์ รกิ ารรว่ ม ม.48-49 รางวลั Business Process Reengineering Accountability
ข้อเสนอแนะในการปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษท่สี อง ปฏิรูประบบการศึกษา ท้ังการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัยให้ มี ความสอดรับซ่ึงกนั และกนั ปฏิรูปการเรียนรู้ ครอบคลุมท้ังหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ปฏิรูประบบการบริหาร และการจัดการศึกษาท้ังของรัฐและเอกชน โดยเน้นการ กระจายอานาจปฏิรูประบบทรัพยากรและการลงทุนเพ่ือการศึกษา โดยเน้นการระดมทรัพยากร เพอ่ื จดั การศึกษา ปฏิรูปครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เน้นการพัฒนามาตรฐานและ จรรยาบรรณของวชิ าชีพ และการพฒั นาครูประจาการ
สภาพและการดาเนินงานตามแนวทางการปฏริ ูปการศึกษาการปฏิรูประบบการศึกษา เน้นการศึกษาเป็ นกระบวนการเรียนรู้ท่ี เกิดขึ้นได้ ตลอดเวลาและทุกสถานท่ี ด้วยรูปแบบท่ีหลากหลายการปฏิรูปการเรียนรู้ เป็ นการปรับเปลีย่ นกระบวนการเรียนรู้ที่ยึดหลักการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้เต็มศักยภาพของ ผู้เรียน มีการปรับปรุงหลกั สูตรแกนกลางการปฏิรูประบบบริหารและการจัดการศึกษา เป็ นการเปล่ียนแปลงรูปแบบ โครงสร้างองค์กร การแบ่งส่วนงาน วธิ ีการ และกระบวนการบริหารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ หน่วยงานมอี ิสระ คล่องตัว
สภาพและการดาเนินงานตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูประบบทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา เป็ นการระดม ทรัพยากร ท้ังนี้ เป็ นตวั เงินและไม่ใช่ตวั เงนิ มาใช้ในการจัดการศึกษา มี การจัดสรรทรัพยากรและการบริหารและการใช้ทรัพยากรให้เกิดความ เสมอภาค เป็ นธรรมและมปี ระสิทธิภาพ การปฏิรูประบบครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เป็ นปัจจัย หลักสู่ความสาเร็จของการปฏิรูปการศึกษา เน้นการปรับระบบการ ผลิต การพัฒนา การส่งเสริมยกย่อง และยกระดับคุณภาพครูให้มี มาตรฐานวชิ าชีพเหมาะสมกบั การเป็ นวชิ าชีพช้ันสูง
ปัญหาที่เป็ นเหตุผลของการปฏริ ูปการศึกษาปัญหาการบริหารจัดการปัญหาคุณภาพการจดั การศึกษา
แนวทางการดาเนินงานการดาเนินการเชิงยทุ ธศาสตร์การดาเนินงานเชิงการบริหารจัดการการดาเนินงานเชิงการปฏิบัตกิ ารการดาเนินงานเชิงประเมนิ ผล
ชวนคดิ “โรงเรียนท่ีสามารถระดมการมีส่ วนร่วมของชุมชน นักเรียนบุคลากร องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคส่วนต่างๆ มามีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทาง บทบาทภารกิจ ร่วมดาเนินการภารกิจที่มีการจัดแบ่งความรับผิดชอบอย่างชัดเจน และร่วมตรวจสอบติดตามการดาเนินงาน จะมีโอกาสท่ีจะดาเนินงานไปสู่ความสาเร็จได้ดีกว่า”ท่านคิดว่าจริงหรือไม่ และจะมีปัญหาอุปสรรคใดบ้าง และควรป้ องกันแก้ไขอย่างไร
ชวนคดิ จากประสบการณ์ที่ผ่านมาของท่าน ท่านได้ใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาลในการบริหารสถานศึกษาของท่านในเร่ืองใดบ้าง และท่านมีวิธีดาเนินการอย่างไร ลองยกตัวอย่างมาเล่าสู่กันฟัง
สำคญั ถ้าผู้บริหารละเลยไม่นาการบริหาร จดั การท่ดี ตี ามหลกั ธรรมาภบิ าลมา ปฏบิ ตั ิ แล้วจะเป็ นอย่างไร? หน่วยงานจะทางานไม่คุ้มค่า ไม่โปร่งใส ไม่เป็ นธรรม ซ่งึ อาจถกู ร้องเรียน ประท้วง ฟ้ องร้องวุ่นวายได้ และหากไม่ปฏบิ ตั ติ าม กฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง กอ็ าจโดนฟ้ องข้อหา ละเลยไม่ปฏบิ ตั หิ น้าท่ไี ด้... จงึ เป็ นหน้าท่ี ตามกฎหมายท่ผี ู้บริหารควรทาความเข้าใจ
“เพ่อื การจดั การศึกษาท่ีมี “เพ่อื จดั การศึกษาท่ี คณุ ภาพ” ตอบสนองพระราชบญั ญัติ การศึกษาแห่งชาติ”
2. ความหมายของ “ธรรมาภิบาล” ธรรมาภบิ าล ( Good Governance) คอื การปกครอง การ บริหาร การจัดการการควบคุมดแู ล กจิ การต่าง ๆ ให้ เป็ นไปในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถงึ การบริหาร จัดการทด่ี ี ซง่ึ สามารถนาไปใช้ได้ท้งั ภาครัฐและเอกชน ธรรมทใี่ ช้ในการบริหารงานน้ี มีความหมายอย่างกว้าง กล่าวคือ หาได้มีความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนา เท่านั้น แต่รวมถงึ ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และ ความถกู ต้องชอบธรรมทงั้ ปวง ซง่ึ วญิ ญูชนพงึ มีและพงึ ประพฤตปิ ฏบิ ัติ อาทิ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การ ปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็ นต้น
ความสมดลุ ภายนอกความสุข ความสาเร็จ ภายใน
3. ความสาคญั ของหลักธรรมาภิบาล1. เป็ นหลกั การพนื้ ฐานในการสร้างความเป็ นธรรมในสังคม2. ถ้ามีธรรมาภิบาลในทุกระดับจะทาให้เกิดการพฒั นาท่ียง่ั ยืน โดยมี คนเป็ นศูนย์กลางทีแ่ ท้จริง3. ธรรมาภิบาล ช่วยลด บรรเทา หรือแก้ปัญหา ความขดั แย้งในองค์กร4. ธรรมาภิบาลจะช่วยให้สังคมมคี วามเข้มแขง็ ในทุกด้าน ท้ังทางคุณค่า และจติ สานึกทางสังคม5. ธรรมาภบิ าลจะช่วยลดปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง6. เป็ นแนวคดิ ท่ีเกอื้ หนุนสังคมประชาธิปไตย จะทาให้ประชาชนมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจและมีการตรวจสอบการทางาน
3. ความสาคญั ของหลักธรรมาภบิ าล7. ช่วยให้ระบบบริหารของรัฐมีความยตุ ิธรรมเป็ นทน่ี ่าเชื่อถือ8. หลักธรรมาภิบาลกลายเป็ นมาตรฐานสากลท่ีบ่งชี้ถึงระดับการพัฒนา ของประเทศ ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง หากสร้างธรรมาภิ บาลให้เกิดขึน้ ได้ย่อมหมายถึงการได้รับการยอมรับและเชื่อถือจาก สังคมระหว่างประเทศมากยง่ิ ขนึ้
4. องค์ประกอบของหลกั ธรรมาภบิ าล หลกั นิติธรรมหลกั ความคุ้มค่า หลักคุณธรรม หลกั ธรรมาภบิ าลหลักความ 6 ประการรับผดิ ชอบ หลักความโปร่งใส่ หลักความ มสี ่วนร่วม สานกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
4. องค์ประกอบของหลกั ธรรมาภบิ าลการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี Good Governanceประสทิ ธภิ าพ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน(Efficiency) (Participation)ความคมุ้ คา่ ของเงนิ เปิ ดเผยโปรง่ ใส(Value-for-money) (Transparency)ประสทิ ธผิ ล ตอบสนองความตอ้ งการ(Effectiveness) (Responsiveness)คณุ ภาพ กระจายอานาจ(Quality) (Decentralization)ภาระรบั ผดิ ชอบ นติ ธิ รรม (Rule of law)(Accountability) 19
หลักการบริหารกจิ การบ้านเมืองทด่ี ี Good Governance Principles การมสี ว่ นรว่ ม (Participation) นติ ธิ รรม (Rule of law) ความโปรง่ ใส (Transparency) การตอบสนอง (Responsiveness) การมงุ่ เนน้ ฉนั ทามติ (Consensus oriented)* ความเสมอภาค/ ความเทยี่ งธรรม (Equity) ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล(Efficiency&Effectiveness) ภาระรบั ผดิ ชอบ (Accountability) วสิ ยั ทศั นเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Vision)http://www.unescap.org/pdd/prs/ProjectActivities/Ongoing/gg/governance.asphttp://mirror.undp.org/magnet/policy/ 20
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ธรรมาภบิ าลพฤติกรรม (Behavior) คณุ ธรรม ธรรมาภบิ าล การปฏิบ ัติงาน (Operation)(Moral)(Good จรยิ ธรรม (Ethics) Governance) กลไก ควบคมุ ตนเอง โครงสรา้ ง ระบบ กระบวนการลดความสูญเสีย ขจดั รูร่ัวไหล ป้ องกนั การทุจริต ประพฤติ และดาเนินการที่มิชอบเพม่ิ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า โปร่งใส ตอบสนอง สุจริต ซื่อตรง เที่ยงธรรม 21www.themegallery.com Company Logo
เป้ าหมายและแนวทางในการบริหารจดั การที่ดตี ามหลกั ธรรมาภบิ าล
5. เครื่องมอื ในการเสริมสร้างการบริหารจดั การทดี่ ตี าม หลักธรรมาภิบาล SVM Strategic Vision Management HRM ABCHuman Resource Activity-Based Management Costing BPR Business Process Reengineering TQM RBM CTMTotal Quality ITM Cycle-TimeManagement Management Information Technology Managementการบูรณาการเคร่ืองมือทางการบริหารในการเสริมสร้างการบริหารจัดการที่ดี ตามหลกั ธรรมาภิบาล
5. เครื่องมือในการเสริมสร้างการบริหารจดั การทดี่ ตี าม หลกั ธรรมาภิบาล การวางแผนและการจัดการเชิงกลยทุ ธ์ 1 (Strategic Planning and Strategic Management) การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Result- 2 based Management) การบริหารกระบวนงาน (Business 3 Process Management)
การนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาประยุกต์ใช้4 (Information Technology Management) การบริหารต้นทุนฐานกจิ กรรม (Activity-5 based Costing and Management) การบริหารคุณภาพทว่ั ท้งั องค์การ (Total6 Quality Management) การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human7 Resource Management)
ชวนคดิ ลอ ง พิจ า ร ณ า ว่ า ส ถ า น ศึ ก ษ า / อ ง ค์ ก ร ข อ ง ท่ า น มี ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ข้อความทีก่ าหนดให้ดังต่อไปนีห้ รือไม่ ให้ใช้เคร่ืองหมาย หน้าข้อท่ีมี การดาเนินการในสถานศึกษาของท่าน มีการกาหนดแผนกลยุทธ์ท่ีระบุถึงบทบาท ภารกิจ กลยุทธ์ ท่ีบ่งบอกถึง จุดมุ่งเนน้ ในการดาเนินงานท่ีจะตอบสนองความตอ้ งการของผูเ้ รียน ชุมชน บุคลากร และผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียไวอ้ ย่างชดั เจน เพ่ือแสดงความมุ่งมน่ั ในการดาเนินงานอย่าง คุม้ ค่า เป็นธรรม อยา่ งโปร่งใสแลว้ หรือยงั มีการกาหนดตวั ช้ีวดั ความสาเร็จของผลงานดา้ นต่างๆ พร้อมท้งั การติดตามประเมินผล สาเร็จความกา้ วหนา้ เพ่ือใหส้ ามารถแสดงออกถึงความรับผิดรับชอบต่อผลสาเร็จของ งานอยา่ งโปร่งใส เป็นธรรมแลว้ หรือยงั
ชวนคดิ (ต่อ) มีการบริหารปรับปรุงกระบวนงานต่างๆ ให้รวดเร็ว กระชับ โปร่งใส และมีประสิทธิภาพคุ้มค่า แล้วหรือยัง มีการวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ว่ามีความคุ้มค่า ประหยดั และมคี วามพยายามท่ีจะบริหารต้นทุนเหล่านน้ันอย่างโปร่งใสชัดเจนแล้วหรือยัง มคี วามพยายามทจ่ี ะนาเทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามาช่วยในการเพมิ่ ประสิทธิภาพ ความรวดเร็ว ตลอดจรคุณภาพมาตรฐานในการดาเนินงานอย่างพอเพยี งแล้วหรือยงั มีการบริหารคุณภาพที่สามารถบอกได้ถึงความพยายามในการปรับปรุงคุณภาพและ ประสิทธิภาพในการดาเนินงานเรื่องต่างๆ อย่างต่อเน่ืองเพอื่ ไปสู่ความเป็ นเลิศแล้วหรือยงั มีการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลให้เขามีความรู้ความสามารถ ขีดสมรรถนะความสาเร็จ ก้าวหน้าและความสุขในงานได้อย่างเป็ นระบบ โปร่งใส เป็ นธรรมแล้วหรือยัง
6. ธรรมาภบิ าลกบั การบริหารการศึกษา กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา1 ให้กบั สถานศึกษาและเขตพนื้ ที่ การศึกษา พฒั นาระบบบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาลให้2 มปี ระสิทธิภาพ พั ฒ น า ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ พื่ อ เ พ่ิ ม โ อ ก า ส ท า ง3 การศึกษาอย่างมคี ุณภาพ
6. ธรรมาภบิ าลกบั การบริหารการศึกษา พฒั นาระบบบริหารจัดการ เพ่ือส่งเสริมสนับสนุน4 การมสี ่วนร่วมของประชาชน 1) ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชนในการจัดการศึกษา 2) ส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ให้เข้ามาร่วมจัดและสนับสนุนการ จัดการศึกษามากขึน้ พฒั นาระบบบริหารจัดการทรัพยากรเพอื่ การศึกษา5 ให้มปี ระสิทธิภาพ
7. การสร้างวฒั นธรรมการบริหารจัดการที่ดตี ามหลักธรรมาภิบาล 1. สิ่งท่ผี ้นู าให้ความสาคญั และคอยตดิ ตาม กากบั ดูแล และทุ่มเทกวดขันอย่เู สมอ กจ็ ะเป็ นส่ิงทีค่ นอน่ื ๆ ในองค์การต้องให้ความสาคญั ไปด้วย 2. ลกั ษณะการปฏบิ ัตงิ านและปฏิบัตติ นของผู้นาในสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็ นการบ่งบอกแก่สมาชิกท้ังหลายในองค์การว่าสิ่งใดทาได้ สิ่งใดทาไม่ได้ ซ่ึงบางคร้ังวธิ ีการแก้สถานการณ์ของผ้นู าอาจมผี ลต่อพฤตกิ รรมในองค์การมากกว่านโยบายทีป่ ระกาศไว้ 3. การจงใจปฏิบตั ติ นของผ้นู าให้เป็ นตวั อย่าง และการยกย่องบุคคลตวั อย่างในองค์การเป็ นการทาให้เห็นว่าค่านิยมทส่ี าคญั ขององค์การเป็ นอย่างไร 4. การทผ่ี ้นู าพยายามส่ือสารโดยตอกยา้ หลกั การและข้อควรปฏิบัตอิ ย่างสม่าเสมอคงเส้นคงวาในทุกๆ คร้ังตามทโ่ี อกาสจะอานวย กเ็ ป็ นอกี ส่ิงหนงึ่ ทีจ่ ะสะท้อนความเอาจริงเอาจังในการสร้างธรรมาภบิ าลขนึ้ ในองค์การ 5. หลกั เกณฑ์และวธิ ีการในการพจิ ารณาความดีความชอบ การลงโทษ และการแต่งต้งั โยกย้ายเลอื่ นข้นั เลอ่ื นตาแหน่ง กเ็ ป็ นอกี ปัจจยั ทส่ี าคญั ต่อวฒั นธรรมธรรมาภิบาลในองค์การ
“ธรรมาภบิ าลช่วยในการบริหารงานจริงหรือไม่?”
ชวนคดิ จากการปูพนื้ ความรู้ข้างต้นน้ันท่านลองวเิ คราะห์ความพร้อมในตัวของท่านเองว่าท่านมีความพร้อมในการบริหารจัดการที่ดตี ามหลักธรรมาภิบาลในสถานศึกษาของท่านหรือไม่ และมีแนวทางในการปฏิบัติอย่างไร มีประเด็นใดบ้างท่ีท่านคิดว่ายังไม่พร้อมและต้ องการความช่ วยเหลือด้ านใดเพ่ือใช้ ในการบริ หารงานภายในองค์ การของท่ านเป็ นไปตามหลักธรรมาภิบาล (เพอ่ื จะได้โยงไปสู่การจดั การความรู้)
8. การบริหารสถานศึกษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล
การเปลย่ี นแปลงและความเคลอื่ นไหวในการจดั การศึกษา ประการที่ 1 รัฐบาลไดอ้ อกพระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการบริหารกิจการ บา้ นเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ประการท่ี 2 การนาการบริหารจดั การฐานโรงเรียน (School Based Management: SBM) มาใชใ้ นการศึกษาข้นั พ้ืนฐานซ่ึงหลกั การบริหารโรงเรียนสอดคลอ้ งกบั หลกั การของธรร มาภิบาล เกือบท้งั หมด จึงเป็ นการสอดรับกบั พระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละ วธิ ีการบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ประการท่ี 3 ตามที่มี พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 39 ซ่ึงบญั ญตั ิไวว้ า่ มาตรา 39 กาหนดให้กระทรวงกระจาย อานาจการบริหารและการจดั การศึกษาท้งั ดา้ นวิชาการ งบประมาณ การบริหารงาน บุคคล และการบริหารทวั่ ไป ไปยงั คณะกรรมการและสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและ สถานศึ กษาใ น เ ขตพ้ืนที่ การศึ กษาโด ยตรง และ ใ น พ .ร.บ.ระ เบี ย บบริ ห าร กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 35 บญั ญตั ิไวว้ า่ “สถานศึกษาที่จดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามมาตรา 34 (2) เฉพาะท่ีเป็นโรงเรียนของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล เม่ือมีการ ยบุ เลิกสถานศึกษาตามวรรคหน่ึง ใหค้ วามเป็นนิติบุคคลสิ้นสุดลง”
9. การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภบิ าลในการบริหารความรับผดิ ชอบตรวจสอบได้ ความรับผิดชอบ คือ บุคคล องค์การ และผู้ที่ทาหน้าท่ีในการ ตดั สินใจ ซ่ึงหนา้ ที่เกี่ยวกบั การบริหารงานตอ้ งมีภาระความรับผิดชอบ ต่อสาธารณะเกี่ยวกบั การกระทา กิจกรรม หรือการตดั สินใจใด ๆ ซ่ึง ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ ความรับผิดชอบที่กล่าวมา หมายถึง การ เปิ ดเผยขอ้ มูล การมีความยุติธรรม ปฏิบตั ิต่อทุกคนดว้ ยความเสมอภาค และตรวจสอบได้ โปร่งใส และดาเนินการภายใตก้ รอบของกฎหมาย
9. การประยุกต์ใช้หลกั ธรรมาภบิ าลในการบริหารความโปร่งใส ความโปร่งใส หมายถึง การตดั สินใจและการดาเนินการต่าง ๆ อยู่บนกฎระเบียบชัดเจน การดาเนินงานของรัฐบาลในดา้ นนโยบาย ต่าง ๆ น้ัน สาธารณะชนสามารถรับทราบ และมีความมนั่ ใจไดว้ ่าการ ดาเนินงานของรัฐน้นั มาจากความต้งั ใจในการดาเนินงานเพ่ือใหบ้ รรลุผล ตามเป้ าหมายของนโยบาย
9. การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารการปราบปราบทุจริตและการประพฤตมิ ิชอบ การท่ี องค์การภาครั ฐใช้อานาจหน้าท่ี หรื อการแสวงหา ผลประโยชน์ในทางส่วนตวั เหล่าน้ีถือเป็นการทุจริต และการประพฤติ มิชอบท้งั ต่อองคก์ ารภาครัฐเองและองคก์ ารในภาคเอกชน การปรับปรุง ประสิทธิภาพในการทางานและการทาให้เกิดความโปร่งใส รวมไปถึง การปฏิรูประบบราชการจะเป็ นเคร่ืองมือในการปราบปรามการฉ้อฉล และเสริมสร้างธรรมาภิบาล
9. การประยกุ ต์ใช้หลักธรรมาภบิ าลในการบริหารการสร้างการมสี ่วนร่วม การมีส่วนร่วมเป็นการเปิ ดโอกาสใหก้ บั ประชาชน หรือผทู้ ี่มีส่วน เกี่ยวขอ้ งเขา้ มามีบทบาทในการตดั สินใจดาเนินนโยบาย มีส่วนร่วมใน การควบคุมการปฏิบัติงานของสถาบัน การมีส่วนร่วมจะก่อให้เกิด กระบวนการตรวจสอบ และเรียกร้องในกรณีท่ีเกิดความสงสัยใน กระบวนการทาดาเนินงานของรัฐไดเ้ ป็นอยา่ งดี
9. การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารการมีกฎหมายท่เี ข้มแขง็ ธรรมาภิบาลมีพ้ืนฐานการดาเนินการอยู่บนกรอบของ กฎหมายโดยไม่เลือกปฏิบตั ิ มีการให้ความเสมอภาคเท่าเทียม และเป็ น ธรรมกบั ทุกฝ่ าย มีกฎหมายท่ีเขม้ แขง็ มีการระบุการลงโทษที่ชดั เจนและ มีผลบงั คบั ใชไ้ ดจ้ ะเป็ นส่ิงท่ีช่วยพฒั นาระบบการปกครองเพื่อป้ องกนั การละเมิด หรือฝ่ าฝื น การมีระบบกฎหมายท่ีดีจะส่งเสริมการปกครอง ตามหลกั นิติธรรม
9. การประยกุ ต์ใช้หลกั ธรรมาภิบาลในการบริหารการตอบสนองที่ทนั การ ธรรมาภิบาล หมายถึง การใหก้ ารตอบสนองท่ีทนั การต่อผู้ มีส่วนเก่ียวขอ้ งทุกฝ่ าย ในเวลาท่ีทนั การความเห็นชอบร่วมกนั สงั คมท่ีประกอบดว้ ยบุคคลท่ีมีความคิดเห็นแตกต่างกนั ไป ธรรมาภิบาลจะทาหนา้ ที่เป็นตวั กลางในการประสานความตอ้ งการที่ แตกต่างใหบ้ นพ้ืนฐานของประโยชนส์ ่วนรวมและขององคก์ ารเป็นหลกั
9. การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภบิ าลในการบริหารประสิทธิภาพและประสิทธิผล ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ใ น ห ลัก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล น้ ัน ตอ้ งการใหม้ ีการใชท้ รัพยากรต่าง ๆ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด และคุม้ ค่าความเสมอภาคและความเกยี่ วข้อง หลกั ธรรมาภิบาลจะเน้นให้บุคลากรทุกคนในองค์การรู้สึกมี ส่วนร่วมหรื อรู้สึกเป็ นส่วนหน่ึงกับองค์การ บุคคลสามารถมีส่วน เกี่ยวขอ้ งในกิจกรรมหลกั ท่ีจะช่วยสร้างความเติบโตให้กบั หน่วยงาน
ตวั อย่าง : การรับผดิ ชอบของผู้บริหารสถานศึกษา ผอ. : ผมมโี ครงการให้คณุ ทา รายละเอยี ดอย่ใู นแฟ้ มนะลองอ่านดู ครู : ครับได้ครับเดย๋ี วผมขออ่านรายละเอยี ดดูก่อน …เวลาผ่านไป 10 นาที ผอ. : อ่านแล้วเข้าใจนะ แล้วจะทาได้ไหม ครู : ครับ ผมอ่านแล้วเข้าใจดคี รับ... มนั่ ใจว่าทาได้ครับ เมอ่ื คยุ และทาความเข้าใจเกยี่ วกบั โครงการเสร็จแล้วครูผู้ปฏบิ ัตงิ านกน็ าโครงการน้นั ไป สู่การปฏิบัติ แต่เมอ่ื เวลาผ่านไป 1 สัปดาห์ กลบั พบว่าเกดิ ความผดิ พลาดขึน้ ทาให้ครูคนอน่ื ๆ ในโรงเรียนเกดิ ความไม่พอใจในการดาเนนิ งานในโครงการนี้ ครู : ผอ. ครับ คอื ว่าผมเสียใจที่เกดิ ความผดิ พลาดในคร้ังนขี้ ึน้ ผมขอโทษครับ ผมขอรับผดิ ชอบเองครับ ผอ. : ความผดิ พลาดมนั เกดิ ขึน้ ไปแล้วโทษคณุ คนเดยี วกไ็ ม่ถูกหรอกนะผมเองกต็ ้องมสี ่วนรับผดิ ชอบด้วยเช่นกนั
10. ตัวอย่างขนั้ ตอนการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าล ข้นั ตอนท่ี การจดั ต้งั คณะกรรมการเพ่ือสนบั สนุนการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและเพื่อให้เป็ นไปตามนโยบายท่ีกาหนด และความดาเนินการตามหลกั ความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ โดยท่ีคณะกรรมการพึงคดั เลือกบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ท่ีเป็ นประโยชน์โดยตรงต่อหน้าท่ีท่ีไดร้ ับมอบหมาย และยงั ตอ้ งเป็ นบุคคลท่ีซื่อตรง มีหลกั การและยึดถือความถกู ตอ้ ง
10. ตัวอย่างขนั้ ตอนการบริหารสถานศึกษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล ข้นั ตอนท่ี กาหนดนโยบายเก่ียวกบั ธรรมาภิบาล ซ่ึงเป็ นปัจจัยท่ีเป็ นประโยชน์อย่างย่ิงต่อสถานศึกษาเพราะจะช่วยให้สถานศึกษาสามารถดาเนินการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการวางกรอบทิศทางและนโยบายของสถานศึกษาน้นั ตอ้ งมีการกาหนดนโยบายของเร่ืองน้ีไวอ้ ย่างชัดเจน และมีมาตรการผลกั ดันให้มีการปฏิบตั ิตาม
10. ตัวอย่างขน้ั ตอนการบริหารสถานศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาล ข้ันตอนที่ กาหนดทิศทาง นโยบาย เป้ าหมายและยุทธศาสตร์ เพื่อควบคุมและประเมินผลการดาเนินงานให้เป็ นไปตามแนวทางที่วางไว้เป็ นระยะ โดยคณะกรรมการพจิ ารณาถึงความเหมาะสมในการเข้ามามสี ่วนร่วมและแสดงบทบาทในการกาหนดทิศทาง นโยบายเป้ าหมายและยุทธศาสตร์ของสถานศึกษาเพอื่ ให้คณะกรรมการสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ นาความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญและข้อเสนอแนะที่เป็ นประโยชน์แก่สถานศึกษาในการดาเนินการตามแนวทางท่ีวางไว้อย่างสัมฤทธ์ิผล
10. ตัวอย่างขน้ั ตอนการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าล ข้ันตอนที่ การกากับติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน สถานศึกษาตอ้ งสร้างระบบติดตามและประเมินผลข้ึนมาเพ่ือกากบั การดาเนินงานตามแผนการทางาน ซ่ึงสามารถทาไดอ้ ย่างเป็ นทางการและไมเ่ ป็นทางการและนาสารสนเทศไปสู่การปรับปรุงแผนการดาเนินงาน ข้นั ตอนที่ การเผยแพร่ผลการดาเนินงาน น่ีถ้าประชาคมได้รู้ว่า เราได้ทาอะไรมากมายขนาด ไหน เพ่ือให้เขาได้มีสถานศึกษาท่ีมีธรรมาภิบาล เขาคงจะเต็มใจมาช่วยเราพัฒนาเร่ืองอ่ืนๆ ได้อีก เยอะเลยนะ
ชวนคดิ จากกระบวนการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลท่านเห็นตัวอย่างที่ดีในการบริหารเช่นน้ีจากท่ีใดบา้ ง ลองยกมาเป็ นตวั อยา่ งเพื่อให้เห็นภาพการบริหารคุณภาพการศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาลไดช้ ดั เจนยง่ิ ข้ึน
ทดสอบความเข้าใจ
แบบทดสอบความเข้าใจ1. จงออกแบบการบริหารสถานศึกษาของท่านตามหลกั ธรรมาภิบาลโดย จาแนกงานบริหารท้งั 4 ด้าน2. จงยกตัวอย่างโรงเรียนท่ีมีการบริหารจัดการที่ดีตามหลกั ธรรมาภิบาล ที่ไม่ ซ้ากับกรณีศึกษาเล่มนี้ พร้ อมอธิบายรูปแบบการบริหาร สถานศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยสาคญั ที่ส่งผลต่อความสาเร็จ
ฝากให้จาและนาไปใช้
Search