Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทาจิกิ

ทาจิกิ

Published by ธนโชติ คมคาย, 2020-02-06 22:48:53

Description: ทาจิกิ

Keywords: งานนี่ เป้นระบบเศรษฐกิจ

Search

Read the Text Version

ระบบเศรฐกิจ จดั ทาโดย นายธนโชติ คมคาย เลขท่ี12 แผนกคอมธรุ กิจ นาเสนอโดย อาจารย์ นางสาวยศวดี สือพฒั ธิมา อาจารย์ จนั ทนา ลยั วรรณา รายงานเลม่ น่ีเป็นสว่ นหนงึ่ ของวชิ าเศรษฐศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2561 วิทยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี จงั หวดั จนั ทบรุ ี

คานา รายงานเล่มนี้จัดทาขนึ้ เพือ่ เปน็ สว่ นหนึง่ ของเพื่อใหไ้ ด้ศกึ ษาหาความรู้ในเรอ่ื งระบบ เศรษฐกจิ และไดศ้ กึ ษาอยา่ งเข้าใจเพ่ือเปน็ ประโยชน์กับการเรียน ผูจ้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเลม่ นีจ้ ะเปน็ ประโยชนก์ บั ผอู้ ่าน หรือนกั เรยี น นักศกึ ษา ที่กาลงั หา ขอ้ มลู เรอ่ื งนีอ้ ยหู่ ากมขี ้อแนะนาหรอื ข้อผดิ พลาดประการใด ผู้จัดทาขอนอ้ มรับไว้และขออภยั มาณะท่ีน้ีด้วย ผู้จดั ทานายธนโชติ คมคาย วนั ท่ี2 กภุ าพันธ์ 2563

สารบญั คานา ก สารบญั ข ขอ้ มลู ทว่ั ไป 1-3 การเมืองการปกครอง 3-7 เศรษฐกิจ 7-16 บรรณานกุ รม 17

1 สาธารณรัฐทาจกิ ิสถาน Republic of Tajikistan ขอ้ มูลทวั่ ไป ที่ต้งั อยทู่ างตอนใตข้ องภูมิภาคเอเชียกลาง ระหวา่ งอุซเบกิสถานและจีน โดยร้อยละ ๙๐ ของภมู ิ ประเทศเป็ นภูเขา พ้ืนที่ ๑๔๓,๑๐๐ ตารางกิโลเมตร ประชากร ๘.๒ ลา้ นคน (๒๕๕๘) แบ่งเป็นชาวทาจิก ร้อยละ ๘๔.๓ ชาวอุซเบก ร้อยละ ๑๒.๒ ชาวรัสเซีย ร้อยละ ๐.๕ ชาวคีร์กีซ ร้อยละ ๐.๘ ชาวเติร์กเมน ร้อยละ ๐.๒ และอื่นๆ ร้อย ละ ๒ เมืองหลวง ดูชานเบ (Dushanbe) ภาษาราชการ ภาษาทาจิก แต่มีการใชภ้ าษารัสเซียแพร่หลายในภาครัฐและภาคเอกชน และ ประชากรประมาณ ๙ แสนคนใชภ้ าษาอุซเบก

2 ศาสนา อิสลาม นิกายสุหน่ี (Hanafism) ร้อยละ ๙๖.๖ นิกายชีอะห์ (Ismailism) ร้อยละ ๒.๘ อื่นๆ ร้อยละ ๐.๖ ภมู ิอากาศ ภูเขาสูงแบบภาคพ้นื ทวปี (ฤดูหนาว อากาศหนาวจดั ฤดูร้อน อากาศร้อนจดั ) เวลา เร็วกวา่ มาตรฐาน GMT ๖ ชว่ั โมง วนั ชาติ ๙ กนั ยายน วนั สถาปนาความสัมพนั ธท์ างการทูตกบั ประเทศไทย ๕ สิงหาคม ๒๕๓๕ (ค.ศ. ๑๙๙๒) ระบบการเมือง ประชาธิปไตยโดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและบริหารประเทศ ประมุข ประธานาธิบดี นาย Emomali Rahmon นายกรัฐมนตรี นาย Qohir Rasulzoda รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ นาย Sirojiddin Muhriddin การเมืองการปกครอง การเมืองหลงั การประกาศเอกราช

3 สาธารณรัฐทาจิกิสถานไดร้ ับเอกราชภายหลงั การล่มสลายของสหภาพโซเวยี ตเม่ือวนั ที่ ๙ กนั ยายน ๒๕๓๔ ก่อนไดร้ ับเอกราชการเมืองภายในประเทศขาดเสถียรภาพเนื่องจากเกิดความ ขดั แยง้ ภายในประเทศจากกระแสต่อตา้ นคอมมิวนิสต์ และขบวนการชาตินิยมเช่นเดียวกบั ในรัฐ อ่ืน ๆ ของสหภาพโซเวยี ต นาไปสู่การจลาจลและสงครามกลางเมือง ต่อมาในปี ๒๕๓๕ นาย Rahmon Nabiyev ประธานาธิบดีทาจิกิสถานซ่ึงเป็นผนู้ าคอมมิวนิสตถ์ ูกบงั คบั โดยกลุ่มผู้ เดินขบวนประทว้ งใหย้ อมรับรัฐบาลผสมท่ีเกิดจากการรวมกลุ่มอิสลามและกลุ่มประชาธิปไตย สถานการณ์เร่ิมรุนแรงข้ึนเมื่อกลุ่มกองกาลงั ติดอาวธุ ของประธานาธิบดี Nabiyev ผลกั ดนั ให้ กลุ่มอิสลามและกลุ่มประชาธิปไตยถอนตวั ออกจากรัฐบาลผสม และก่อต้งั กลุ่ม neo-communis ข้ึน ในปี ๒๕๓๗ ประธานาธิบดี Nabiyev ไดล้ าออกจากตาแหน่ง นาย Emomali Rahmon ซ่ึงดารง ตาแหน่งประธานสภาในขณะน้นั จึงไดเ้ ป็นหวั หนา้ รัฐบาลโดยปริยาย ในขณะเดียวกนั กลุ่ม ต่อตา้ นรัฐบาลนาโดยพรรค Islamic Rebirth Party (IRP) ไดอ้ พยพออกนอกประเทศพร้อมดว้ ย ประชาชนหลายหม่ืนคนไปต้งั มน่ั อยทู่ างภาคเหนือของอฟั กานิสถาน และกลบั เขา้ มาปฏิบตั ิการ แบบกองโจรในทาจิกิสถาน ทาใหร้ ัฐบาลทาจิกิสถานตอ้ งพ่งึ พากองกาลงั รัสเซียดูแลแนว ชายแดนทาจิกิสถาน-อฟั กานิสถาน และมีการสูร้ บยดื เย้อื เป็นเวลาหลายปี นานาชาติไดพ้ ยายาม แกไ้ ขปัญหาความขดั แยง้ ของทาจิกิสถาน โดยเฉพาะรัสเซียและอิหร่าน ซ่ึงไดม้ ีส่วนในการ จดั การเจรจาระหวา่ งรัฐบาลทาจิกิสถานและกลุ่มต่อตา้ นใหม้ ีการตกลงหยดุ ยงิ ชวั่ คราวในปี ๒๕๓๗ และไดข้ อใหส้ หประชาชาติเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั การเจรจาเพื่อแกไ้ ขปัญหา เลขาธิการสหประชาชาติในขณะน้นั จึงไดเ้ สนอใหม้ ีการจดั ต้งั คณะผสู้ ังเกตการณ์แห่ง สหประชาชาติ (the United Nation Mission of Observers in Tajikistan: UNMOT) เขา้ ดูแล กระบวนการสนั ติภาพ อยา่ งไรกด็ ี ท้งั สองฝ่ ายเร่ิมละเมิดขอ้ ตกลงหยดุ ยงิ และมีการสู้รบเพ่ิมมาก ข้ึน โดยเฉพาะฝ่ ายต่อตา้ นรัฐบาลเร่ิมรุกเขา้ ยดึ ครองพ้นื ที่ส่วนใหญ่ของประเทศ ในปี ๒๕๔๐ ดว้ ยความร่วมมือระหวา่ งอิหร่าน รัสเซีย และสหประชาชาติ สามารถโนม้ นา้ วใหท้ ้งั สองฝ่ าย มีการลงนามสนธิสญั ญาสนั ติภาพระหวา่ งประธานาธิบดี Emomali Rahmon

4 กบั นาย Sayed Abdulla Nuri ผนู้ ากลุ่มแนวร่วมต่อตา้ นรัฐบาล (United Tajik Opposition - UTO) เมื่อวนั ที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๐ โดยใหม้ ีการจดั ต้งั คณะกรรมาธิการเพอื่ ความปรองดองแห่งชาติ ทาการดูแลการส่งผลู้ ้ีภยั คืนถิ่น ตลอดจนการปลดอาวธุ กลุ่มติดอาวธุ ต่าง ๆ และเร่ิมกระบวนการ ประชาธิปไตยเพ่ือใหม้ ีการเลือกต้งั ทวั่ ไปอยา่ งยตุ ิธรรม อยา่ งไรกด็ ี ในช่วงแรกภายหลงั การลงนามสนธิสญั ญาสนั ติภาพ ขอ้ ตกลงยงั ไดร้ ับการปฏิบตั ิ ตามไม่มากนกั ยงั มีการละเมิดขอ้ ตกลงหยดุ ยงิ จากท้งั สองฝ่ ายอยเู่ ร่ือยๆ แต่รัฐบาลทาจิกิสถานได้ เรียกร้องให้ UNMOT ตลอดจนประเทศผคู้ ้าประกนั ความตกลงฯ ใหเ้ ขา้ มามีบทบาทในการยตุ ิ การใชก้ าลงั อาวธุ ของกลุ่ม UTO โดย UNMOT ไดส้ ่งกองกาลงั รักษาสันติภาพ จานวน ๗๐ คน เขา้ ไปสังเกตการณ์กระบวนการสนั ติภาพในทาจิกิสถาน และจดั ใหม้ ีการเจรจาระหวา่ ง ฝ่ ายรัฐบาลและฝ่ ายคา้ นจนกระทง่ั สามารถจดั ใหม้ ีการเลือกต้งั ประธานาธิบดีข้ึนเมื่อเดือน พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ซ่ึงประธานาธิบดี Rahmon ไดร้ ับการเลือกต้งั ใหด้ ารงตาแหน่งเป็นสมยั ท่ี สอง หลงั จากน้นั ในเดือนมิถุนายน ๒๕๔๖ ไดม้ ีการลงประชามติใหป้ ระธานาธิบดี Rahmon สามารถลงสมคั รรับเลือกต้งั ไดอ้ ีก ๒ สมยั (วาระ ๗ ปี ) ติดต่อกนั หลงั จากหมดวาระในปี ๒๕๔๙ จนเม่ือวนั ท่ี ๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ ทาจิกิสถานไดจ้ ดั การเลือกต้งั ประธานาธิบดี ซ่ึงผลเป็นไป ตาม ความคาดหมายคือประธานาธิบดี Rahmon ไดร้ ับชยั ชนะและปกครองประเทศต่อเนื่องเป็น ปี ที่ ๑๔ อยา่ งไรกต็ าม พรรคการเมืองฝ่ ายคา้ นท่ีสาคญั ๓ พรรค ไดแ้ ก่ (๑) Islamic Revival Party (๒) Democratic Party และ (๓) Social Democratic Party ไม่ส่งผสู้ มคั รเขา้ แข่งขนั และ ประกาศไม่ยอมรับผลการเลือกต้งั โดยใหเ้ หตุผลวา่ การเลือกต้งั คร้ังน้ีไม่โปร่งใส และพรรค รัฐบาลจากดั สิทธิพรรคการเมืองอื่นในการเขา้ ถึงส่ือทุกประเภท ในขณะท่ีองคก์ ารเพื่อความ มน่ั คงและความร่วมมือในยโุ รป (OSCE) ซ่ึงส่งคณะผสู้ งั เกตการณ์ จานวน ๑๗๐ คน เพอ่ื ติดตาม การเลือกต้งั ในทาจิกิสถานระบุวา่ การเลือกต้งั คร้ังน้ีไม่มีสัญญาณของการแข่งขนั อยา่ งแทจ้ ริง และขาดตวั เลือกทางการเมือง (lack of political alternatives)

5 สถานการณ์การเมืองในปัจจุบนั ทาจิกิสถานจดั การเลือกต้งั ประธานาธิบดีเมื่อวนั ที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ซ่ึงนาย Rahmon ประธานาธิบดีทาจิกิสถานคนปัจจุบนั ไดร้ ับชยั ชนะจากการเลือกต้งั อยา่ งขาดลอย ดว้ ยคะแนน เสียงร้อยละ ๘๓.๑ จากผมู้ าใชส้ ิทธิท้งั สิ้นร้อยละ ๘๖.๖ ผลการเลือกต้งั ดงั กล่าวทาใหน้ าย Rahmon สามารถดารงตาแหน่งประธานาธิบดีทาจิกิสถานไปอีก ๗ ปี (๒๕๕๖-๒๕๖๓) เป็น สมยั ที่ ๔ รวมระยะเวลาการปกครองประเทศ ๒๒ ปี อน่ึง การเลือกต้งั ประธานาธิบดีทาจิกิสถาน คร้ังต่อไป จะมีข้ึนในปี ๒๕๖๓ เม่ือวนั ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ไดม้ ีการจดั การเลือกต้งั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร ปรากฏวา่ พรรคการเมืองไดร้ ับคะแนนเสียงเรียงตามลาดบั ไดแ้ ก่ (๑) พรรค People’s Democratic Party จานวน ๕๑ ท่ีนง่ั (๒) พรรค Agrarian Party ๕ ที่นง่ั (๓) พรรค Party of Economic Reforms ๓ ที่นง่ั (๔) พรรค Communist Party ๒ ที่นงั่ (๕) พรรค Socialist Party ๑ ท่ีนง่ั และ (๖) พรรค Democratic Party ๑ ท่ีนง่ั ผลการเลือกต้งั คร้ังน้ีแสดงถึงฐานอานาจท่ีมนั่ คงและฐานเสียงท่ีจะ สนบั สนุนการปกครองของประธานาธิบดี Rahmon เนื่องจากสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎรที่ไดร้ ับเลือกส่วนใหญ่มาจากพรรคการเมืองที่จดั ต้งั ข้ึนเพ่อื สนบั สนุน ประธานาธิบดี (มีเฉพาะพรรค Communist Party ท่ีไดร้ ับ ๒ ที่นงั่ ที่ไม่ใช่พรรคท่ีสนบั สนุน รัฐบาล) ปัจจุบนั แมป้ ระธานาธิบดีจะมีอานาจควบคุมการบริหารประเทศเกือบทุกมิติแต่ตาม บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญ มีประเดน็ สาคญั ทางนโยบายบางประเดน็ ที่ตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบ โดยรัฐสภา อาทิ นโยบายเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การประกาศกฎอยั การศึกการใหส้ ตั ยาบนั ในสนธิสญั ญาระหวา่ งประเทศ และการแต่งต้งั และถอดถอนผดู้ ารงตาแหน่งสาคญั เม่ือวนั ที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๘ สาธารณรัฐทาจิกิสถานจดั การเลือกต้งั วฒุ ิสมาชิก (Majlisi Milli) จานวน ๓๓ คน โดย ๒๕ คน มาจากการเลือกต้งั โดยสภาทอ้ งถิ่น โดยการลงคะแนนเสียง ลบั ส่วนอีก ๘ คน มาจากการแต่งต้งั โดยประธานาธิบดีฯ มีวาระการดารงตาแหน่ง ๕ ปี อยา่ งไร กด็ ี การที่สมาชิกรัฐสภาส่วนใหญ่ใหก้ ารสนบั สนุนประธานาธิบดี มีนยั วา่ ประธานาธิบดีมี อานาจเบด็ เสร็จในการบริหารประเทศ

6 แมว้ า่ ประชาชนส่วนใหญ่ในทาจิกิสถานจะนบั ถือศาสนาอิสลาม และเสรีภาพในการนบั ถือ ศาสนาจะระบุอยใู่ นรัฐธรรมนูญ แต่ในความเป็นจริงน้นั พิธีกรรมหรือการแสดงออกทางศาสนา ถกู ควบคุมโดยเขม้ งวดจากรัฐบาลเน่ืองจากประธานาธิบดีทาจิกิสถานมีนโยบายควบคุมศาสนา การป้ องปรามการขยายตวั ของกลุ่มมุสลิมหวั รุนแรง รวมท้งั ความเคลื่อนไหวทางการเมืองซ่ึงมกั เกี่ยวขอ้ งกบั กลุ่มศาสนา ดว้ ยการออกกฎหมายต่าง ๆ อาทิ การจดทะเบียนกลุ่มศาสนา การหา้ ม บุรุษไวเ้ ครา การหา้ มสตรีใส่ผา้ คลุมผม (Hijab) การกาหนดอายขุ องผเู้ ดินทางไปแสวงบุญท่ีนคร เมกกะห์ตอ้ งมากกวา่ ๓๕ ปี การหา้ มผเู้ ยาวอ์ ายตุ ่ากวา่ ๑๘ ปี เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา การ หา้ มผปู้ กครอง มิใหต้ ้งั ลูกดว้ ยภาษาอาหรับ ดว้ ยเหตุน้ี ทาใหม้ ีกลุ่มมุสลิมในทาจิกิสถานแสดง ความไม่พอใจในนโยบายดงั กล่าวและมีปฏิกริยาต่อตา้ นอยเู่ นืองๆ อาทิ เม่ือเดือนมีนาคม ๒๕๕๘ นาย Gulmurod Khalimov ผบู้ ญั ชาการกองกาลงั ปฏิบตั ิการพเิ ศษ สานกั งานตารวจ แห่งชาติทาจิกิสถาน ไดเ้ ผยแพร่คลิปวดี ีทศั น์การเขา้ ร่วมเป็นนกั รบกองกาลงั รัฐอิสลาม (IS) ใน ซีเรีย ปัจจุบนั รัฐบาลทาจิกิสถานยงั คงมีความหวาดระแวงต่อความเคล่ือนไหวของฝ่ ายตรงขา้ ม รัฐบาล โดยเฉพาะกลุ่มลทั ธิสุดโต่ง กลุ่มก่อการร้าย Hizb ut-Tahrir และกลุ่มนกั เคล่ือนไหวทาง การเมือง Group 24 วา่ เป็นภยั ต่อความมนั่ คงและอาจลม้ ลา้ งการปกครองของประธานาธิบดี Rahmon โดยล่าสุด รัฐสภาทาจิกิสถานไดป้ ระกาศวนั จดั การลงประชามติแกไ้ ขรัฐธรรมนูญทาจิ กิสถานในวนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ซ่ึงวาระสาคญั ไดแ้ ก่ (๑) เสนอใหป้ ระธานาธิบดี Rahmon ไดร้ ับตาแหน่งประธานาธิบดีตลอดชีวติ (president for life) หลงั หมดวาระในปี ๒๕๖๓ (๒) ลดเกณฑก์ าหนดอายขุ องผมู้ ีสิทธิลงสมคั รรับเลือกต้งั ประธานาธิบดีทาจิกิสถานจาก ๓๕ เป็น ๓๐ ปี (นาย Rustam Emomali ซ่ึงปัจจุบนั อายุ ๒๗ ปี บุตรชายคนโตของนาย Rahmon ถกู กาหนดใหเ้ ป็นผสู้ ืบทอดทางการเมือง) และ (๓) หา้ มการลงสมคั รรับเลือกต้งั ของ พรรคการเมืองท่ีก่อต้งั จากความเชื่อทางศาสนา (เพ่อื กีดกนั พรรคการเมืองฝ่ ายตรงขา้ มโดยเฉพาะ Islamic Renaissance Party of Tajikistan)

7 เศรษฐกิจ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมประชาชาติ (GDP) ๘.๕ พนั ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ (ปี ๒๕๕๘) รายไดป้ ระชาชาติต่อหวั ๒,๘๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ (ปี ๒๕๕๘) การขยายตวั ทางเศรษฐกิจ ร้อยละ ๒.๐ (ปี ๒๕๕๘) อตั ราเงินเฟ้ อ ร้อยละ ๘.๐ (ปี ๒๕๕๘) อตั ราการวา่ งงาน ร้อยละ ๒.๕ (ปี ๒๕๕๘) อุตสาหกรรม (GDP) ถ่านหิน ลิกไนต์ ซีเมนต์ ฝ้ าย อลูมิเนียม ส่ิงทอ ซีเมนต์ เครื่องหนงั ทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานน้า อลมู ิเนียม แร่พลวง (Antimony Ore) ถ่านหิน ทองคา เงิน ตะกวั่ สินคา้ นาเขา้ ท่ีสาคญั แร่ธาตุ ผลผลิตทางการเกษตร เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ ไฟฟ้ า (ในฤดูหนาว) เคมีภณั ฑ์ ยานพาหนะ สินคา้ ออกที่สาคญั ไฟฟ้ า (ส่งใหแ้ ก่อฟั กานิสถาน) สิ่งทอ ฝ้ าย โลหะ ทอง อลูมิเนียม ตลาดนาเขา้ ท่ีสาคญั รัสเซีย (ร้อยละ ๓๐.๕) จีน (ร้อยละ ๒๒.๒) คาซคั สถาน (ร้อยละ ๑๖.๒) ตุรกี (ร้อยละ ๓.๙) อิหร่าน (ร้อยละ ๓.๖) สวติ เซอร์แลนดแ์ ละเติร์กเมนิสถาน (ร้อยละ ๓.๑) ลตั เวยี (ร้อยละ ๑๒.๖) และอื่นๆ ตลาดส่งออกที่สาคญั ตุรกี (ร้อยละ ๒๘.๗) สวติ เซอร์แลนด์ (ร้อยละ ๒๓.๑) คาซคั สถาน (ร้อย ละ ๑๖.๔) อิหร่าน (ร้อยละ ๖.๗) รัสเซีย (ร้อยละ ๖.๔) อฟั กานิสถาน (ร้อยละ ๖.๓) จีน (ร้อยละ ๓.๓) ปากีสถาน (ร้อยละ ๒.๖) และอ่ืน ๆ ทาจิกิสถานเป็นประเทศท่ีมีรายไดป้ ระชาชาติต่อหวั ท่ีต่าที่สุดในบรรดาเครือรัฐเอกราชที่ แยกตวั ออกมาจากสหภาพโซเวยี ต (Commonwealth of Independent States - CIS) โดยปัจจุบนั ประชากร ๒ ใน ๓ ยงั มี ความเป็นอยตู่ ่ากวา่ มาตรฐาน เศรษฐกิจของทาจิกิสถานอาศยั รายไดจ้ าก

8 ภาคการเกษตร อุตสาหกรรม พลงั งาน (ถ่านหิน และการผลิตพลงั งานไฟฟ้ า) เป็นส่วนใหญ่ โดย ในภาคการเกษตรเนน้ การปลูกฝ้ ายเพือ่ การส่งออก ซ่ึงเป็นภาคเกษตรท่ีพฒั นามาต้งั แต่ยคุ สหภาพ โซเวยี ต รัฐบาลทาจิกิสถานไดก้ าหนดนโยบายปฏิรูประบบเศรษฐกิจ เพอื่ ใหเ้ ป็นระบบการตลาด แบบเสรี โดยเนน้ ดา้ นการปฏิรูปภาคเกษตรกรรม การโอนถ่ายกิจการของรัฐ ท้งั ธุรกิจขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ใหเ้ ป็น ของเอกชน การปรับปรุงสถาบนั การเงิน การธนาคาร และระบบภาษี ซ่ึง การปฏิรูประบบเศรษฐกิจน้ีจะตอ้ งอาศยั เงินทุนจากต่างประเทศ ทาจิกิสถานเขา้ เป็นสมาชิก องคก์ ารการคา้ โลก (WTO) อยา่ งเป็นทางการในปี ๒๕๕๖ รัฐบาลทาจิกิสถานประสบปัญหาการขาดดุลงบประมาณอยา่ งต่อเน่ือง ต้งั แต่ปี ๒๕๔๐ รัฐบาลทาจิกิสถานรับเง่ือนไขท่ีเขม้ งวดของ IMF เพอ่ื แลกกบั ความช่วยเหลือทางการเงิน โดย ดาเนินนโยบายปฏิรูประบบเศรษฐกิจของ IMF อยา่ งเคร่งครัด (Poverty Reduction and Growth Facility-PRGF) เพื่อการแกไ้ ขปัญหาความยากจนและการช่วยการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ ดว้ ยการปฏิรูปทางเศรษฐกิจเป็นไปไดอ้ ยา่ งเช่ืองชา้ ทาใหท้ าจิกิสถานยงั ประสบปัญหาในดา้ น การบริหารหน้ีต่างประเทศจนถึงปัจจุบนั ทาจิกิสถานมีศกั ยภาพดา้ นการผลิตอลูมิเนียม ฝ้ ายและไฟฟ้ าพลงั น้า แต่ในปัจจุบนั ยงั ขาด การลงทุน จึงยงั ไม่สามารถผลิตไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ รวมท้งั ยงั อยรู่ ะหวา่ งการวางระบบ สาธารณูปโภคท่ีจาเป็น นอกจากน้ี ยงั มีปัญหาการบริหารจดั การท่ีไม่มีประสิทธิภาพ ทาจิกิสถานพยายามผลกั ดนั เรื่องการสร้างเขื่อน Rogun เพื่อเพม่ิ ปริมาณการผลิตไฟฟ้ า พลงั งาน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในฤดูหนาวเพอื่ บรรเทาปัญหาขาดแคลนกระแสไฟฟ้ า อน่ึง ขอ้ พิพาทเรื่องการบริหารจดั การทรัพยากรน้าในเอเชียกลางระหวา่ งประเทศตน้ น้า (ทาจิกิสถานและ สาธารณรัฐคีร์กีซ) และประเทศปลายน้า (อุซเบกิสถาน คาซคั สถาน และเติร์กเมนิสถาน) เกิด จากการโครงการสร้างเขื่อนของทาจิกิสถานทาใหแ้ ม่น้าเปล่ียนทิศทางจนบางช่วงแหง้ ขอด ก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อวถิ ีชีวติ ของคนพ้ืนเมือง นอกจากน้ี ยงั มีปัญหาจากการผนั น้าในปริมาณ มากเพือ่ ใชใ้ นการเกษตรโดยเฉพาะการเพาะปลกู ฝ้ ายเพื่อป้ อนเขา้ สู่ระบบอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่ และปัญหาการใชส้ ารเคมีในการเกษตรทาใหเ้ กิดการปนเป้ื อนในแม่น้า ดว้ ยเหตุน้ี ทาจิกิ

9 สถานจึงมีบทบาทท่ีแขง็ ขนั ในเวทีระหวา่ งประเทศ โดยเฉพาะในกรอบสหประชาชาติในเร่ือง การบริหารจดั การน้าเพ่ือสร้างความชอบธรรมและความสนบั สนุนจากเวทีระหวา่ งประเทศใน โครงการสร้างเขื่อนของตน ปัจจุบนั ทาจิกิสถานประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเน่ืองจากไดร้ ับผลกระทบจากภาวะ เศรษฐกิจถดถอยของรัสเซียซ่ึงเป็นคู่คา้ หลกั และตลาดแรงงานที่สาคญั อนั เนื่องมาจากการถูก ควา่ บาตรจากสหภาพยโุ รปและสหรัฐอเมริกาจากการผนวกไครเมีย กอปรกบั ค่าเงินรูเบิ้ลของ รัสเซียท่ีอ่อนตวั ลง เนื่องจากปัจจุบนั มีแรงงานชาวทาจิกมากกวา่ ลา้ นคนคา้ แรงงานอยใู่ นรัสเซีย ส่งผลกระทบต่อผลิตภณั ฑม์ วลรวมของทาจิกิสถาน บทบาทในเวทีระหวา่ งประเทศ ทาจิกิสถานเป็นสมาชิกองคก์ ารระหวา่ งประเทศต่าง ๆ ไดแ้ ก่ สหประชาชาติ (UN) เครือรัฐเอกราช(Commonwealth of Independent States – CIS) องคก์ ารความร่วมมืออิสลาม (Organization of Islamic Cooperation - OIC) องคก์ ารวา่ ดว้ ยความมนั่ คงและความร่วมมือใน ยโุ รป (Organization for Security and Co-operation in Europe - OSCE) องคก์ ารความร่วมมือ เซ่ียงไฮ้ (Shanghai Cooperation Organisation - SCO) องคก์ รความร่วมมือทางเศรษฐกิจ (Economic Cooperation Organization - ECO) องคก์ รสนธิสญั ญาความร่วมมือเพอื่ ความมนั่ คง (Collective Security Treaty Organization - CSTO) และการประชุมวา่ ดว้ ยการส่งเสริม ปฏิสัมพนั ธแ์ ละมาตรการสร้างความไวเ้ น้ือเชื่อใจระหวา่ งประเทศในภูมิภาคเอเชีย (Conference on Interaction and Confidence Building Measures in Asia - CICA) หลายปี ที่ผา่ นมา ทาจิกิสถานพยายามมีบทบาทในเวทีการเมืองระหวา่ งประเทศมากข้ึน โดยมีบทบาทเป็นเจา้ ภาพการประชุม OIC ในปี ๒๕๕๓ การประชุมระดบั รัฐมนตรี ACD คร้ังท่ี ๑๑ ซ่ึงที่ประชุมไดร้ ับรองปฏิญญาดูชานเบซ่ึงเป็นเอกสารรายงานความคืบหนา้ ในการ ดาเนินงานและทิศทางของกรอบความร่วมมือ ACD ในอนาคต การประชุม High Level

10 International Conference on Water Cooperation ในปี ๒๕๕๖ การประชุมสุดยอด SCO คร้ังท่ี ๑๔ ในปี ๒๕๕๗ การประชุมสุดยอด CSTO ณ กรุงดูชานเบ เม่ือ ๑๕ ก.ย. ๒๕๕๘ ในฐานะ ประธาน CSTO โดยล่าสุด ไทยร่วมเป็นเจา้ ภาพจดั กิจกรรมคู่ขนานระดบั สูง (High level Special Event) ในหวั ขอ้ “Catalysing Implementation and Achievement of the Water Related Sustainable Development Goals” เม่ือวนั ที่ ๒๗ กนั ยายน ๒๕๕๘ ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งไทยกบั สาธารณรัฐทาจิกิสถาน ความสัมพนั ธท์ างการทูต ไทยไดส้ ถาปนาความสัมพนั ธท์ างการทตู กบั ทาจิกิสถานในปี ๒๕๓๕ โดยฝ่ ายไทย มอบหมายใหส้ ถานเอกอคั รราชทตู ณ กรุงอสั ตานา ดูแลทาจิกิสถาน และทาจิกิสถานไดม้ อบให้ สถานเอกอคั รราชทตู ทาจิกิสถานประจาสาธารณรัฐประชาชนจีน มีเขตอาณาดูแลประเทศไทย การเยอื นระดบั สูงและการพบหารือทวภิ าคี - เมื่อวนั ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๘ นายสุรเกียรต์ิ เสถียรไทย รองนายกรัฐมนตรี เยอื นทาจิกิ สถาน อยา่ งเป็นทางการ - เม่ือวนั ที่ ๘-๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๘ Emomali Rahmon ประธานาธิบดีทาจิกิสถาน ไดเ้ ยอื น ประเทศไทยอยา่ งเป็นทางการ และไดพ้ บหารือกบั พ.ต.ท. ทกั ษิณ ชินวตั ร นายกรัฐมนตรี - เมื่อวนั ท่ี ๙ กนั ยายน ๒๕๔๙ พ.ต.ท. ทกั ษณิ ชินวตั ร นายกรัฐมนตรี เยอื นทาจิกิสถานอยา่ งเป็น ทางการในโอกาสการเขา้ ร่วมประชุม CICA ระดบั ผนู้ า คร้ังที่ ๑ ท่ีประเทศคาซคั สถาน - เมื่อเดือนเมษายน ๒๕๕๓ นายพนิช วกิ ิตเศรษฐ์ ผชู้ ่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงการ ต่างประเทศไดพ้ บหารือกบั Emomali Rahmon ประธานาธิบดี ในโอกาสแวะพกั ท่ีประเทศไทย หลงั จากการเยอื นสิงคโปร์อยา่ งเป็นทางการ

11 - เมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๓ นายกษติ ภิรมย์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศได้ เดินทาง เขา้ ร่วมประชุม OIC ระดบั รัฐมนตรี ที่ทาจิกิสถาน พร้อมพบหารือทวภิ าคีกบั นายคาม รอกคอน ซาริฟี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศทาจิกิสถานในโอกาสเดียวกนั - เมื่อเดือนกนั ยายน ๒๕๕๓ นายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีในขณะน้นั ไดพ้ บหารือกบั นาย Emomali Rahmon ประธานาธิบดี ในระหวา่ งการประชุม UNGA - เม่ือวนั ที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๕ น.ส. ยง่ิ ลกั ษณ์ ชินวตั ร นายกรัฐมนตรี ไดพ้ บหารือทวภิ าคีกบั นาย Emomali Rahmon ประธานาธิบดี ในระหวา่ งการประชุม ACD Summit ท่ีคูเวต - ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๗-๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ประธานาธิบดีทาจิกิสถานเยอื นไทยอยา่ งเป็น ทางการเพือ่ เขา้ ร่วมการประชุมระดบั ผนู้ าดา้ นน้าแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิ ก (Asia-Pacific Water Forum) คร้ังที่ ๒ - ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๐-๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ นส. ยงิ่ ลกั ษณ์ ชินวตั ร อดีต นรม. เยอื นทาจิกิสถาน อยา่ งเป็นทางการ เพือ่ เขา้ ร่วมการประชุมระหวา่ งประเทศระดบั สูงวา่ ดว้ ยความร่วมมือดา้ นน้า (High Level International Conference on Water Cooperation - HLICWC) - ระหวา่ งวนั ที่ ๖-๙ เมษายน ๒๕๕๘ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ เยอื นทาจิกิสถาน ซ่ึงมหาวทิ ยาลยั แห่งชาติทาจิก (Tajik national University) ไดท้ ลู เกลา้ ฯ ถวาย ปริญญาดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศกั ด์ิ สาขาประวตั ิศาสตร์ - พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรีไดห้ ารือทวภิ าคีกบั ประธานาธิบดีทาจิกิสถาน เม่ือ วนั ที่ ๒๔ กนั ยายน ๒๕๕๘ ในช่วงการประชุมสมชั ชาสหประชาชาติ สมยั สามญั คร้ังท่ี ๗๐ ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา

13 ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจ ปัจจุบนั การคา้ ระหวา่ งไทยกบั ทาจิกิสถานยงั คงมีมลู ค่าไม่มากนกั ในปี ๒๕๕๘ การคา้ ระหวา่ งกนั มีมูลค่าประมาณ ๙๖๕,๕๖๕ ดอลลาร์สหรัฐ ไทยส่งออกมลู ค่า ๙๖๒,๗๒๗ ดอลลาร์ สหรัฐ ไทยนาเขา้ มลู ค่า ๒,๘๓๘ ดอลลาร์สหรัฐ ไทยไดด้ ุลการคา้ ๙๕๙,๘๘๙ ดอลลาร์สหรัฐ สินคา้ ส่งออกของไทยไปยงั ทาจิกิสถาน ไดแ้ ก่ กระดาษและผลิตภณั ฑจ์ ากกระดาษ ยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และร่ม สินคา้ นาเขา้ ของไทยจากทาจิกิสถาน ไดแ้ ก่ ผลิตภณั ฑก์ าร พมิ พ์ อน่ึง สาเหตุท่ีปริมาณการคา้ การลงทุนและการติดต่อระหวา่ งสองประเทศยงั มีจากดั เน่ืองจากทาจิกิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล และยงั ไม่มีเท่ียวบินตรงระหวา่ งกนั ผปู้ ระกอบการฝ่ ายไทยจึงประสบปัญหาในการขนส่งสินคา้ จากไทยไปยงั ทาจิกิสถาน ปัจจุบนั การส่งสินคา้ ตอ้ งทาผา่ นประเทศที่สามท้งั ทางทะเลและทางบก ไดแ้ ก่ อิหร่าน อาเซอร์ไบจาน เติร์กเมนิสถานและอุซเบกิสถาน นอกจากน้ี รายไดข้ องประชากรทาจิกิสถานยงั ไม่สูงนกั ทาให้ กาลงั ซ้ือต่า มีปัญหาเรื่องระบบการชาระเงินผา่ นธนาคารที่ยงั ไม่ไดม้ าตรฐานสากล และอุปสรรค ดา้ นภาษาเนื่องจากผปู้ ระกอบการของทาจิกิสถานมกั ไม่สามารถใชภ้ าษาองั กฤษในการสื่อสาร ท้งั สองประเทศไม่ปรากฎการลงทุนระหวา่ งกนั อยา่ งไรกด็ ี ทาจิกิสถานมีแหล่งพลงั งานน้า ที่สาคญั จึงเคยเชิญชวนใหไ้ ทยร่วมลงทุนในโรงงานผลิตไฟฟ้ าพลงั น้าในปี ๒๕๔๘ โดยยนิ ดีให้ ไทยนาอลูมิเนียมกลบั ในลกั ษณะแลกเปลี่ยน อยา่ งไรกด็ ี หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งของไทย ไดแ้ ก่ กระทรวงพลงั งาน การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต และกระทรวงอุตสาหกรรมเห็นวา่ การลงทุนโรงไฟฟ้ า พลงั น้ามีค่าใชจ้ ่ายสูงมากและไม่คุม้ ทุน นอกจากน้ี ไทยยงั มีโครงการนาเขา้ อลูมิเนียมจาก ประเทศเพอื่ นบา้ นอื่นอยแู่ ลว้ ไดแ้ ก่ เวยี ดนาม ซ่ึงมีศกั ยภาพมากกวา่ สาหรับสาขาอื่น ๆ ที่น่าจะ มีศกั ยภาพไดแ้ ก่ การเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร การพฒั นาการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการ ท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ เนื่องจากทาจิกิสถานมีสถานที่ท่องเท่ียวทางธรรมชาติและโบราณสถาน และวตั ถุจานวนมากเนื่องจากเป็นส่วนหนี่งของเสน้ ทางสายไหมในอดีต อยา่ งไรกต็ าม ดว้ ย ขอ้ จากดั ทางการเดินทางและช่องทางการประสานงาน จึงทาใหก้ ารปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งสอง

14 ประเทศมีไม่มากนกั ล่าสุด ในปี ๒๕๕๘ ทาจิกิสถานไดเ้ สนอที่จะซ้ือขา้ วและน้าตาลจากไทย ซ่ึงกระทรวงพาณิชยอ์ ยรู่ ะหวา่ งการพิจารณาเร่ืองดงั กล่าว ความตกลงทวภิ าคี ความตกลงท่ีลงนามแลว้ ๑. ความตกลงวา่ ดว้ ยบริการเดินอากาศไทย-ทาจิกิสถาน ๒. ความตกลงทางการคา้ ระหวา่ งรัฐบาลแห่งราชอาณาจกั รไทยและรัฐบาลของสาธารณรัฐ ทาจิกิสถาน ๓. บนั ทึกความเขา้ ใจว่าดว้ ยความร่วมมือระหวา่ งรัฐบาลแห่งราชอาณาจกั รไทยกบั รัฐบาล ของสาธารณรัฐทาจิกิสถานวา่ ดว้ ยความร่วมมือในการควบคุมยาเสพติด วตั ถุออกฤทธ์ิต่อจิตและ ประสาทและสารต้งั ตน้ ๔. ความตกลงระหวา่ งรัฐบาลแห่งราชอาณาจกั รไทยและรัฐบาลของสาธารณรัฐทาจิกิสถาน วา่ ดว้ ยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวชิ าการ ๕. ความตกลงระหวา่ งรัฐบาลแห่งราชอาณาจกั รไทยและรัฐบาลของสาธารณรัฐทาจิกิสถาน วา่ ดว้ ยการส่งเสริมและคุม้ ครองการลงทุน ๖. บนั ทึกความเขา้ ใจวา่ ดว้ ยความร่วมมือระหวา่ งกระทรวงการต่างประเทศแห่งราชอาณาจกั ร ไทยกบั กระทรวงการต่างประเทศแห่งสาธารณรัฐทาจิกิสถาน ๗. ความตกลงระหวา่ งรัฐบาลแห่งราชอาณาจกั รไทยกบั รัฐบาลของสาธารณรัฐทาจิกิสถานวา่ ดว้ ยความร่วมมือดา้ นการท่องเท่ียว ๘. อนุสญั ญาวา่ ดว้ ยการเวน้ การเกบ็ ภาษซี อ้ นไทย-ทาจิกิสถาน (ลงนามระหวา่ งการเยอื นไทย ของประธานาธิบดีทาจิกิสถานระหวา่ งวนั ที่ ๑๗-๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖)

15 ๙. ความตกลงระหวา่ งรัฐบาลแห่งราชอาณาจกั รไทยกบั รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐทาจิกิสถานวา่ ดว้ ยการยกเวน้ การตรวจลงตราผถู้ ือหนงั สือเดินทางทูตและราชการ (มีผลบงั คบั ใชต้ ้งั แต่ ๙ เมษายน ๒๕๕๗ เป็นตน้ ไป) ความตกลงที่อยรู่ ะหวา่ งการพจิ ารณา ความตกลงดา้ นการศึกษาและวฒั นธรรมระหวา่ งไทยและทาจิกิสถาน (อยรู่ ะหวา่ งการพิจารณา ของกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงวฒั นธรรม) ความช่วยเหลือจากไทย ทาจิกิสถานเคยขอรับความช่วยเหลือดา้ นมนุษยธรรมจากไทย ซ่ึงไทยไดบ้ ริจาคเวชภณั ฑ์ แก่ทาจิกิสถานมลู ค่า ๗๐๐,๐๐๐ บาท ในปี ๒๕๓๘ นอกจากน้ี ภาคเอกชนไทย (บริษทั เบลออย จากดั ) ไดบ้ ริจาคเงินเพื่อบูรณะซ่อมแซมพระพุทธรูปปางไสยาสนใ์ นทาจิกิสถาน เป็นจานวน ๖๒๙,๕๑๗ บาท ในปี ๒๕๔๗ รัฐบาลไทยไดบ้ ริจาคเงินเพอื่ บรู ณะซ่อมแซมพระพทุ ธรูปปาง ไสยาสนด์ งั กล่าวเพม่ิ เติมจานวน ๑๐,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐในปี ๒๕๕๖ โดยล่าสุดในปี ๒๕๕๙ ไทยไดม้ อบความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมกรณีทาจิกิสถานประสบแผน่ ดินไหวรุนแรง ๗.๒ ริกเตอร์ เป็นเงินสดจานวน ๕๐,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ ความร่วมมือดา้ นวชิ าการ ไทยโดยกรมความร่วมมือระหวา่ งประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ไดใ้ หค้ วาม ช่วยเหลือแก่ทาจิกิสถานในสาขาที่ไทยมีความเช่ียวชาญและสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของทาจิ กิสถาน เช่น สาธารณสุข การเกษตร การแปรรูปอาหาร การประมงน้าจืด การป้ องกนั และ ปราบปรามยาเสพติด และการท่องเที่ยว รูปแบบความช่วยเหลือประกอบดว้ ยการจดั หลกั สูตร ฝึกอบรมนานาชาติและการศึกษาดูงานในหลกั สูตรต่าง ๆ ระหวา่ งปี ๒๕๕๓-๒๕๕๘ ไทยได้ ใหท้ ุนฝึกอบรมทาจิกิสถาน จานวน ๘ ทุน ไดแ้ ก่ International Narcotics Law Enforcement,

16 Enhancing Competitiveness for Greater Extent of ASEAN and Worldwide Economic Integration, Grassroots Economic Development followed Sufficiency Economy Philosophy, Climate Change Adaptation, The Pricing Mechanism of Export and Import of Goods in Foreign Trade, Modern Technology for Sustainable Agricultural Systems และ Global Warming Mitigation and Adaption by Balancing Sustainable Energy Management (GSEM) ความร่วมมือดา้ นการท่องเท่ียว ปัจจุบนั จานวนนกั ท่องเที่ยวชาวทาจิกิสถานเดินทางเขา้ มาท่องเที่ยวในประเทศไทยมีไม่ มากนกั โดยในปี ๒๕๕๘ มีนกั ท่องเที่ยวชาวทาจิกิสถานเดินทางมาไทยเพยี ง ๕๓๒ คน เน่ืองจากความไม่สะดวกในการเดินทางระหวา่ งท้งั สองประเทศ ซ่ึงไม่มีเท่ียวบินตรงระหวา่ งกนั และการตรวจลงตราซ่ึงตอ้ งไปขอรับการตรวจลงตราในต่างประเทศ อาทิ รัสเซีย หรือ คาซคั สถาน ส่งผลใหศ้ กั ยภาพของตลาดการท่องเที่ยวของทาจิกิสถานยงั อยใู่ นระดบั ท่ีไม่สูงนกั

17 บรรณานุกรม http://www.thaiembassy.org/astana/th/thai-people/98021- %E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8% B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B 8%97%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0 %B8%B2%E0%B8%99.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook