Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สังคม2

สังคม2

Published by liw.chantasinee, 2020-07-18 06:01:23

Description: สังคม2

Search

Read the Text Version

สัปดาห์ท่ี 3 (11/ม.ิ ย./63) ใบงานเรอื่ ง คาชี้แจง ให้นกั เรียนศกึ ษาสืบคน้ ขอ้ มลู จาก Internet เรื่อง 1. ลกั ษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา 2. หลกั การของพระพุทธศาสนากบั หลกั ทางวิทยาศาสตร์ 3. การคดิ ตามนยั แห่งพระพทุ ธศาสนาและการแบบวทิ ยาศาสตร์ 4. พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศกึ ษา 5. พระพุทธศาสนาเนน้ ความสัมพนั ธข์ องเหตปุ ัจจยั และวธิ ีการแกป้ ัญหา

ลกั ษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประชาธิปไตยมาต้งั แตก่ ่อนพระพทุ ธเจา้ จะทรงมอบใหพ้ ระสงฆเ์ ป็น ใหญ่ในกิจการใดท้งั ปวง ซ่ึงมีลกั ษณะดงั น้ี

หลกั การของพระพุทธศาสนากบั หลกั ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางพทุ ธศาสตร์ ต้งั ปัญหาให้ชัดเจน ทกุ ขค์ ือปรากฎการณท์ างธรรมชาติ การต้งั คาถามชั่วคราวเพื่อตอบทดสอบ หาคาตอบจากลทั ธิ รวบรวมข้อมูล ลองปฏบิ ตั โิ ยคะ วิเคราะห์ข้อมลู รวบรวมผลการปฏิบตั ิ หากผดิ กเ็ ปลี่ยน หากถูกใหป้ ฏบิ ตั ิใหถ้ ึงจุดหมาย ถ้าคาตอบชั่วคราวถูกต้งั ทฤษฎีไว้ เผยแผ่แกช่ าวโลก นาไปประยุกต์แก้ปัญหา หลกั ของพระพุทธศาสนาและทางวทิ ยาศาสตร์ มีท้งั ส่วนทเ่ี หมอื นและตา่ งกนั ดงั น้ี 1. ความเชื่อ ดา้ นวิทยาศาสตร์ - ยึดว่าจะเชื่อส่ิงใดตอ้ งพสิ ูจนไ์ ด้ ให้เห็นว่าเป็นจริง - เชื่อในเหตผุ ล และมีหลกั ฐานมายืนยนั - ทกุ อยา่ งดาเนินอยา่ งมีกฎเกณฑ์ เป็นระเบยี บ ดา้ นพระพทุ ธศาสนา - ไม่สอนให้เชื่อและศรทั ธาในอทิ ธิปฏิหาริย์ อาเทศนาปาฏิหาริย์ - ไม่สอนให้เชื่อหรือศรทั ธาสิ่งทน่ี อกเหนือประสาทสัมผสั - ใหน้ าหลกั ศรทั ธาโยงไปหาการพสิ ูจนด์ ว้ ยประสบการณ์ ดว้ ยปัญญาและการ ปฏบิ ตั ิ - หลกั ความเช่ือ กาลามสูตร คอื อยา่ เชื่อเพยี งเพราะไดฟ้ ังตามกนั มา อยา่ เชื่อเพียงเพราะเรียน ตามกนั มา

2. ด้านความรู้ ดา้ นวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เนน้ ความสนใจกบั ปัญหาที่เกิดข้นึ จากประสบการณ์ดา้ นประสาทสมั ผสั (ตา หู จมกู ล้ิน กาย) ดา้ นพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาเนน้ ความสนใจกบั ปัญหาท่ีเกิดทางจิตใจ

การคิดตามนยั แห่งพระพุทธศาสนาและการแบบวิทยาศาสตร์ ข้นั กาหนดรูท้ กุ ข์ การกาหนดรูท้ ุกขห์ รือการกาหนดปัญหาว่าคอื อะไร มขี อบเขตของ ปัญหาแคไ่ หน หนา้ ท่ีที่ควร ทาในข้นั แรกคอื ให้เผชิญหนา้ กบั ปัญหา แลว้ กาหนดรูส้ ภาพและ ขอบเขตของปัญหาน้นั ให้ได้ 1. ข้นั สืบสาวสมทุ ยั ไดแ้ ก่เหตขุ องทกุ ขห์ รือสาเหตขุ องปัญหา แลว้ กาจดั ให้หมดไป 2. ข้นั นิโรธ ไดแ้ ก่ความดบั ทกุ ข์ หรือสภาพทไ่ี ร้ปัญหา ซ่ึงทาให้สาเร็จเป็น จริงข้นึ มา 3. ข้นั เจริญมรรค ไดแ้ ก่ ทางดบั ทุกข์ หรือวิธีแกป้ ัญหา ซ่ึงเรามีหนา้ ที่ลงมอื ทา - มรรคข้นั ที่ 1 เป็นการแสวงหาและทดลองใชว้ ธิ ีการตา่ ง ๆ เพือ่ คน้ หาวิธีการทีเ่ หมาะสมที่สุด - มรรคข้นั ท่ี 2 เป็นการวิเคราะห์ผลการสงั เกตและทดลองทไ่ี ดป้ ฏบิ ตั มิ าแลว้ เลอื กเฉพาะวธิ ีการท่ี เหมาะสมที่สุด - มรรคข้นั ที่ 3 เป็นการสรุปผลของการสงั เกตและทดลอง เพอื่ ให้ไดค้ วามจริงเก่ียวกบั เร่ืองน้นั คือ มรรคมีองค์ 8 นน่ั เอง แนวคดิ แบบวทิ ยาศาสตร์

แนวคิดแบบวทิ ยาศาสตร์ เรียกอกี อยา่ งหน่ึงวา่ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีข้นั ตอนดงั น้ี

สรุป ได้ ดังนี้

พระพทุ ธศาสนาเป็นศชาสตร์แห่งการศกึ ษา คาวา่ “การศกึ ษา” มาจากคาว่า “สิกขา” โดยทวั่ ไปหมายถงึ “ กระบวนการเรียน ” “ การฝึกอบรม ” “ การคน้ ควา้ ” “ การพฒั นาการ ” และ “ การรู้ แจง้ เหน็ จริงในส่ิงท้งั ปวง ” จะเห็นไดว้ ่า การศกึ ษาในพระพุทธศาสนามีหลายระดบั ต้งั แต่ ระดบั ตา่ สุดถงึ ระดบั สูงสุด เมือ่ แบง่ ระดบั อยา่ งกวา้ ง ๆ มี 2 ประการคือ 1. การศกึ ษาระดบั โลกยิ ะ มคี วามมุง่ หมายเพื่อดารงชีวติ ในทางโลก 2. การศกึ ษาระดบั โลกตุ ระ มีความม่งุ หมายเพอ่ื ดารงชีวติ เหนือกระแส โลก พระพุทธเจา้ สอนใหค้ นไดพ้ ฒั นาอยู่ 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านศีล ด้านจิตใจ และด้าน สตปิ ัญญา โดยมีจุดม่งุ หมายให้มนุษยเ์ ป็นท้งั คนดีและคนเกง่ ดงั น้นั หลกั ในการศกึ ษาของพระพทุ ธศาสนา น้นั จะมี ลาดบั ข้นั ตอนการศกึ ษา ซ่ึงข้นั ตอน การศึกษาท้งั 3 น้ี รวมเรียกว่า \"ไตรสิกขา\" ซ่ึงมีความหมายดงั น้ี 1. สีลสิกขา การฝึกศกึ ษาในดา้ นความประพฤตทิ างกาย วาจา และอาชีพ ใหม้ ชี ีวิตสุจริต และเก้อื กลู (Training in Higher Morality) 2. จติ ตสิกขา การฝึกศกึ ษาดา้ นสมาธิ หรือพฒั นาจิตใจใหเ้ จริญไดท้ ่ี (Training in Higher Mentality หรือ Concentration) จ(Tะrเaหin็นinไgดiวn้ ่าH3สi.gีลปheสัญrิกญWขาiาสsdิกจoขิตmาต)กสาิกรฝขึกาศแึกลษะาปในัญปญัญาญสาิกสขูงขา้นึ กไาปรศใหกึ ร้ษูค้ าดิทเ้ขงั า้ 3ใจขม้นั อนงเ้ีห็นตามเป็นจริง

จากกระบวนการศกึ ษาท่ีกล่าวมาท้งั 3 ข้นั ตอนของพทุ ธศาสนาน้ี หากสามารถนาไปปฏิบตั ิอยา่ ง จริงจงั ก็จะเกิดผลดีกบั ผปู้ ฏบิ ตั ิ

พระพุทธศาสนาเนน้ ความสมั พนั ธ์ของเหตปุ ัจจยั และวิธีการ แกป้ ัญหา หลกั ของเหตปุ ัจจยั หรือหลกั ความเป็นเหตุเป็นผล ซ่ึงเป็นหลกั ของเหตุปัจจยั ที่องิ อาศยั ซ่ึงกนั และกนั ทเ่ี รียกว่า \"กฎปฏจิ จสมปุ บาท\" \" เม่ืออันนมี้ ี อนั นจี้ ึงมี เม่ืออนั นไี้ ม่มี อันนกี้ ไ็ ม่มี เพราะอนั นเี้ กิด อนั นจี้ ึงเกิด เพราะอนั นดี้ บั อันนีจ้ ึงดบั \" \" ปัญหา \" จะตอ้ งมเี หตุปัจจยั หลายเหตทุ ่ีกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาข้ึนมา หากเราตอ้ งการแกไ้ ขปัญหาก็ ตอ้ งอาศยั เหตปุ ัจจยั ในการแกไ้ ขหลายเหตปุ ัจจยั คาวา่ \" เหตุปัจจยั \" พุทธศาสนาถอื ว่า สิ่งที่ทาใหผ้ ลเกิดข้นึ ไม่ใช่เหตุอยา่ งเดียว ตอ้ งมปี ัจจยั ต่าง ๆ ดว้ ยเมอ่ื มีปัจจยั หลายปัจจยั ผลก็เกิดข้นึ ความสมั พนั ธ์ของเหตปุ ัจจยั หรือ หลกั ปฏจิ จสมปุ บาท แสดงใหเ้ ห็นอาการของส่ิงท้งั หลายสมั พนั ธเ์ นื่องอาศยั เป็น เหตุปัจจยั ตอ่ กนั อยา่ งเป็นกระแส ในภาวะทีเ่ ป็นกระแสน้ี ขยายความหมายออกไปใหเ้ ห็นแง่ตา่ ง ๆ ไดค้ อื - ส่ิงท้งั หลายมีความสมั พนั ธ์ตอ่ เน่ืองอาศยั เป็นปัจจยั แก่กนั - สิ่งท้งั หลายมอี ยโู่ ดยความสัมพนั ธ์กนั - ส่ิงท้งั หลายมอี ยดู่ ว้ ยอาศยั ปัจจยั - ส่ิงท้งั หลายไม่มคี วามคงที่อยอู่ ยา่ งเดิมแมแ้ ตข่ ณะเดียว (มกี ารเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา ไม่อยนู่ ิ่ง) - สิ่งท้งั หลายไม่มีอยโู่ ดยตวั ของมนั เอง คอื ไม่มีตวั ตนทีแ่ ทจ้ ริงของมนั - ส่ิงท้งั หลายไมม่ มี ูลการณ์ แต่มคี วามสมั พนั ธ์แบบวฏั จกั ร หมุนวนจนไม่ทราบวา่ อะไรเป็นตน้ กาเนิดทแ่ี ทจ้ ริง

หลกั คาสอนของพระพทุ ธศาสนาของพระพทุ ธศาสนาท่เี นน้ ความสัมพนั ธข์ องเหตปุ ัจจยั มี มากมาย ในท่นี ้ีจะกลา่ วถงึ หลกั คาสอน 2 เรื่อง คอื ปฏจิ จสมุปบาท คือ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ กฏอิทปั ปัจจยตา ซ่ึงก็คือ กฏแห่งความเป็นเหตุ เป็นผลของกนั และกนั นน่ั เอง อริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอนั ประเสริฐ ความจริงของพระอริยบคุ คล หรือความจริงทีท่ าใหผ้ ู้ เขา้ ถงึ กลายเป็นอริยะ มีอยู่ 4 ประการ คือ • ทกุ ขไ์ ดก้ าหนดรู้แลว้ • เหตุแห่งทกุ ขไ์ ดล้ ะแลว้ • ความดบั ทกุ ขไ์ ดป้ ระจกั ษแ์ จง้ แลว้ • ทางแห่งความดบั ทกุ ขไ์ ดป้ ฏิบตั ิแลว้ และ สามารถประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดห้ ลายเร่ือง เช่น เร่ืองการเงิน และ การมี สุขภาพที่ดี ดงั ภาพ




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook