Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทเรียนโปรแกรมเล่ม2หมูน้อยนำสำรวจ

บทเรียนโปรแกรมเล่ม2หมูน้อยนำสำรวจ

Published by punyalat suksanguan, 2018-10-28 21:43:45

Description: Innovation Method in class room

Search

Read the Text Version

1 ชุด สัตว์น้อยนําสํารวจ ชีวติ กบั สิ่งแวดล้อม เล่มที่ 2หมูน้อยนําสํารวจ ความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมชี ีวติ ในระบบนิเวศ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว33101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 จดั ทาํ โดย นางสาวปัญยลตั ณ์ สุขสงวน ตาํ แหน่ง ครู อนั ดับ คศ.3 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองเตย อาํ เภอพยหุ ์ จังหวดั ศรีสะเกษ สํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาํ นํา 2 ผเู้ ขียนมีแรงบนั ดาลใจที่ดีต่องานเขียน มีความใฝ่ ฝันมุ่งมนั่ ที่จะเขียนถ่ายทอดเรื่องราว เน้ือหา สาระวิชา เกร็ดความรู้ต่างๆ เพื่อสนองตอบต่อการปฏิรูปการศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 ตอ้ งยึดหลกั การจดั การเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็ นสําคญั ท้งั น้ีผจู้ ดั การเรียนรู้ตอ้ งเช่ือว่าผเู้ รียนมีศกั ยภาพในการเรียนรู้ มีอิสระในการคิด พร้อมลงมือปฏิบตั ิจริง ครูมีบทบาทในการอาํ นวยความสะดวก จดั สถานการณ์และบรรยากาศให้เอ้ือต่อการแสวงหาความรู้โดย มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนให้ครบท้งั ดา้ นร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคมใหเ้ ป็นคนอยา่ งสมบูรณ์ ดงั น้ันขา้ พเจ้าจึงได้ผลิตสื่อ บทเรียนโปรแกรมชุดสัตว์น้อยนาํ สํารวจ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมข้ึนท้งั หมดจาํ นวน 8 เล่ม ดงั น้ี เล่มท่ี 1 ชา้ งนอ้ ยนาํ สาํ รวจระบบนิเวศ เล่มที่ 2 หมนู อ้ ยนาํ สาํ รวจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ เล่มท่ี 3 นกนอ้ ยนาํ สาํ รวจประชากรในระบบนิเวศ เล่มที่ 4 เสือนอ้ ยนาํ สาํ รวจการถ่ายทอดพลงั งาน เล่มท่ี 5 เตา่ นอ้ ยนาํ สาํ รวจวฏั จกั รของสาร เล่มที่ 6 เป็ดนอ้ ยนาํ สาํ รวจทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม เล่มท่ี 7 กบนอ้ ยนาํ สาํ รวจความสาํ คญั ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม เล่มท่ี 8 กระต่ายนอ้ ยนาํ สาํ รวจการใชท้ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม อยา่ งยง่ั ยนื เพื่อประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว33101 เรื่องชีวิตกบั สิ่งแวดล้อม ซ่ึงผูเ้ รียนใช้ประกอบการเรียนรู้ร่วมกับเพื่อนในช้ันเรียนพร้อมเรียนรู้ด้วยตนเองสนองตอบต่อศกั ยภาพการเรียนรู้รายบุคคล สอดคล้องกับการพฒั นาผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21.เนื่องจากในศตวรรษท่ี 21 เด็ก เยาวชน และพลเมืองของประเทศจาํ เป็ นต้องดาํ รงชีวิตอยู่ท่ามกลางกระแสการเปล่ียนแปลง ท่ีเป็ นไปอย่างรวดเร็ว ชุดความรู้เดิมที่เคยเรียนรู้มาจึงไม่เพียงพอต่อการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีจาํ เป็นตอ้ งพฒั นากระบวนการเรียนรู้ดว้ ยชุดความรู้ใหมท่ ี่เหมาะสมกบั สถานการณ์ เมื่อผเู้ รียนศึกษาบทเรียนโปรแกรม ครบท้งั 8 เล่ม ผเู้ รียนจะเกิดทกั ษะในการทาํ งาน การคิดอยา่ งเป็ นระบบ ท้งั ยงั สามารถนาํ หลกั การเรียนรู้ไปปรับประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั เพราะไดป้ ฏิบตั ิกิจกรรมครบทุกข้นั ตอนสร้างองคค์ วามรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง เน้ือหาสาระการเรียนรู้ส่วนใหญ่ไดม้ าจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์รหสั วิชา ว33101 เร่ือง ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม และอีกส่วนหน่ึงไดจ้ ากการสืบคน้ เอกสาร ตาํ ราวชิ าการ ส่ือทางอินเทอร์เน็ต.แหล่งเรียนรู้ในทอ้ งถ่ิน ขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.กชกร ธิปัดดี คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานีที่ให้คาํ แนะนาํ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของบทเรียนโปรแกรม ชุดสัตวน์ ้อยนาํ สํารวจ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน อาจารย์ ดร.ปิ ยะภรณ์ พุ่มแก้ว อาจารยม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานีให้คาํ ปรึกษาดา้ น

3การวดั และประเมินผล ดร.พีระพรรณ ทองศูนย์ ผูอ้ าํ นวยการ ชาํ นาญการพิเศษ โรงเรียนบา้ นมหาราชสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1ให้คาํ ปรึกษาด้านหลักสูตรและการสอนนายสําราญ วงั นุราช ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาศรีสะเกษ เขต 1ให้คาํ ปรึกษาด้านการนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ นางมะลิวรรณ พรมทอง ตาํ แหน่งครู วทิ ยฐานะเชี่ยวชาญ สาขาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นโพนงาม(พนู เพิ่มวิทยาคาร)สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี ให้คาํ ปรึกษาดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ผูเ้ ขียนหวงั เป็ นอย่างยิ่งว่าเอกสารบทเรียนโปรแกรมชุดสัตว์น้อยนาํ สํารวจเพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เล่มที่ 2 เรื่องหมูนอ้ ยนาํ สาํ รวจ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ เล่มน้ีคงเป็นประโยชน์อยา่ งดียิ่งต่อผเู้ รียนและครูผสู้ อน (นางสาวปัญยลตั ณ์ สุขสงวน) ตาํ แหน่งครู อนั ดบั คศ. 3 โรงเรียนบา้ นหนองเตย

4สารบัญเรื่อง หนา้ 1. คาํ นาํ …………………………………………………………………………….. ก 2. สารบญั ……………………………………………………………………..……… ค 3. บทเรียนโปรแกรมเล่มท่ี 2………………………………………………...………… จ 4. คาํ ช้ีแจง ………………………………………………………………………..…… 1 5. ขอ้ ทดสอบก่อนเรียน ………………………………………………………….…… 2 6. เฉลยแนวทดสอบก่อนเรียน ………………………………………………………... 4 7. หมูนอ้ ยนาํ สาํ รวจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ กรอบท่ี 1 บทนาํ ……………………………………………………………… 5 กรอบที่ 2 พบครู ……………………………………………………………… 6 กรอบท่ี 3 ความหมายของความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ …………………….. 7 กรอบที่ 4 แบบทดสอบความเขา้ ใจ …………………………………………... 8 กรอบท่ี 5 เฉลยแบบทดสอบความเขา้ ใจ ……………………………………… 9 กรอบที่ 6 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนั ……………………… 11 กรอบท่ี 7 แบบทดสอบความเขา้ ใจ …………………………………………. 12 กรอบที่ 8 เฉลยแบบทดสอบความเขา้ ใจ ……………………………………… 13 กรอบท่ี 9 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ต่างชนิดกนั ………………………… 15 กรอบที่ 10 แบบทดสอบความเขา้ ใจ ………………………………………….… 17 กรอบท่ี 11 เฉลยแบบทดสอบความเขา้ ใจ ……………………………..………. 18 กรอบที่ 12 เฉลยแบบทดสอบความเขา้ ใจ ……………………………………… 19 กรอบที่ 13 ฝึกทกั ษะการคิดเรียนรู้แบบ U (Using Information Thinking)……. 20 กรอบที่ 14 ตวั อยา่ งแบบฝึกหดั ………………………………………………… 21 กรอบท่ี 15 แบบฝึกหดั …………………………………………………………. 24 กรอบที่ 16 เฉลยแบบฝึกหดั ……………………………….…………………… 26 กรอบที่ 17 เฉลยแบบฝึกหดั ……………………………………………………. 27 กรอบท่ี 18 แบบฝึกหดั …………………………………………………………. 28 กรอบที่ 19 แบบฝึกหดั …………………………………………………………. 29 กรอบท่ี 20 เฉลยแบบฝึกหดั ……………………………………………………... 30 ขอ้ ทดสอบหลงั เรียน……………………………………………..…... 32

5สารบญั (ต่อ) เร่ือง หนา้8. เฉลยแนวทดสอบหลงั เรียน ………………………………………………………... 34 กรอบท่ี 21 เชิญศึกษาเรื่อง นกนอ้ ยนาํ สาํ รวจ ประชากรในระบบนิเวศ ตอ่ ไป.... 359. บรรณานุกรม ……………………………………………………………………… 36

6 ชุดสตั วน์ อ้ ยนาํ สาํ รวจ ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม เล่มท่ี 2 เร่ือง หมนู อ้ ยนาํ สาํ รวจ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความหมายของความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ได้ 2. รู้ เขา้ ใจ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวติ ในระบบนิเวศ 3. อธิบาย อภปิ ราย สาํ รวจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวติ ในระบบนิเวศในทอ้ งถ่ินได้ 4. คิดวางแผนการจดั กระทาํ ขอ้ มลู ใหม่จากความรู้เดิม นาํ เสนอขอ้ มูลได้ 5. วเิ คราะห์ ตระหนกั และเห็นความสาํ คญั ของรูปแบบความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวติในระบบนิเวศในทอ้ งถ่ินได้

7 สวสั ดีครับ เด็กๆ ท่ีน่ารักทุกคน เป็นไงบา้ ง สบายดีกนั ไหมครับ วนั น้ี พีห่ มนู อ้ ยเตรียมนาํ เด็กๆ ทุกคนออกสาํ รวจ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง สิ่งมีชีวติ ในความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ใน ทอ้ งถ่ินกนั แต่ก่อนจะออก ทุกคนตอ้ งมา เรียนรู้เก่ียวกบั ระบบ “ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง สิ่งมีชีวติ ” ก่อนนะครับพห่ี มูนอ้ ยขอบอกวา่ จุดประสงคท์ ี่ใหศ้ ึกษา“ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ” เพ่ือใหเ้ ดก็ ๆมีความรู้ความเขา้ ใจในเร่ือง “ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ” ไดถ้ ูกตอ้ ง ตระหนกั และเห็นความสาํ คญั ต่อความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติในความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในทอ้ งถ่ินต่อการใชช้ ีวติ ประจาํ วนั นะจะ๊ พห่ี มูนอ้ ยขอแนะนาํ ขอ้ ควรทาํ สาํ หรับเดก็ ๆ ที่จะศึกษา เรื่องน้ีใหบ้ รรลุจุดประสงค์ ดงั น้ี คือ 1. ศึกษาไปตามลาํ ดบั พบคาํ ถามตอบทนั ที 2. ไมศ่ ึกษาขา้ มข้นั ตอน 3. ไมเ่ ปิ ดดูเฉลยก่อน เพราะเป็ นการไมซ่ ื่อสตั ยต์ อ่ ตนเอง 4. อยา่ ขีดเขียนขอ้ ความในบทเรียนโปรแกรม 5. เกบ็ บทเรียนโปรแกรมส่งครูผสู้ อน

8 วชิ า ว33101 ขอ้ ทดสอบ เร่ือง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ วทิ ยาศาสตร์ ก่อนเรียน เล่มที่ 2ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 เวลา 10 นาทีไดเ้ วลาเดก็ ๆ ทาํ ขอ้ สอบก่อนเรียนนะครับคําชี้แจง ใหผ้ เู้ รียนศึกษาและเลือกคาํ ตอบที่ถูกท่ีสุดเพยี งคาํ ตอบเดียว1. ปัจจยั ทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อการอพยพยา้ ยถ่ินของสัตวม์ ากที่สุดคือขอ้ ใด ก. แร่ธาตุในดิน ข. อุณหภูมิ ค. แสง ง. น้าํ2. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ โดยฝ่ ายหน่ึงฝ่ ายใดเสียประโยชน์ หรือท้งั สองเสียประโยชนจ์ ะไม่เกิดข้ึนระหวา่ งขอ้ ใด ก. คน กบั ยงุ กน้ ปล่อง ข. ควาย กบั นกเอ้ียง ค. หมดั กบั สุนขั ง. ววั กบั หญา้3. ตวั อยา่ งขอ้ ใดแสดงถึงความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ แบบไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั ก. ผเี ส้ือ กบั ดอกไม้ ข. นกแกว้ กบั หนอน ค. พยาธิตวั ตืด กบั สุกร ง. ตกั๊ แตนปาทงั กา้ กบั ขา้ วโพด4. การระบาดของตกั๊ แตนปาทงั กา้ ทาํ ความเสียหายในไร่ขา้ วโพด จงั หวดั ปราจีนบุรี จดั เป็นปรากฏการณ์ทางนิเวศวทิ ยาที่พืชและสัตว์ มีความสัมพนั ธ์ต่อกนั และกนั ในลกั ษณะใด ก. ภาวะปรสิต ข. การล่าเหยอ่ื ค. ภาวะอิงอาศยั ง. ภาวะที่ตอ้ งพ่ึงพา5. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งซีแอนนีโมน ท่ีเกาะบนเปลือกปูเฉสวนและความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแมลงกบั ดอกไม้เรียกวา่ อะไรตามลาํ ดบั ก. ภาวะอิงอาศยั ,ภาวะอิงอาศยั

9 ข. ภาวะพ่ึงพากนั ,ภาวะอิงอาศยั ค. ภาวะปรสิต,ไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั ง. ไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั ,ไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั6. ไลเคน เป็นส่ิงมีชีวติ ท่ีมีการอยรู่ ่วมกนั ในลกั ษณะใด ก. ภาวะไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั ข. ภาวะพ่งึ พากนั ค. ภาวะอิงอาศยั ง. ภาวะยอ่ ยสลาย7. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในขอ้ ใดท่ีเป็นลกั ษณะเดียวกนั ท้งั หมด ก เหากบั ควาย นกเอ้ียงกบั ควาย หมดั กบั สุนขั ข พยาธิใบไมใ้ นตบั ไรในตวั ไก่ กาฝากกบั ตน้ ไมใ้ หญ่ ค เหาฉลามกบั ปลาฉลาม เหาบนหวั คน หนอนกบั ใบไม้ ง ดอกไมก้ บั แมลง ไวรัสตบั อกั เสบบี แบคทีเรียในลาํ ไส้คน8. ถา้ ให้ + แทนการไดป้ ระโยชน์ - แทนการเสียผลประโยชน์ 0 แทนการไมไ่ ดแ้ ละไม่เสียผลประโยชน์สิ่งมีชีวติ ชนิดใดที่มีความสัมพนั ธ์แบบ +,+ ; +,0 และ +,- เรียงลาํ ดบั ก. ผเี ส้ือกบั ดอกไม้ , เพล้ียกบั มดดาํ , เห็บกบั สุนขั ข. นกเอ้ียงกบั ควาย, เฟิ ร์นบนตน้ ไม,้ ฝอยทองบนตน้ ไม้ ค. เสือกบั อีแร้ง, กลว้ ยไมบ้ นตน้ ไม,้ กาฝากบนตน้ มะม่วง ง. รากบั สาหร่าย, ปลาการ์ตนู กบั ดอกไมท้ ะเล, พยาธิตวั ตืดกบั คน9.ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเห็บกบั สุนขั เหมือนกบั ความสัมพนั ธ์ตามขอ้ ใด ก. เพรียงที่เกาะบนตวั สัตว์ ข. ฝงู สุนขั ท่ีแยง่ อาหารกนั ค. กาฝากบนตน้ ไม้ ง. แมว กบั หนู10. ขอ้ ใดจดั วา่ มีรูปแบบของความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ แบบเดียวกนั ก. ดอกไมก้ บั แมลง ไลเคน ข. นกเอ้ียงกบั ควาย พลูด่างกบั ตน้ ไมใ้ หญ่ ค. เสือกบั กวาง เสือกบั สิงโตที่ล่าเหยอ่ื ตวั เดียวกนั ง. กลว้ ยไมก้ บั ตน้ มะม่วง ปลาฉลามกบั เหาฉลาม

10ทาํ ถูกกี่ขอ้ ขอเชิญเดก็ ๆ ตรวจดูคาํ เฉลยนะคะทาํ คะแนนไดน้ อ้ ยไมต่ อ้ งตกใจ!! นะคะเพราะเป็ นคะแนนสอบก่อนเรี ยน เฉลยขอ้ สอบก่อนเรียน ขอ้ 1 ข ขอ้ 2 ข ขอ้ 3 ค ขอ้ 4 ก ขอ้ 5 ง ขอ้ 6 ข ขอ้ 7 ข ขอ้ 8 ง ขอ้ 9 ค ขอ้ 10 คเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนถูก 1-4 ขอ้ ตอ้ งแกไ้ ข เร่งทาํ ความเขา้ ใจกบับทเรียนใหม้ ากๆถูก 5-7 ขอ้ พอใช้ ควรศึกษาเพิม่ เติมอีกถูก 8-9 ขอ้ ดี ผา่ นเกณฑย์ นิ ดีดว้ ยคะแต่ทดสอบหลงั เรียนตอ้ งรักษาระดบั หรือใหด้ ีกวา่ น้ีนะคะถูก 10 ขอ้ ดีมาก คุณเยย่ี มมาก ขอปรบมือให้ทดสอบหลงั เรียนตอ้ งเป็นเช่นน้ีนะคะ

11 วชิ า ว33101 บทเรียนโปรแกรม เวลา 2 ชวั่ โมง วทิ ยาศาสตร์ ชุดสัตวน์ อ้ ยนาํ สาํ รวจชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ มช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 เรื่อง หมูนอ้ ยนาํ สาํ รวจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ พหี่ มูนอ้ ยมาแลว้ จา้ !! ทุกๆคน กาํ ลงั เดินทางไปไหน กนั จะ๊ เด็กๆ วนั น้ีเรามีนดั กบั พี่หมนู อ้ ยมิใช่เหรอ แลว้ เธอละ นายไปกบั เพ่อื นๆดว้ ยเหรอครับพี่หมูนอ้ ย สวสั ดีครับ พวกผมกาํ ลงั จะไปเขา้ช้นั เรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ของครูปัญยลตั ณ์ครับวนั น้ีครูจะจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ U (UsingInformation Thinking) ครับ ชื่อมนั แปลกดีทา่ จะสนุกนะครับ พห่ี มูนอ้ ย พอดีเลย พ่ีหมูนอ้ ยกาํ ลงั มาตามทุกคนไปเขา้ ช้นั เรียน วทิ ยาศาสตร์ดว้ ยกนั ไปพบคุณครูปัญยลตั ณ์ดว้ ยกนั ครับ

12“สวสั ดีครับคุณครูปัญยลตั ณ์ ผมพ่ีหมนู อ้ ย และเดก็ ๆนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 ครับ ไดข้ า่ ววา่ วนั น้ีคุณครูมีส่ือบทเรียนโปรแกรมมาฝากพวกผม และมีการจดั การเรียนรู้แบบ U (Using Information Thinking)ใช่ไหมครับ” ใช่จะ๊ พวกหนูสนใจอยากเรียนรู้กนั หรือเปล่าสนใจมากเลยครับ พวกผมต่ืนเตน้ ที่จะไดเ้ รียนรู้จากบทเรียนโปรแกรม ส่ือท่ีครูผลิตข้ึนมากๆเลยครับ ครูยนิ ดีตอ้ นรับพวกเด็กๆ ทุกคนรวมท้งั พีห่ มูนอ้ ย ดว้ ยนะคะก่อนจะเรียนแบบ U (Using Information Thinking เดก็ ๆ ทุกคนจะมีพหี่ มนู อ้ ยนาํ สาํ รวจ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ท่ีทุกคนจะไดเ้ รียนรู้ ร่วมกนั พร้อมแจกรางวลั โบนสั สาํ หรับเด็กๆ ที่ตอบ ปัญหาถูก ไดเ้ วลาแลว้ ไปท่องโลกกวา้ งดว้ ยบทเรียน โปรแกรมเชิญเด็กๆทุกคนศึกษาไดเ้ ลยคะ

13 ความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมชี ีวติ กบั สิ่งมชี ีวติ ในระบบนิเวศความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ กบั สิ่งมีชีวติ ในระบบนิเวศ¬ จดั เป็นความสมั พนั ธ์ทางชีวภาพ ไดแ้ ก่ พชื สตั ว์ และจุลินทรียต์ า่ งๆ ที่เป็นสิ่งมีชีวติ โดยแต่ละชนิดกจ็ ะ สัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ¬ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ แบง่ มีความสมั พนั ธ์ตอ่ กนั ออกเป็น2 ลกั ษณะคือ 1. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนั 2. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ ตา่ งชนิดกนั¬ เพือ่ ใหง้ ่ายต่อความเขา้ ใจ จึงมีการใชเ้ คร่ืองหมาย ต่อไปน้ีแสดง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลุ่มสิ่งมีชีวติ ที่ อาศยั รวมกนั + หมายถึง การไดป้ ระโยชน์จากอีกฝ่ ายหน่ึง -หมายถึง การเสียประโยชน์ใหอ้ ีกฝ่ ายหน่ึง 0 หมายถึง การไม่ไดป้ ระโยชน์ แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ อา่ นแลว้ เขา้ ใจไหมคะเด็กๆ พห่ี มูนอ้ ย เขา้ ใจครับครู แลว้ เดก็ ๆ ทุกคนกเ็ ขา้ ใจดีครับถา้ เขา้ ใจแลว้ มาทดสอบความ เขา้ ใจนะคะ

14 แบบทดสอบความเข้าใจคาํ ชี้แจง เม่ือผเู้ รียนศึกษาเรื่อง ความหมายของความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ แลว้ ลองตอบคาํ ถามของครู จากการศึกษา ความหมายของ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ มีความหมายตรง กบั ขอ้ ใดมากที่สุด 1. ความสัมพนั ธ์ทางชีวภาพระหวา่ ง พืช สัตว์ และจุลินทรียต์ า่ งๆ ที่เป็นส่ิงมีชีวติ โดยแต่ละ ชนิดกจ็ ะ สัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบ นิเวศ 2.ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ แบ่งได้ เป็น 3 ประเภท ตอบขอ้ 1 เปิ ดไป กรอบที่ 5 หนา้ 9 ตอบขอ้ 2 เปิ ดไปกรอบท่ี 5 หนา้ 10

15 เฉลยตอบขอ้ 1 ถูกตอ้ งเยยี่ มมากคะ่จากคาํ ตอบ ความหมายของความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต คือ จดั เป็ นความสัมพันธ์ทางชีวภาพ ได้แก่ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ต่างๆ ที่เป็ นสิ่งมีชีวิต โดยแต่ละชนิดก็จะมีความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ แบ่ง มีความสัมพนั ธ์ต่อกนั ออกเป็ น 2 ลักษณะคือ1. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนั 2. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ตา่ งชนิดกนั ผผู้ ลิต ตาย สัตวก์ ินพืช ตาย ตายสตั วก์ ินสัตว์ ผยู้ อ่ ยอินทรียสารพห่ี มูนอ้ ย แจกโบนสั เป็ นดาวแห่งความดีแก่เดก็ ๆ ที่ตอบถูก เป็นจาํ นวน 3 ดวงนะครับเขา้ ใจแลว้ พ่หี มนู อ้ ยนาํ สาํ รวจ ศึกษากรอบท่ี 6หนา้ 11 ต่อไปเลยนะครับ

16 เฉลยตอบขอ้ 2 ไม่ถูกคะ่ อยา่ พ่งึ หมดกาํ ลงั ใจ ดูคาํ อธิบายขา้ งล่างก่อนนะคะจากคาํ ตอบ ความหมายของความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ เป็นความสัมพนั ธ์ทางชีวภาพ ไดแ้ ก่ พืช สัตว์และจุลินทรียต์ า่ งๆ ท่ีเป็นส่ิงมีชีวติ โดยแต่ละชนิดกจ็ ะมีความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศส่วนความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศแบ่งได้ เป็น 3 ประเภท น้นั จดั เป็ นรูปลกั ษณะของความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ คือ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกลุ่มสิ่งมีชีวติ ท่ี อาศยั รวมกนั +หมายถึง การไดป้ ระโยชน์จากอีกฝ่ ายหน่ึง - หมายถึง การเสียประโยชน์ใหอ้ ีกฝ่ ายหน่ึง 0 หมายถึง การไมไ่ ด้ประโยชน์ แต่กไ็ มเ่ สียประโยชน์ต่อไปมาทาํ ความรู้จกั กบั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ ชนิดเดียวกนั เลยนะคะ แลว้ ไปศึกษากรอบ 6 หนา้ 11ต่อเลยคะ่ ครับ/คะ่

17ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ ที่อาศยั อยรู่ ่วมกนั เป็นกลุ่ม อาจมีท้งั ผลดีกค็ ือ การสร้างความเขม้ แขง็ และความปลอดภยั ภายในกลุ่มและผลเสียก็คือ อาจเกิดการแก่งแยง่ เนื่องจากการขาดแคลนอาหารหรื อชิงความเป็ นใหญ่ภายในกลุ่ม ตวั อยา่ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ ชนิดเดียวกนั ที่อาศยั อยรู่ ่วมกนั ภาวะแข่งขนั (Competition) ใชส้ ญั ลกั ษณ์ -/- ตวั อยา่ ง 1. บวั กบั ผกั ตบชวาในสระน้าํ 2. จอกกบั แหนในแหล่งน้าํ 3. ตน้ ถวั่ ท่ีปลูกมากมายในกระป๋ องเล็กๆ 4. ตน้ ไมใ้ นป่ าที่แข่งกนั สูง เพื่อแข่งกนั รับแสงสวา่ ง 5. มอด 2 ชนิดต่างก็ต่อสู้แยง่ อาหารชนิดเดียวกนั เขา้ ใจมากๆเลยครับครู เดี๋ยวพ่หี มนู อ้ ยพา เดก็ ๆ ไปตรวจสอบความเขา้ ใจกรอบที่ 7 ตอ่ ไปเลย

18 แบบทดสอบความเข้าใจคาํ ชี้แจง เม่ือผเู้ รียนศึกษาเร่ือง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนั แลว้ ลองตอบคาํ ถามของครู จากการศึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนั จะมีลกั ษณะความสัมพนั ธ์แบบ ภาวะการแก่งแยง่ (Competition) ตรงกบั ขอ้ ใด มากท่ีสุด 1. เสือแยง่ กนั เป็ นจ่าฝงู 2.กาฝากกบั ตน้ ไมใ้ หญ่ ตอบขอ้ 1 เปิ ดไป กรอบที่ 8 หนา้ 13 ตอบขอ้ 2 เปิ ดไปกรอบท่ี 8 หนา้ 14

19 เฉลยตอบขอ้ 1 ถูกตอ้ งเยยี่ มมากคะ่จากคาํ ตอบ ภาวะการแข่งขัน (coompetition; -/-) 18 เป็นความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ ท่ีอาศยั อยรู่ ่วมกนั ในพ้นื ท่ีเดียวกนั ส่วนใหญ่เป็ นสิ่งมีชีวติ ชนิดเดียวกนัหรืออาจตา่ งชนิดกนั โดยสิ่งมีชีวติ ท้งั สองมีความตอ้ งการใชป้ ัจจยั ในการดาํ รงชีวติ ที่เหมือนกนั ดงั น้นั หากระบบนิเวศอยใู่ นสภาวะที่ขาดแคลนปัจจยั ในการดาํ รงชีวติ น้นั สิ่งมีชีวติ ท้งั สองชนิดก็ตอ้ งแก่งแยง่ หรือแข่งขนั กนั ซ่ึงในการแข่งขนั กจ็ ะทาํ ใหส้ ่ิงมีชีวติ ท้งั คูเ่ สียประโยชน์จากการแข่งขนั และหากเป็นการแข่งขนัของส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนั ก็จะก่อใหเ้ กิดผลเสียจากการแข่งขนั มากกวา่ การแข่งขนั ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ตา่ งชนิดกนั ตวั อยา่ งเช่น การแยง่ ตาํ แหน่งจ่าฝงู ของหมาป่ า การแยง่ กนั ล่าเหยอ่ื ของสุนขั จิง้ จอกกบั เสือ เป็นตน้ พห่ี มนู อ้ ย แจกโบนสั เป็ นดาวแห่งความดี แก่เดก็ ๆ ที่ตอบถูก เป็นจาํ นวน 3 ดวงนะครับ เขา้ ใจแลว้ พีห่ มนู อ้ ยนาํ สาํ รวจ ศึกษากรอบท่ี 9 หนา้ 14 ต่อไปเลยนะครับ

20 เฉลยตอบขอ้ 2 ไม่ถูกค่ะ อยา่ พ่งึ หมดกาํ ลงั ใจ ดูคาํ อธิบายขา้ งล่างก่อนนะคะ ภ าวะ ปรสิ ตจากค าํ ตอ บ ก ารฝ ากกับตน้ ไม้ใ หญ่ เป็ น ควา มสัม พนั ธ์ ระห ว่าง สิ่ งมี ชีวิต ต่าง ชนิด กนั แบบ 18(paratism; +/-) เป็ นความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตสองชนิดที่มีขนาดแตกต่างกัน โดยสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่กวา่ เรียกวา่ ผถู้ ูกอาศยั หรือเจา้ บา้ น (host) จะเป็ นที่อยอู่ าศยั ของสิ่งมีชีวติ อีกชนิดท่ีขนาดเล็กกวา่เรียกว่า ผูอ้ าศยั หรือ ปรสิต (parasite) โดยฝ่ ายเจา้ บา้ นจะเป็ นฝ่ ายเสียประโยชน์จากการถูกแย่งอาหารหรือถูกใช้ส่วนหน่ึงของร่างกายเป็ นอาหารของปรสิต ซ่ึงอาจส่งผลให้เกิดอาการเจ็บป่ วยในเจา้ บา้ นได้ตอ่ ไปมาทาํ ความรู้จกั กบั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ ต่างชนิดกนั เลยนะคะ แลว้ ไปศึกษากรอบ 9 หนา้ 15 ตอ่ เลยคะ่ ครับ/คะ่

21 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ตา่ งชนิดกนั เป็นการอยรู่ ่วมกนั ของสิ่งมีชีวติ ต้งั แต่ 2 ชนิดข้ึน ไปในแหล่งท่ีอยเู่ ดียวกนั มีความสัมพนั ธ์ของการอยรู่ ่วมกนั หลายรูปแบบ ในระบบนิเวศ หน่ึงประกอบดว้ ยส่ิงมีชีวติ ท่ีมีความหลากหลายแตกต่างกนั มากมาย โดยส่ิงมีชีวติ แต่ละชนิด จะมีความสมั พนั ธ์ต่อกนั อยา่ งซบั ซอ้ นและอาจก่อใหเ้ กิดผลกระทบระหวา่ งกนั ได้ ซ่ึง สามารถจาํ แนกผลกระทบท่ีเกิดจากความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ ได้ 3 ลกั ษณะ คือ ความสัมพนั ธ์แบบไดร้ ับประโยชน์ (+) ความสมั พนั ธ์แบบเสียประโยชน์ (-) และ ความสัมพนั ธ์แบบไม่ไดร้ ับและไม่เสียประโยชน์ (0) ความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ แต่ละชนิดที่อยรู่ ่วมกนั ในระบบนิเวศจะมีรูปแบบท่ีแตกต่างกนั โดยสามารถจาํ แนกไดเ้ ป็ นรูปแบบต่าง ๆ ดงั น้ี1. ภาวะเป็ นกลาง (neutralism; 0/0) เป็นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ท่ีไม่เก่ียวขอ้ งกนั แต่อาศยั ในระบบนิเวศเดียวกนั จึงไม่มีสิ่งมีชีวติ ฝ่ ายใดที่ไดร้ ับหรือเสียประโยชน์ ตวั อยา่ งเช่น ไส้เดือนกบั เสือ ผเี ส้ือกบั ลิง มดกบั ผ้งึ เป็นตน้ 2. ภาวะการล่าเหยอื่ (predation;+/-) เป็นความสัมพนั ธ์ท่ีมีฝ่ ายหน่ึงเป็นผไู้ ดร้ ับประโยชน์เพียงฝ่ ายเดียว เรียกส่ิงมีชีวติ ที่เป็นผไู้ ดร้ ับประโยชน์วา่ ผ้ลู ่า (predator) และเรียกสิ่งมีชีวติ อีกชนิดที่เป็นผเู้ สียประโยชน์วา่ ผถู้ ูกล่า หรือ เหยอ่ื (prey) โดยความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ แบบล่าเหยอื่ น้ี ส่วนใหญ่ผลู้ ่าจะกินผถู้ ูกล่าเป็นอาหารเพื่อการดาํ รงชีวติตวั อยา่ งเช่น นกกินแมลง ปลาฉลามกนั แมวน้าํ และเสือกินกวาง เป็นตน้ 3. ภาวะการแข่งขัน (coompetition; -/-) เป็นความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ ท่ีอาศยั อยรู่ ่วมกนั ในพ้นื ท่ีเดียวกนั อาจเป็ นส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนั หรือตา่ งชนิดกนั โดยส่ิงมีชีวติ ท้งั สองมีความตอ้ งการใชป้ ัจจยั ในการดาํ รงชีวติ ท่ีเหมือนกนั ดงั น้นั หากระบบนิเวศอยใู่ นสภาวะท่ีขาดแคลนปัจจยั ในการดาํ รงชีวติ น้นั สิ่งมีชีวติ ท้งั สองชนิดกต็ อ้ งแก่งแยง่ หรือแข่งขนั กนั ซ่ึงในการแข่งขนั ก็จะทาํ ใหส้ ่ิงมีชีวติ ท้งั คู่เสียประโยชนจ์ ากการแขง่ ขนั และหากเป็นการแขง่ ขนั ของส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนัก็จะก่อใหเ้ กิดผลเสียจากการแขง่ ขนั มากกวา่ การแข่งขนั ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ต่างชนิดกนั ตวั อยา่ งเช่น การแยง่ตาํ แหน่งจ่าฝงู ของหมาป่ า การแยง่ กนั ล่าเหยอ่ื ของสุนขั จิ้งจอกกบั เสือ เป็ นตน้

22 4. ภาวะการได้รับประโยชน์ร่วมกนั (protocooperation; +/+) เป็นความสมั พนั ธ์ของสิ่งมีชีวติ ท่ีอาศยั อยรู่ ่วมกนั โดยส่ิงมีชีวติ ท้งั สองฝ่ ายจะไดร้ ับประโยชนท์ ้งั คู่ อาจเป็ นการอยู่ร่วมกนั ตลอดเวลาหรืออยรู่ ่วมกนั เพียงชว่ั ขณะหน่ึงก็ได้ และเมื่อสิ่งมีชีวติ ท้งั สองชนิดแยกจากกนั กจ็ ะยงั สามารถดาํ รงชีพไดต้ ามปกติ ตวั อยา่ งเช่น นกเอ้ียงบนหลงั ควาย ซ่ึงนกเอ้ียงจะอาศยั กินแมลงบนผวิ หนงั ควายหรือแมลงท่ีบินข้ึนมาขณะท่ีควายเหยยี บยา่ํ พ้นื ดินเพอ่ื หาอาหาร ส่วนควายจะไดร้ ับประโยชนจ์ ากการลดความราํ คาญจากแมลงท่ีอยตู่ ามร่างกาย หรือความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปลาการ์ตูนจะอาศยั อยตู่ ามดอกไมท้ ะเลเพื่อเป็นที่หลบภยั จากผลู้ ่า ขณะท่ีปลาการ์ตนูก็จะคอยปกป้ องดอกไมท้ ะเลจากปลาบางชนิดท่ีกินดอกไมท้ ะเลเป็นอาหาร 5. ภาวะพงึ่ พากนั (mutualism; +/+) เป็นความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ ที่อาศยั อยรู่ ่วมกนั โดยท่ีส่ิงมีชีวติ ท้งั สองฝ่ ายจะไดร้ ับประโยชนท์ ้งั คู่ การอยรู่ ่วมกนัลกั ษณะน้ีสิ่งมีชีวติ ท้งั คูต่ อ้ งอยรู่ ่วมกนั ตลอดไป ไม่สามารถแยกจากกนั ได้ ตวั อยา่ งเช่น ไลเคน (lichen) ซ่ึงเป็นภาวะการอยรู่ ่วมกนั แบบพ่ึงพาอาศยั ระหวา่ งรากบั สาหร่าย พบไดต้ ามบริเวณกอ้ นหินหรือเปลือกไมท้ ี่มีความช้ืนโดยสาหร่ายจะอาศยั เส้นใยของราช่วยยดึ เกาะ พรางแสง และอุม้ น้าํ ใหเ้ กิดความช้ืน ในขณะท่ีราจะอาศยั อาหารที่ไดจ้ ากการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของสาหร่ายเพือ่ การดาํ รงชีวติ 6. ภาวะองิ อาศัย (commensalism; +/0) เป็นความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ ท่ีอาศยั อยรู่ ่วมกนั โดยมีฝ่ ายหน่ึงไดร้ ับประโยชนเ์ พียงฝ่ ายเดียว ส่วนอีกฝ่ ายจะไม่ได้และไมเ่ สียประโยชน์ตวั อยา่ งเช่น ปลาฉลามกบั เหาฉลาม โดยเหาฉลามเป็นปลาที่มีอวยั วะยดึ เกาะกบั ตวั ปลาฉลามแต่ไม่ทาํ อนั ตรายแก่ปลาฉลาม และเหาฉลามจะไดร้ ับประโยชน์ดว้ ยการกินเศษอาหารที่หลงเหลือจากปลาฉลาม 7. ภาวะปรสิต (paratism; +/-) เป็นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ สองชนิดที่มีขนาดแตกต่างกนั โดยสิ่งมีชีวติ ขนาดใหญก่ วา่ เรียกวา่ ผถู้ ูกอาศยัหรือเจา้ บา้ น (host) จะเป็นที่อยอู่ าศยั ของส่ิงมีชีวติ อีกชนิดท่ีขนาดเลก็ กวา่ เรียกวา่ ผอู้ าศยั หรือ ปรสิต (parasite) โดยฝ่ ายเจา้ บา้ นจะเป็นฝ่ ายเสียประโยชน์จากการถูกแยง่ อาหาร หรือถูกใชส้ ่วนหน่ึงของร่างกายเป็นอาหารของปรสิต ซ่ึงอาจส่งผลใหเ้ กิดอาการเจบ็ ป่ วยในเจา้ บา้ นได้ ภาวะปรสิตสามารถแบง่ ไดเ้ ป็นสองลกั ษณะ คือ ภาวะปรสิตภายใน(endo-parasite) และภาวปรสิตภายนอก (ecto-parasite) ปรสิตท้งั สองลกั ษณะจะมีความแตกตา่ งกนั ท่ีลกั ษณะการอยู่อาศยั บนตวั เจา้ บา้ น โดยปรสิตภายในจะอาศยั อยใู่ นอวยั วะตา่ งๆภายในร่างกาของเจา้ บา้ นไดแ้ ก่ พยาธิชนิดต่างๆในร่างกายของสัตว์ เป็นตน้ ส่วนปรสิตภายนอกจะอาศยั อยตู่ ามผวิ หนงั ของเจา้ บา้ น เช่น เห็บ เหา หมดั เป็นตน้

23 แบบทดสอบความเข้าใจคําชี้แจง เมื่อผเู้ รียนศึกษาเร่ือง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ตา่ งชนิดกนั แลว้ ลองตอบคาํ ถามของครูจากการศึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติตา่ งชนิดกนั มีรูปแบบของความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ ก่ีรูปแบบ 1. 7 รูปแบบความสัมพนั ธ์ 2. 3 รูปแบบความสัมพนั ธ์ ตอบขอ้ 1 เปิ ดไป กรอบท่ี 11 หนา้ 18 ตอบขอ้ 2 เปิ ดไปกรอบท่ี 12 หนา้ 19

24 เฉลยตอบขอ้ 1 ถูกตอ้ งเยย่ี มมากคะ่จากคาํ ตอบ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ 2 ชนิดข้ึนไปมีรูปแบบของความสัมพนั ธ์ 7 รูปแบบความสัมพนั ธ์หลกั คือ 1. ภาวะเป็นกลาง (neutralism; 0/0) 18 2. ภาวะการล่าเหยอื่ (predation;+/-) 18 3. ภาวะการแขง่ ขนั (competition; -/-) 18 4. ภาวะการไดร้ ับประโยชน์ร่วมกนั (protocooperation; +/+) 5. ภาวะพ่งึ พากนั (mutualism; +/+) 18 6. ภาวะอิงอาศยั (commensalism; +/0) 18 7. ภาวะปรสิต (paratism; +/-) 18และมีการคน้ พบรูปแบบความสมั พนั ธ์เพิม่ มาอีก 2 รูปแบบความสัมพนั ธ์เกี่ยวกบั พวกกลุ่มสิ่งมีชีวติ ท่ีมีขนาดเลก็ 8. ภาวะการยอ่ ยสลาย (Saprophytism,+/0) 9. ภาวะการหลง่ั สารยบั ย้งั การเจริญ (Antibiosis,0/-) พหี่ มนู อ้ ยใจดี แจกดาวแห่งความดีสาํ หรับคนตอบ ถูก 5 ดวงเลยคะ่

25 เฉลยตอบขอ้ 2 ไม่ถูกค่ะ อยา่ พ่งึ หมดกาํ ลงั ใจ ดูคาํ อธิบายขา้ งล่างก่อนนะคะจากคาํ ตอบ 3 รูปแบบความสมั พนั ธ์ เป็นคาํ ตอบของลกั ษณะของความสมั พนั ธ์ ความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชีวติได้ 3 ลกั ษณะ คือ 1. ความสัมพนั ธ์แบบไดร้ ับประโยชน์ (+) 2. ความสมั พนั ธ์แบบเสียประโยชน์ (-) และ 3. ความสัมพนั ธ์แบบไมไ่ ดร้ ับและไม่เสียประโยชน์ (0)ต่อไปเด็กๆจะไดเ้ รียนรู้เก่ียวกบั รูปแบบ U(Using Information Thinking) ไปทาํ ความรู้จกักนั ค่ะ ไปศึกษากรอบ 13 หนา้ 20 ต่อเลยคะ่ ครับ/คะ่

26ไดเ้ วลาสู่กระบวนการเรียนรู้รูปแบบ U (Using InformationThinking) กนั แลว้ นะคะเด็กๆ ครูปัญยลตั ณ์ใหเ้ ด็กๆออกไปสาํ รวจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ ในทอ้ งถ่ินกบั พหี่ มูนอ้ ยชอบไหมคะ สงสัยอะไรไหมคะ เต้ ยกมือสงสยั ครับครู กระบวนการเรียนรู้รูปแบบ U (Using Information Thinking) มนั มีข้นั ตอนยงั ไงครับ พวกผมตอ้ ง ทาํ หนา้ ที่อะไรบา้ งเก่งมากคะ เดี๋ยวครูช้ีแจง กระบวนการเรียนรู้รูปแบบ U (Using InformationThinking) ใหเ้ ขา้ ใจนะคะ เพ่ือท่ีเดก็ ๆจะไดป้ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีตนเองไดถ้ ูกตอ้ งเป็นการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะการส่ือความหมาย (Communication Skill)แบบฝึกการคิดเลือกความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิมที่เก่ียวขอ้ งโดยตรงเพือ่เป็นประโยชน์ต่อส่ิงที่กาํ ลงั เรียนรู้ใหม่โดยมีข้นั ตอนดงั น้ีคะข้นั ที่ 1 เปรียบเทียบสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ หรือสิ่งท่ีกาํ ลงั ประสบแลว้ บอกไดว้ า่ตนเองมีความรู้เดิม หรือประสบการณ์เดิมอะไรบา้ งทีเกี่ยวขอ้ งกนัข้นั ที่ 2 การเลือกความรู้เดิม หรือประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวขอ้ งโดยตรงและเป็นประโยชน์ต่อส่ิงที่กาํ ลงั เรียนรู้ใหม่ข้นั ที่ 3 การบอกไดว้ า่ ความรู้เดิมท่ีเลือกมามีความสมั พนั ธ์หรือเป็นประโยชน์แก่สิ่งที่เรียนรู้ใหม่อยา่ งไรข้นั ที่ 4 การใชข้ อ้ มูลเดิมท่ีเลือกมาน้นั ใหเ้ ป็ นประโยชนแ์ ก่การเรียนรู้ส่ิงใหม่ตอ่ ไปเดก็ ๆศึกษาตวั อยา่ งแบบฝึกหดั ก่อนท่ีทุกคนจะไดอ้ อกไปสาํ รวจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในทอ้ งถ่ินพร้อมกบั พห่ี มนู อ้ ยคะ ศึกษาตวั อยา่ งแบบฝึกหดั กรอบท่ี 14 หนา้ 21แลว้ ไปสาํ รวจพร้อมทาํ แบบฝึกหดักรอบ 15 หนา้ 24-25

27 ตัวอย่างแบบฝึ กหัดคาํ ชี้แจง กิจกรรมที่ 1 ผเู้ รียนเตรียมตวั ออกไปสาํ รวจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในทอ้ งถิ่น กบั พี่หมนู อ้ ยนาํ สาํ รวจ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ สิ่งท่ีตอ้ งเตรียมไปดว้ ยคือ กลอ้ งถ่ายรูป หมวก สมุด ดินสอปากกา กระติกน้าํ ดื่ม กระเป๋ า ภาระงานที่ผเู้ รียนตอ้ งทาํ ส่งครู คือ การถ่ายภาพความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติที่พบในทอ้ งถิ่น หรือจากการสืบคน้ ผา่ นระบบอินเตอร์เน็ท แลว้ นาํ ขอ้ มลู มาจดั กระทาํ ใหม่ เพ่อื นาํ เสนอเพื่อนร่วมช้นั เรียนและครู ดงั ตวั อยา่ งดงั ต่อไปน้ีความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ

28ตัวอย่างแบบฝึ กหัด

29ตัวอย่างแบบฝึ กหัด

30 แบบฝึ กหัดคาํ ชี้แจง กิจกรรมท่ี 1 ผเู้ รียนเตรียมตวั ออกไปสาํ รวจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในทอ้ งถิ่น กบั พ่ีหมูนอ้ ยนาํ สาํ รวจ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ สิ่งท่ีตอ้ งเตรียมไปดว้ ยคือ กลอ้ งถ่ายรูป หมวก สมุด ดินสอปากกา กระติกน้าํ ด่ืม กระเป๋ า ภาระงานที่ผเู้ รียนตอ้ งทาํ ส่งครู คือ การถ่ายภาพความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติท่ีพบในทอ้ งถิ่น หรือจากการสืบคน้ ผา่ นระบบอินเตอร์เน็ท แลว้ นาํ ขอ้ มูลมาจดั กระทาํ ใหม่ เพ่ือนาํ เสนอเพอื่ นร่วมช้นั เรียนและครู คนละ 2 รูปแบบความสัมพนั ธ์แลว้ แต่จะเลือกทาํ (คะแนนเตม็ 20 คะแนน)ความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ

31 แบบฝึ กหดัความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศเดก็ ๆไปตรวจเฉลยกนั ค่ะ ใครตอบถูกได้ คะแนน นะคะไปศึกษาแนวการตอบในกรอบที่ 17 หนา้ 26 และกรอบท่ี 18หนา้ 27

32 เฉลยแบบฝึ กหดัคําชี้แจง ใหผ้ เู้ รียน พิจารณาแนวการตอบ กิจกรรมที่ 1 ผเู้ รียนเตรียมตวั ออกไปสาํ รวจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ ในทอ้ งถ่ิน กบั พห่ี มูนอ้ ยนาํ สาํ รวจ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ สิ่งท่ีตอ้ งเตรียมไปดว้ ยคือกลอ้ งถ่ายรูป หมวก สมุด ดินสอ ปากกา กระติกน้าํ ดื่ม กระเป๋ า ภาระงานที่ผเู้ รียนตอ้ งทาํ ส่งครู คือ การถ่ายภาพความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ที่พบในทอ้ งถ่ิน หรือจากการสืบคน้ ผา่ นระบบอินเตอร์เน็ท แลว้ นาํขอ้ มลู มาจดั กระทาํ ใหม่ เพื่อนาํ เสนอเพอื่ นร่วมช้นั เรียนและครู คนละ 2 รูปแบบความสัมพนั ธ์แลว้ แต่จะเลือกทาํ (คะแนนเตม็ 20 คะแนน)ความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมชี ีวติ ในระบบนิเวศ

33 เฉลยแบบฝึ กหัดความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนทาํ ได้ 15 คะแนน คุณเยยี่ มมากทาํ ได้ 13 -14 คุณคือคนเก่งทาํ ได้ 11-12 คุณผา่ นเกณฑ์ ยนิ ดีดว้ ยครับทาํ ได้ 9 -10 คะแนน ควรศึกษาเพ่มิ เติมนะครับทาํ ได้ 1 – 8 คะแนน กลบั ไปศึกษาใหมน่ ะครับ

34 แบบฝึ กหดัคาํ ชี้แจง กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมนกั ข่าวฝึกหดั ผเู้ รียนกาํ ลงั จะเป็นนกั ขา่ วของโรงเรียน ลองไปสาํ รวจป่ าชุมชน หว้ ย หนอง คลอง บึง ถ่ายภาพหรือสเก็ตช์ภาพ แลว้ จดบนั ทึกขอ้ มลู ลงในตารางไวก้ ่อนดงั ต่อไปน้ี(คะแนนเตม็ 20 คะแนน) ช่ือสัตว์ ทอี่ ยู่ อาหาร ลกั ษณะ ศัตรู ไปเป็นนกั ข่าวฝึกหดั กลบั มาแลว้ นะคะเด็กๆ ตอ่ ไปให้ นกั ขา่ วฝึกหดั ทุกคนนาํ ขอ้ มลู ท่ีไดม้ าจากตาราง ไปจดั กระทาํ ขอ้ มูลใหม่ รายงานขา่ วของเธอ ในแบบฝึกหดั กิจกรรมท่ี 3 รายงานข่าวของเธอ กรอบที่ 17 หนา้ 29

35 แบบฝึ กหดัคําชี้แจง กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมรายงานข่าวของเธอ ใหน้ กั ขา่ วฝึกหดั นาํ ขอ้ มูลในกิจกรรมที่ 2 มาจดั กระทาํใหม่ นาํ เสนอในรูปแบบที่เหมาะสมกบั การรายงานข่าวของเธอ ดงั ต่อไปน้ี (คะแนนเตม็ 20 คะแนน)ตวั อยา่ งรายงานข่าวของเธอ รายงานข่าวของเธอ รายงานข่าวของเธอเขียดอีปาดเป็ นสตั วค์ ร่ึงบกคร่ึงน้าํ มีขา 4 ขา ชอบกระโดนไปมา ดวงตาโปนสีดาํ ลาํ ตวั มีสีเขียว ผสมสีน้าํ ตาลรายงานข่าวของเธอ รายงานข่าวของเธอ รายงานข่าวของเธอ เด็กๆไปตรวจเฉลยกนั ค่ะ ใครตอบถูกได้ คะแนน นะคะ ไปศึกษาแนวการตอบในกรอบท่ี 18 หนา้ 30 และกรอบที่ 19 หนา้ 31

36 เฉลยแบบฝึ กหัดคาํ ชี้แจง ใหผ้ เู้ รียน พิจารณาแนวการตอบ กิจกรรมท่ี 2กิจกรรมนกั ข่าวฝึกหดั ผเู้ รียนกาํ ลงั จะเป็นนกั ขา่ วของโรงเรียน ลองไปสาํ รวจ ป่ าชุมชน หว้ ย หนอง คลอง บึง ถ่ายภาพหรือสเก็ตช์ภาพ แลว้ จดบนั ทึกขอ้ มูลลงในตารางไวก้ ่อนดงั ตอ่ ไปน้ี (คะแนนเตม็ 20 คะแนน)ชื่อสัตว์ ทอ่ี ยู่ อาหาร ลกั ษณะ ศัตรูแมลงปอ อาศยั อยตู่ ามตน้ ไม้ กินพืชและสตั ว์ ลาํ ตวั เป็นปลอ้ ง สัตวท์ ี่มีขนาดใหญ่ ขนาดเลก็ เช่น แมง สีแตกตา่ งกนั ข้ึนอยู่ ผเี ส้ือ หรือตน้ หญา้ กบั ชนิดพนั ธุ์ส่วน เช่น งู คน มด ท่ีผวิ น้าํ มวนน้าํ มด หวั มีหนวด ดวงตา ใหญ่ มีปี ก 2 ขา้ ง มด และคน จิ้งจก ชอบบินไปเกาะ ดูดน้าํ หวานของ เป็นสตั วป์ ี ก มีปี ก กิ้งก่า ตามตน้ ดอกไม้ ดอกไมก้ ินเป็น สีสวยงามต่างกนั คนและสัตวท์ ี่มี สีสันสวยงาม ขนาดใหญ่ พ้นื ดินในป่ าหรือ อาหาร มีขา 6ขา มีหนวด 2 ตามบา้ นเรือนคน เศษใบไม้ เมล็ด เส้น ลาํ ตวั แบ่งเป็ น พวกตุก๊ แกสัตว์ ขา้ ว ซากส่ิงมีชีวติ ส่วนหวั กบั ลาํ ตวั คลา้ ยกนั แต่มีขนาด เกาะตามผนงั บา้ นเรือนคนหรือ กินมด และแมลง เป็ นสีแดง ใหญก่ วา่ ต่างๆ มี 4 ขา เทา้ มีพงั ผดื คน งูและสตั วท์ ่ีมี หรือตน้ ไม้ ยดึ ติดกนั ลาํ ตวั เลก็ เกาะอยตู่ ามตน้ ไม้ กินมด ขนาดใหญ่ ในป่ าหรือทุ่งนา ซากส่ิงมีชีวติ พชื สีเทา และแมลงต่างๆ มี 4 ขา เทา้ มีพงั ผดื ยดึ ติดกนั ลาํ ตวั เลก็ สีแตกต่างกนั แลว้ แต่ชนิดพนั ธ์

37 เฉลยแบบฝึ กหัด คาํ ชี้แจง ใหผ้ เู้ รียน พจิ ารณาแนวการตอบ กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมรายงานข่าวของเธอ ให้นกั ขา่ วฝึกหดั นาํ ขอ้ มลู ในกิจกรรมท่ี 2 มาจดั กระทาํ ใหม่ นาํ เสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสมกบั การรายงานขา่ วของเธอ ดงั ต่อไปน้ี (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) รายงานข่าวของเธอ รายงานข่าวของเธอ แมลงปอ ผีเสื้อ สีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ชนิดพนั ธุ์ส่วนหวั มี เป็นสตั วป์ ี กสีสนั สวยงามชอบดูด หนวด ดวงตาใหญ่ มีปี ก 2 ขา้ ง ลาํ ตวั น้าํ หวานของดอกไมเ้ ป็นอาหาร เป็นปลอ้ ง ชอบบินมาเกาะตามตน้ ไม้ รายงานข่าวของเธอรายงานข่าวของเธอ รายงานข่าวของเธอมด กิง้ ก่าอาศยั อยตู่ ามพ้นื ดิน มีขา 6 ขา มีหนวด 2 จิง้ จกเส้นลาํ ตวั เป็นปลอ้ ง กินซากพืชซากสัตว์ เกาะตามผนงั บา้ นเรือนหรืออาคารตา่ งๆ เกาะอยตู่ ามตน้ ไมใ้ นป่ าหรือทุง่ นา กินมด กินมดและแมลงเป็นอาหาร มีส่ีขา ตวั แมลงเป็นอาหาร มีสีสวยตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ บัเป็ นอาหาร ชนิดพนั ธ์ เป็ นสีเทา

38 วชิ า ว33101 ขอ้ ทดสอบ เรื่อง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ วทิ ยาศาสตร์ หลงั เรียน เล่มที่ 2ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 เวลา 10 นาทีไดเ้ วลาเด็กๆ ทาํ ขอ้ สอบหลงั เรียนนะครับคาํ ชี้แจง ใหผ้ เู้ รียนศึกษาและเลือกคาํ ตอบท่ีถูกที่สุดเพียงคาํ ตอบเดียว1. ไลเคน เป็นส่ิงมีชีวติ ท่ีมีการอยรู่ ่วมกนั ในลกั ษณะใด ก. ภาวะไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั ข. ภาวะพ่งึ พากนั ค. ภาวะอิงอาศยั ง. ภาวะยอ่ ยสลาย2. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในขอ้ ใดที่เป็นลกั ษณะเดียวกนั ท้งั หมด ก เหากบั ควาย นกเอ้ียงกบั ควาย หมดั กบั สุนขั ข พยาธิใบไมใ้ นตบั ไรในตวั ไก่ กาฝากกบั ตน้ ไมใ้ หญ่ ค เหาฉลามกบั ปลาฉลาม เหาบนหวั คน หนอนกบั ใบไม้ ง ดอกไมก้ บั แมลง ไวรัสตบั อกั เสบบี แบคทีเรียในลาํ ไส้คน3. ถา้ ให้ + แทนการไดป้ ระโยชน์ - แทนการเสียผลประโยชน์ 0 แทนการไม่ไดแ้ ละไมเ่ สียผลประโยชน์สิ่งมีชีวติ ชนิดใดที่มีความสัมพนั ธ์แบบ +,+ ; +,0 และ +,- เรียงลาํ ดบั ก. ผเี ส้ือกบั ดอกไม้ , เพล้ียกบั มดดาํ , เห็บกบั สุนขั ข. นกเอ้ียงกบั ควาย, เฟิ ร์นบนตน้ ไม,้ ฝอยทองบนตน้ ไม้ ค. เสือกบั อีแร้ง, กลว้ ยไมบ้ นตน้ ไม,้ กาฝากบนตน้ มะม่วง ง. รากบั สาหร่าย, ปลาการ์ตนู กบั ดอกไมท้ ะเล, พยาธิตวั ตืดกบั คน4.ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเห็บกบั สุนขั เหมือนกบั ความสมั พนั ธ์ตามขอ้ ใด ก. เพรียงท่ีเกาะบนตวั สัตว์ ข. ฝงู สุนขั ท่ีแยง่ อาหารกนั ค. กาฝากบนตน้ ไม้ ง. แมว กบั หนู5. ขอ้ ใดจดั วา่ มีรูปแบบของความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชิตแบบเดียวกนั

39 ก. ดอกไมก้ บั แมลง ไลเคน ข. นกเอ้ียงกบั ควาย พลูด่างกบั ตน้ ไมใ้ หญ่ ค. เสือกบั กวาง เสือกบั สิงโตที่ล่าเหยอื่ ตวั เดียวกนั ง. กลว้ ยไมก้ บั ตน้ มะมว่ ง ปลาฉลามกบั เหาฉลาม6. ปัจจยั ทางกายภาพที่มีอิทธิพลตอ่ การอพยพยา้ ยถ่ินของสตั วม์ ากที่สุดคือขอ้ ใด ก. แร่ธาตุในดิน ข. อุณหภูมิ ค. แสง ง. น้าํ7. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ โดยฝ่ ายหน่ึงฝ่ ายใดเสียประโยชน์ หรือท้งั สองเสียประโยชน์จะไม่เกิดข้ึนระหวา่ งขอ้ ใด ก. คน กบั ยงุ กน้ ปล่อง ข. ควาย กบั นกเอ้ียง ค. หมดั กบั สุนขั ง. ววั กบั หญา้8. ตวั อยา่ งขอ้ ใดแสดงถึงความสัมพนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ แบบไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั ก. ผเี ส้ือ กบั ดอกไม้ ข. นกแกว้ กบั หนอน ค. พยาธิตวั ตืด กบั สุกร ง. ตกั๊ แตนปาทงั กา้ กบั ขา้ วโพด9. การระบาดของตกั๊ แตนปาทงั กา้ ทาํ ความเสียหายในไร่ขา้ วโพด จงั หวดั ปราจีนบุรี จดั เป็นปรากฏการณ์ทางนิเวศวทิ ยาท่ีพืชและสัตว์ มีความสมั พนั ธ์ตอ่ กนั และกนั ในลกั ษณะใด ก. ภาวะปรสิต ข. การล่าเหยอ่ื ค. ภาวะอิงอาศยั ง. ภาวะที่ตอ้ งพ่ึงพา10. ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งซีแอนนีโมน ท่ีเกาะบนเปลือกปูเฉสวนและความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแมลงกบัดอกไม้ เรียกวา่ อะไรตามลาํ ดบั ก. ภาวะอิงอาศยั ,ภาวะอิงอาศยั ข. ภาวะพ่ึงพากนั ,ภาวะอิงอาศยั ค. ภาวะปรสิต,ไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั ง. ไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั ,ไดป้ ระโยชน์ร่วมกนั

40ทาํ ถูกก่ีขอ้ ขอเชิญเด็กๆ ตรวจดูคาํ เฉลยนะคะทาํ คะแนนใหไ้ ดม้ ากกวา่ ก่อนเรียน!! นะคะเพราะเป็นคะแนนสอบหลงั เรียน เฉลยขอ้ สอบหลงั เรียน ขอ้ 1 ข ขอ้ 2 ข ขอ้ 3 ง ขอ้ 4 ค ขอ้ 5 ค ขอ้ 6 ข ขอ้ 7 ข ขอ้ 8 ค ขอ้ 9 ก ขอ้ 10 งเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนถูก 1-4 ขอ้ ตอ้ งแกไ้ ข เร่งทาํ ความเขา้ ใจกบับทเรียนใหม้ ากๆถูก 5-7 ขอ้ พอใช้ ควรศึกษาเพิ่มเติมอีกถูก 8-9 ขอ้ ดี ผา่ นเกณฑย์ นิ ดีดว้ ยคะแต่ทดสอบหลงั เรียนตอ้ งรักษาระดบั หรือใหด้ ีกวา่ น้ีนะคะถูก 10 ขอ้ ดีมาก คุณเยย่ี มมาก ขอปรบมือให้ทดสอบหลงั เรียนตอ้ งเป็นเช่นน้ีนะคะ

41หายเหน่ือยแลว้ ใช่ไหมคะขอเชิญเรียนเร่ืองประชากรในระบบนิเวศ เล่มที่ 3 พบกบัพนี่ กนอ้ ยนาํ สาํ รวจนะคะเด็กๆ

42 บรรณานุกรมกรมวชิ าการ. (2551). หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าวกระทรวงศึกษาธิการ. (2550). เรียนรู้โลกกว้าง สํารวจและเรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.ฝ่ ายวชิ าการ. (2537). วทิ ยาศาสตร์ ม. 3. กรุงเทพฯ : ภูมิบณั ฑิตการพมิ พ.์นงพงา สุขวนิช. (2556). “ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ” (ออนไลน)์ 2 เขา้ ถึงไดจ้ าก http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=1600. สืบคน้ วนั ท่ี 2 มีนาคม 2558.ยพุ า วรยศและคณะ.(มปพ.). หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์.ศรัณย์ ศรีมี. (2558). “ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ” (ออนไลน์) เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.slideshare.net/oHellJungo/ss-4675687. สืบคน้ วนั ที่ 2 มีนาคม 2558.สมนึก ภทั ทิยธนี. (2549). การวดั ผลการศึกษา. กาฬสินธุ์ : ประสานการพมิ พ.์สารานุกรมสาํ หรับเยาวชน. (2558). ”ระบบนิเวศ” (ออนไลน)์ เขา้ ถึงไดจ้ าก http//kanchanapisek.or.th/kp6. สืบคน้ วนั ที่ 2 มีนาคม 2558.สุวทิ ย์ มลู คาํ . (2549). ครบเคร่ืองเรื่องการคดิ . กรุงเทพฯ : หา้ งหุน้ ส่วนจาํ กดั ภาพพิมพ์สุวทิ ย์ มลู คาํ และสุนนั ทา สุนทรประเสริฐ. (2550). ผลงานทางวชิ าการสู่...การเลื่อนวทิ ยฐานะ. กรุงเทพฯ : หา้ งหุน้ ส่วนจาํ กดั ภาพพิมพ.์ฤทธ์ิ วฒั นชยั ยงิ่ เจริญ. (2549). ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ มสิ่งมีชีวติ กบั กระบวนการดาํ รงชีวิต . พิมพค์ ร้ังที่ 1. กรุงเทพ ฯ : อกั ษรเจริญทศั น.์

43จัดพมิ พ์โดย นางสาวปัญยลตั ณ์ สุขสงวน ครูโรงเรียนบ้านหนองเตยสพป.ศรีสะเกษ เขต 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook