Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาคผนวก ง. เอกสารรายงานผล

ภาคผนวก ง. เอกสารรายงานผล

Published by mintra40250, 2021-10-20 02:49:57

Description: ภาคผนวก ง. เอกสารรายงานผล

Search

Read the Text Version

(รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา โครงการติดตามประเมินผลสาเร็จในภาพรวม ของการใหก้ ารสนบั สนุนโครงการของกองทุนสงิ่ แวดล้อม ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2535 – 2562 กองบรหิ ารกองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม สานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หนา้ ก โครงการของกองทนุ ส่งิ แวดล้อม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 สารบัญ หน้า 1. บทนา ........................................................................................................................................1 1.1 หลกั การและเหตุผล .............................................................................................................. 1 1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ ..................................................................................................... 2 1.3 พ้ืนที่/กลุ่มเปา้ หมาย.............................................................................................................. 2 1.4 ระยะเวลา และแผนการดาเนินงาน....................................................................................... 2 1.5 แนวทางการศึกษาโครงการ................................................................................................... 2 2. ระบบการติดตามและประเมินผลความสาเร็จในภาพรวมทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาโครงการ ...................4 2.1 วัตถุประสงค์ของการตดิ ตามประเมนิ ผล................................................................................ 4 2.2 ขอบเขตการติดตามประเมนิ ผล............................................................................................. 5 2.3 เกณฑ์การประเมนิ วธิ ีการประเมนิ และแหลง่ ข้อมูลในการตดิ ตามและประเมนิ ผล................ 6 2.4 การจดั ลาดบั ความสาคัญแผนงาน/โครงการ ........................................................................ 15 3. โครงการทไี่ ด้รับการสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2535 จนถงึ ปจั จบุ นั (ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2564)..............................................................................17 4. การกาหนดเกณฑก์ ารจาแนกลาดับของประเภทโครงการ.........................................................26 4.1 การจาแนกตามกลุ่มเป้าหมายที่มีสทิ ธขิ อรบั การสนับสนุน................................................... 28 4.2 การจาแนกโครงการตามมาตราทใ่ี หก้ ารสนับสนุน ............................................................... 28 4.3 การจาแนกโครงการตามการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม .................................................................. 29 4.4 การจาแนกประเภทโครงการตามลกั ษณะกจิ กรรมท่ขี อรบั การสนับสนนุ ............................. 30 4.5 ผลการจาแนกประเภทโครงการตามเกณฑท์ ่ีกาหนด............................................................ 30 5. การกาหนดเกณฑจ์ ดั ลาดบั ความสาคญั และการคัดเลือกโครงการท่จี ะใชเ้ ปน็ กรณศี ึกษา เพือ่ ติดตามประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวม ...............................................................................................32 5.1 กรอบเกณฑ์การจัดลาดบั ความสาคัญสาหรบั กลมุ่ โครงการทั่วไปและโครงการเงินสมทบ ..... 32 5.2 กรอบเกณฑ์การจดั ลาดบั ความสาคัญสาหรบั กล่มุ โครงการคดั แยกขยะทต่ี น้ ทาง.................. 36 (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บริษัท ยไู นเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จิเนียร่งิ คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนนุ หน้า ข โครงการของกองทนุ สิง่ แวดลอ้ ม ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 5.3 กรอบเกณฑ์การจัดลาดบั ความสาคัญสาหรบั กล่มุ โครงการตอ่ เนื่อง ..................................... 36 6. เกณฑ์การคดั เลอื กโครงการทใี่ ชเ้ ปน็ กรณีศึกษา........................................................................41 6.1 เกณฑ์คะแนนความสอดคล้อง ............................................................................................. 42 6.2 เกณฑ์คะแนนความเช่ือมโยง ............................................................................................... 42 6.3 เกณฑ์คะแนนงบประมาณ................................................................................................... 43 7. ผลการวิเคราะหแ์ ละประเมินผลความสาเรจ็ ของโครงการในภาพรวม ......................................48 7.1 โครงการที่ดาเนนิ การเพอื่ การจดั การคุณภาพสิ่งแวดล้อม .................................................... 48 7.2 โครงการทด่ี าเนินการเพือ่ การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อด้านการ คุม้ ครองสิ่งแวดล้อม และอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ.......................................................... 50 7.3 โครงการที่ดาเนินการเพ่ือส่งเสรมิ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม................ 52 8. การวเิ คราะห์และประเมินผลการดาเนินการของโครงการท่ีกองทนุ ส่ิงแวดลอ้ มได้ให้การสนับสนุน ท่ไี ด้คดั เลอื ก กับบริบทการพัฒนาและสถานการณส์ ิ่งแวดลอ้ ม .........................................................52 8.1 การวิเคราะห์และประเมนิ ผลความสาเรจ็ ของการให้การสนับสนุนโครงการของกองทุน สิ่งแวดลอ้ มเปรยี บเทยี บกบั บรบิ ทของประเทศ .................................................................... 53 8.2 การวเิ คราะห์และประเมินผลสาเร็จเปรยี บเทียบกับสถานการณส์ งิ่ แวดล้อม ........................ 54 9. ผลการวเิ คราะห์ประเมินผลโครงการในภาพรวม ทด่ี าเนินการ ปี พ.ศ. 2550-2562.................60 9.1 การประเมินความสอดคล้อง (Relevance Evaluation)..................................................... 60 9.2 การประเมนิ ความเชอ่ื มโยง (Coherence Evaluation)...................................................... 63 9.3 ประสทิ ธผิ ลผลผลติ (Outputs Effectiveness)................................................................. 66 9.4 ประสทิ ธิผลผลลัพธข์ ้นั ตน้ (Immediate Outcome Effectiveness) ................................. 69 9.5 ประสิทธิผลผลลพั ธข์ นั้ กลาง (Intermediate Outcome Effectiveness) .......................... 73 9.6 ประสทิ ธิผลผลลัพธ์ขนั้ ปลาย (Final Outcome Effectiveness)........................................ 77 9.7 ประสิทธภิ าพด้านต้นทุน (Unit-Cost Evaluation)............................................................. 81 9.8 ประสทิ ธิภาพด้านเวลา (Time Efficiency) ......................................................................... 85 (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ทั ยไู นเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจเิ นยี ร่ิง คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมินผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนนุ หนา้ ค โครงการของกองทนุ สงิ่ แวดล้อม ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 สารบัญ (ต่อ) หน้า 10. ผลการประเมนิ ด้านเศรษฐศาสตร์ของโครงการท่ใี ชเ้ ปน็ กรณศี กึ ษา...........................................88 11. ข้อเสนอแนะแนวทางปรับปรงุ การกาหนดทศิ ทาง การจัดลาดบั ความสาคัญในการให้การ สนับสนุนโครงการ และแนวทางในการจดั สรรงบประมาณของกองทนุ สิง่ แวดล้อม...........................90 12. การจดั ทาเอกสาร และ VDO Clip และ Infographic เพื่อเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ผลการศึกษา และผลสาเร็จของการให้การสนับสนนุ โครงการของกองทุนสง่ิ แวดลอ้ ม ...........................................92 13. การจัดประชมุ สัมมนา เพ่ือนาเสนอผลการศกึ ษาโครงการ........................................................92 (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ทั ยไู นเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอน็ จเิ นียร่ิง คอนซลั แตนท์ จากดั

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หน้า 1 โครงการของกองทนุ ส่ิงแวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา โครงการตดิ ตามประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการให้การสนบั สนนุ โครงการของกองทนุ ส่ิงแวดล้อม ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 – 2562 1. บทนา 1.1 หลักการและเหตผุ ล กองทุนสิ่งแวดล้อมจัดต้ังข้ึนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และดาเนินการภายใต้สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ตามกลยุทธ์ ที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติงานกองทุนส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2564 ในระยะท่ีผ่านมากองทุน สิ่งแวดล้อมได้ให้การสนับสนุนโครงการแก่หน่วยงานทัง้ ภาครัฐท่ีเป็นส่วนราชการองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน และองค์กรเอกชน ด้านส่ิงแวดล้อม ในการจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสีย อากาศเสีย ระบบกาจัดของเสีย รวมทั้งสนับสนุนด้านการคุ้มครอง สิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือดาเนินกิจกรรมใด ๆ ท่ีเก่ียวกับการส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม ตั้งแต่พ.ศ. 2535 - 2562 รวมท้ังสิ้น 1,636 โครงการ เป็นเงิน 16,002.87 ล้านบาท ท้ังน้ีได้ดาเนินการติดตามและประเมินโครงการท่ีได้รับ การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่ิงแวดล้อม ตั้งแต่เร่ิมต้นจนสิ้นสุดโครงการ เพื่อให้ได้รับทราบถึง ปัญหาและอุปสรรคระหว่างดาเนินโครงการ รวมถึงให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ตลอดจนแนวทาง การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้ประชุมช้ีแจงโครงการติดตามและประเมินผล การดาเนินงานระหวา่ งการดาเนนิ โครงการ ประเมินส้นิ สุดโครงการ และเมอื่ โครงการสิน้ สดุ การดาเนินงาน ไปแล้ว 1-2 ปี จะประเมินความคุ้มค่าโครงการเป็นลาดับสุดท้าย ทั้งน้ีท่ีผ่านมาการให้การสนับสนุนของ กองทุนส่ิงแวดล้อมได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง มาก แต่ยังไม่ได้มีการประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการให้การสนับสนุนโครงการของกองทุน สิ่งแวดล้อมเพื่อเผยแพรใ่ หเ้ ป็นที่ประจกั ษ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สผ. จึงเห็นควรให้ว่าจ้างดาเนินโครงการติดตามประเมินผลสาเร็จใน ภาพรวมของการให้การสนับสนุนโครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 - 2562 เพื่อประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการให้การสนับสนุนโครงการ ท้ังในมิติประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ ผลกระทบ รวมถึงนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ได้จากการประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการให้ การสนับสนุนโครงการไปใช้เป็นแนวทางปรับปรุงการกาหนดทิศทาง การจัดลาดับความสาคัญในการให้ การสนับสนุนโครงการ และเป็นแนวทางในการจัดสรรงบประมาณของกองทุนสิง่ แวดล้อมต่อไป (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บรษิ ทั ยูไนเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริง่ คอนซลั แตนท์ จากดั

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หน้า 2 โครงการของกองทุนสิง่ แวดล้อม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ • เพื่อประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการให้การสนับสนุนโครงการของกองทุนสิ่งแวดล้อม ระหว่าง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 - 2562 • เพ่ือเผยแพร่ผลสาเร็จในภาพรวมของการให้การสนับสนุนโครงการของกองทุนสิ่งแวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 - 2562 1.3 พ้ืนที/่ กลมุ่ เปา้ หมาย พ้ืนที่โครงการกลุ่มผู้ได้รับประโยชน์ และผลกระทบจากการให้การสนับสนุนโครงการของ กองทุนสง่ิ แวดลอ้ มระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535 – 2562 1.4 ระยะเวลา และแผนการดาเนนิ งาน กาหนดระยะเวลาดาเนินโครงการ ภายใน 270 วนั นับจากวนั ท่ีลงนามในสญั ญา 1.5 แนวทางการศึกษาโครงการ ท่ีปรกึ ษาเสนอกรอบแนวคดิ การดาเนนิ งานศึกษาของโครงการ เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายเชงิ ผลผลติ อัน ประกอบด้วย เอกสารรายงานผลการศึกษาโครงการติดตามประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการให้การ สนับสนุนโครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อม เอกสารเผยแพร่ผลสาเร็จในภาพรวมของการให้การสนับสนุน โครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อม วีดิทัศน์ (VDO Clip) และอินโฟกราฟิกส์ (Info graphic) เพื่อเผยแพร่ ผลสาเร็จของการให้การสนับสนุนโครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 – 2562 และการจัดประชุมสัมมนา เพื่อนาเสนอผลการศึกษาโครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จใน ภาพรวมของการให้การสนับสนุนโครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 - 2562 ซง่ึ ที่ปรึกษาไดก้ าหนดกรอบแนวทางการดาเนนิ งาน ดงั รูปที่ 1 (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษัท ยูไนเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอน็ จิเนยี ริ่ง คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หนา้ 3 โครงการของกองทนุ สงิ่ แวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 รปู ที่ 1 กรอบแนวคดิ การดาเนินโครงการ (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษัท ยไู นเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จิเนยี ร่งิ คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หน้า 4 โครงการของกองทนุ สิ่งแวดล้อม ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 2. ระบบการตดิ ตามและประเมนิ ผลความสาเร็จในภาพรวมท่ีใชใ้ นการศึกษาโครงการ ที่ปรึกษาได้กาหนดกรอบของระบบการติดตามและประเมินผลความสาเร็จในภาพรวมที่ใช้ใน การศึกษาโครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการให้การสนบั สนนุ โครงการของกองทุน สิ่งแวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ครั้งน้ี โดยแบ่งเป็น 8 องค์ประกอบสาคัญคือ (1) การกาหนดวัตถุประสงค์ของการติดตามประเมินผล (2) การกาหนดขอบเขตการติดตามประเมินผล (3) การกาหนดเกณฑ์ วิธีการวัด และแหล่งข้อมูล (4) การจัดลาดับความสาคัญของแผนงาน/โครงการท่ีจะ ดาเนนิ การตดิ ตามและประเมินผล (5) เคร่ืองมือ/รปู แบบการจัดเกบ็ รวบรวมข้อมูล (6) การทาความเข้าใจ และรับฟังความเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการประเมินผลครั้งนี้ (7) การรวบรวม ตรวจสอบ ประมวลผล และวิเคราะหข์ ้อมูล และ (8) การรายงานผลและจัดทาขอ้ เสนอแนะ ดงั รูปท่ี 2-1 รูปที่ 2-1 องค์ประกอบของระบบติดตามประเมนิ ผลความสาเร็จในภาพรวม ของการให้การสนับสนนุ โครงการของกองทุนสิ่งแวดลอ้ มฯ 2.1 วัตถุประสงค์ของการติดตามประเมินผล การตดิ ตามประเมนิ ผลภายใต้โครงการน้ี มีวัตถุประสงค์สาคัญ 3 ประการ 1) พัฒนาระบบและดาเนินการติดตามประเมินผลท่สี ามารถสะท้อนผลสาเร็จในภาพรวมของการ ให้การสนับสนุนโครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อมระหว่างปงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ท่ีสามารถ อธิบายการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นในระดับเป้าประสงค์ สะท้อนกลับไปถึงระดับผลลัพธ์ และผลผลิตท่ีเกิด จากการขับเคล่อื นหรือการดาเนนิ แผนงาน/โครงการของหน่วยงานต่างๆ ท่ีไดร้ ับการสนบั สนุนเงนิ ทนุ หรือ กลา่ วอีกนยั หนึ่ง คือ ระบบการประเมนิ ผลทแี่ สดงให้เห็นถึงความเชื่องโยง (Cascade) ของการดาเนินงาน (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ทั ยูไนเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจเิ นียร่งิ คอนซัลแตนท์ จากดั

โครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หน้า 5 โครงการของกองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ของแผนงาน/โครงการทีด่ าเนินการโดยหนว่ ยงานต่างๆ ที่ไดร้ ับทุนกับการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายภายใต้แต่ละ ยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ของแผนแม่บทกองทุนสิ่งแวดล้อม และแผนอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องในช่วงก่อนมี แผนแม่บทฯ สามารถสรุปได้ดงั รปู ท่ี 2-2 2) เพื่อตดิ ตามและประเมินผลโครงการทเี่ ปน็ “ตัวขับเคล่อื นสาคญั (Key Driver)” ท่ดี าเนินการ ในช่วงก่อนมีแผนแม่บทฯ และแผนปฏิบัติงานประจาปี โดยใช้ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สงิ่ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ.2535 มาตรา 23 เป็นกรอบในการประเมนิ และในชว่ งทม่ี ีแผนแม่บทฯ และแผน ปฏิบัติงานประจาปี ตั้งแต่ช่วงปี 2555 เป็นต้นมา โดยยึดถือเกณฑ์การประเมินตามมาตรฐานขององค์การ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา ( Organization for Economic Cooperation and Development-OECD) รูปที่ 2-2 วตั ถปุ ระสงค์ของการตดิ ตามประเมินผล 3) เพ่ือนาผลการประเมินในภาพรวม (Overall) รายประเด็น (Issue Based) และเชิงพ้ืนที่ (Reginal & Provincial Based) และจดั ทาขอ้ เสนอแนะการประเมนิ ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินงานให้มี ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลเพม่ิ ขึน้ อยา่ งต่อเนื่องและนาไปสู่การบรรลุเป้าประสงคท์ รี่ ะบุไว้ 2.2 ขอบเขตการติดตามประเมนิ ผล ขอบเขตในการติดตามประเมินผลแผนงาน/โครงการภายใต้ โครงการน้ี คือ แผนงาน/โครงการ ของกองทนุ สิ่งแวดลอม ทีม่ ีการดาเนินการระหวา่ งปงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บริษทั ยูไนเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จิเนยี รง่ิ คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หนา้ 6 โครงการของกองทุนสง่ิ แวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 2.3 เกณฑ์การประเมนิ วิธกี ารประเมิน และแหล่งขอ้ มูลในการตดิ ตามและประเมินผล 2.3.1 เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การประเมิน คือ มาตรฐานที่กาหนดข้ึนเพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเปรียบเทียบผลการ ดาเนินงาน โดยท่ัวไปจะประกอบด้วย 2 รูปแบบ คือ เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criteria) ซ่ึงเป็นเกณฑ์ท่ี กาหนดขน้ึ โดยอาศยั หลักการหรือหลักเหตุผลของท่ีปรึกษาฯ หรือหนว่ ยงาน และเกณฑ์สัมพนั ธ์ (Relative Criteria) เปน็ เกณฑ์ทอี่ าศัยการเปรียบเทยี บจากหนว่ ยงานอน่ื หรือค่ามาตรฐานที่ได้รับการยอมรับเป็นการ ท่วั ไปอย่แู ลว้ โดยในการติดตามและประเมินผลภายใตโ้ ครงการน้ี ท่ปี รกึ ษาไดใ้ ช้เกณฑ์ทเ่ี ปน็ มาตรฐานของ OECD มาประยุกตใ์ ช้ โดยประกอบด้วยเกณฑท์ ี่สาคญั 4 เกณฑ์ คอื 1) การประเมินความสอดคล้อง (Relevance): เป็นการประเมินโดยการช้ีนาของคาถาม สาคัญคือการดาเนินการแผนงาน/โครงการได้ทาในสิ่งที่ถูกต้องหรือไม่? โดยกรอบในการวิเคราะห์ คือ วัตถุประสงค์และการออกแบบแผนงาน/โครงการตอบสนองต่อเป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์และ เป้าประสงค์ของแผนแม่บทหรือไม่รวมถึงมีความเหมาะสมกับบริบทของสถานการณ์หรือไม่ โดย วัตถุประสงค์ของเกณฑ์นี้ คือ ต้องการตรวจสอบความสอดคล้องต้องกันของแผนงาน/โครงการกับ เปา้ หมายของยุทธศาสตรแ์ ละเป้าประสงค์ของแผนแมบ่ ทฯ และเจตนารมณ์ขอ งพ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษา คณุ ภาพส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ มาตรา 23 ดงั รูปที่ 2-3 รปู ท่ี 2-3 แนวคิดในการประเมนิ ความสอดคลอ้ ง (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจเิ นยี รงิ่ คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนนุ หน้า 7 โครงการของกองทุนสิ่งแวดลอ้ ม ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 2) การประเมินความเชื่อมโยงกัน (Coherence): เป็นการประเมินโดยการช้ีนาของคาถามที่ สาคัญ คือ การดาเนินแผนงาน/โครงการน้ันมีเหมาะสมมากน้อยเพียงใด และมีความเชื่อมโยงหรือเข้ากัน ได้กับแผนงาน/โครงการอื่นๆ ท่ีดาเนินการภายใต้แผนแม่บทฯหรือ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติ มาตรา 23 หรอื ไม่ โดยกรอบทนี่ ามาพจิ ารณา คือ การเสรมิ หรอื ประสานกับโครงการ อนื่ หรือซา้ ซ้อนกบั โครงการอนื่ โดยวตั ถปุ ระสงคข์ องเกณฑ์น้ี คอื ตอ้ งการตรวจสอบการทางานร่วมกันหรือ ความซ้าซอ้ นกันของแผนงาน/โครงการที่ไดร้ บั การออกแบบโดยหนว่ ยงานทแี่ ตกต่างกัน ดังรปู ท่ี 2-4 รปู ท่ี 2-4 แนวคดิ ในการประเมินความเชอ่ื มโยงกนั 3) การประเมินประสิทธผิ ล (Effectiveness): โดยมีคาถามช้นี าในการประเมินที่สาคัญคอื ผล การดาเนินแผนงาน/โครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้หรือไม่ ? โดยพิจารณาจาก วัตถุประสงค์ระดับผลผลิต ระดับผลลัพธ์ และระดับผลลัพธ์ ท่ีได้มีการระบุไว้ในแผนหรือที่คาดหวังเอาไว้ ท่ีเรียกว่า “ค่าเป้าหมาย”ท้ังในระดับผลผลิต ระดับเป้าหมาย และระดับเป้าประสงค์ เกณฑ์ประสิทธิผลมี วัตถุประสาคัญในการประเมินโอกาสในการบรรลุวิสัยทัศน์ของแผนแม่บทฯ และ เจตนารมณ์ของ พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ มาตรา 23 ภายใตก้ รอบเวลาท่กี าหนดเอาไว้ ดังรูปท่ี 2-5 (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษทั ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอน็ จเิ นยี รงิ่ คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนุน หนา้ 8 โครงการของกองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 รูปที่ 2-5 แนวคิดในการประเมินประสิทธผิ ล 4) ประสิทธิภาพ (Efficiency) : การประเมินประสิทธิภาพดาเนินการภายใต้คาถามช้ีนา สาคัญ คือ ทรัพยากรถูกใช้อย่างไร? โดยเป็นการตรวจสอบว่า ผลผลิตท่ีมีการส่งมอบ และผลลัพธ์และ ผลกระทบที่เกิดขึ้น มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ (Economic) และความทันเวลาหรือทันท่วงที (Timely) หรือไม่ เกณฑ์ประสิทธิภาพมีวัตถุประสงค์สาคัญในการประเมินความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรและความ ทันท่วงที ในการส่งมอบผลผลิตและผลลัพธ์และผลกระทบท่ีเกิดขึ้นภายใต้กรอบระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ ดงั รูปที่ 2-6 รปู ท่ี 2-6 แนวคิดในการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษทั ยไู นเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจเิ นียรงิ่ คอนซลั แตนท์ จากดั

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หน้า 9 โครงการของกองทนุ ส่ิงแวดล้อม ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 5) การประเมินความสาเร็จในภาพรวม (Overall Evaluation) : การประเมินความสาเร็จ ในภาพรวมเป็นการประเมินเพื่อตอบคาถามวา่ การดาเนินงานของกองทุนส่งิ แวดล้อมต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535- 2562 นั้นประสบความสาเร็จมากน้อยเพยี งใด โดยที่ปรึกษาจะจดั ทา Composite Indexes ดว้ ยการแบ่งโครงสร้างผลการประเมินผลออกเป็น 4 สว่ นหลกั ประกอบด้วย เกณฑก์ ารประเมินรวมทงั้ ส้นิ 8 เกณฑ์หลัก ดังน้ี สว่ นที่ 1 การประเมินการออกแบบแผนงาน/โครงการ หรือการความเหมาะสมในการวางแผน โดยอาศัยเกณฑ์ในการประเมินผล 2 เกณฑ์ คือ (1) ความสอดคลอ้ ง (Relevance) และ (2) ความเชอื่ มโยงกัน (Coherence) ส่วนที่ 2 การประเมินกระบวนการบริหารจัดการแผนงาน/โครงการ โดยอาศัยเกณฑ์ในการ ประเมนิ ผล 3 เกณฑ์ คอื (1) ประสิทธผิ ลด้านผลผลติ (2) ประสิทธิภาพด้านผลผลิต ประกอบด้วย (2.1) ต้นทุนผลผลิต และ (2.2) ประสิทธิภาพการ ส่งมอบผลผลติ เมอื่ เทียบกบั เวลาที่กาหนด สว่ นท่ี 3 การประเมินผลลัพธ์ โดยอาศัยเกณฑใ์ นการประเมิน 2 เกณฑห์ ลัก คอื (1) ประสิทธิผลด้านผลลัพธ์ ประกอบด้วย (1.1) ประสิทธิผลผลลัพธ์ข้ันต้น (1.2) ประสิทธิผล ผลลพั ธข์ ั้นกลาง และ (1.3) ประสทิ ธิผลผลลัพธ์ขัน้ ปลาย (2) เกณฑ์ประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ ประกอบด้วย (2.1) ประสิทธิภาพด้านต้นทุนผลลัพธ์ และ (2.2) ประสทิ ธภิ าพการเกิดผลลพั ธ์ในระดับต่างๆ เทยี บกับความคาดหวงั ทรี่ ะบุไว้ในแผน ส่วนที่ 4 การประเมินผลกระทบ โดยอาศัยเกณฑ์ในการประเมนิ 2 เกณฑ์หลัก คือ (1) ประสทิ ธิผลในการเกิดผลกระทบ (2) ประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ซึ่งที่ปรึกษาจะใช้การตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social Return on Investment: SROI) ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้สาหรบั โครงการท่ีต้องการประเมินผลลพั ธ์ ทางสังคมให้ถึงระดับ “มูลค่า” และแสดงความคุ้มค่าของการลงทุนในกิจการเพ่ือสร้างผลลัพธ์ทางสังคม SROI หมายถึง การนาผลลัพธ์ทางสังคมในด้านต่าง ๆ ที่กิจการสร้างมาคานวณหา “มูลค่าเงินเทียบเท่า” (monetized value) แล้วเปรียบเทียบกับมูลค่าทางการเงินของต้นทุนที่ใช้ไปในการดาเนินกิจการ เพื่อดู วา่ กจิ การสรา้ งผลลัพธ์ทางสังคมคิดเป็นมลู ค่าประมาณเทา่ ไรต่อเงนิ ทกุ 1 บาทท่ลี งทนุ ไป (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษทั ยไู นเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนยี ริ่ง คอนซลั แตนท์ จากดั

โครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หนา้ 10 โครงการของกองทุนส่ิงแวดลอ้ ม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ผลลัพธ์ของการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) แตกต่างจากการ วิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน (Return on Investment: ROI) ตรงท่ีแม้การวิเคราะห์ SROI จะแสดง เป็นอัตราส่วนโดยใช้มูลค่าทางการเงินของประโยชน์ท่ีเกิดเป็นตัวต้ัง และใช้ต้นทุนการลงทุน เป็นตัวหาร เหมือนกับ ROI แต่ SROI ก็ไม่ได้แสดงมูลค่าเงินที่เป็นตัวเงินจริง ๆ หากแต่นับเป็น การประมวล “บทสรุป” ของ “ชุดคณุ ค่าสาคัญ” (Key Values) ทเ่ี ชือ่ มโยงกบั พนั ธกิจของกจิ การมากกว่า เพราะหลาย ครัง้ ประโยชน์จากกิจการเพ่ือสงั คมไมใ่ ช่ตวั เงินตรง ๆ (เชน่ รายไดท้ เี่ พ่มิ ขนึ้ หรอื ค่าใช้จา่ ยที่ลดลง) แตเ่ ป็น ผลลัพธ์ด้านอื่นโดยข้ึนอยู่กับลักษณะกิจการ เช่น ผู้รับประโยชน์มีสุขภาพดีข้ึน ขยะลดลง ระบบนิเวศ ได้รับการฟ้ืนฟู ฯลฯ โดยมสี ตู รในการคานวณดงั นี้ ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทนุ = (มลู ค่าทางการเงนิ ของผลลพั ธ์ – มลู คา่ ผลลัพธท์ ่กี ิจการไมไ่ ด้ก่อ) / ต้นทุน มูลค่าทางการเงินของผลลัพธ์ = ผลลัพธ์ทางสังคมที่แปลงด้วยค่าแทนทางการเงิน (Proxy) ส่วน มูลค่าผลลัพธ์ท่ีกิจการไม่ได้ก่อ = มูลค่าของผลลัพธ์ที่เกิดจากองค์กรอ่ืน (Attribution) + มูลค่าผลลัพธ์ สว่ นเกิน (Deadweight) + มูลคา่ ของผลลัพธ์ทดแทน (Displacement) ในเม่ือผลลัพธ์หลายอย่างที่เกิดจากกิจการเพื่อสังคมสะท้อน “คุณค่า” ซ่ึงมักจะเป็นนามธรรม และวัดเปน็ ตวั เลขยากมาก อยา่ ว่าแตจ่ ะแปลงเป็นตัวเงิน อตั ราสว่ นทเ่ี รยี กว่า “ผลตอบแทนทางสังคมจาก การลงทุน” จึงแสดง “คุณค่า” ของผลลัพธ์ทางสังคมที่สร้าง ซ่ึงคุณพยายามตีมูลค่าออกมาเป็นตัวเงิน อย่างใกล้เคยี งทส่ี ุด เพอ่ื จะไดน้ ามาเปรยี บเทียบกับเงินลงทุนที่ใช้ไปในการสร้างผลลัพธ์ดังกลา่ ว ด้วยเหตุนี้ สูตรการคานวณ SROI จึงไม่นิยมที่จะนาเงินลงทุนมาหักออกจากมูลค่าทางการเงินของผลลัพธ์ทางสังคม ของตวั หาร เน่อื งจากผลลพั ธ์ไม่ใช่ตัวเงนิ จรงิ ๆ ทงั้ หมด ในเม่ือผลลัพธ์ทางสังคมบางรายการไม่ใช่ตวั เงนิ หลักคดิ สาคญั ทจี่ ะช่วยแปลงผลลัพธ์ทางสังคมให้ ออกมาเป็น “มูลค่า” ที่มีหน่วยเป็นเงิน คือ การใช้ค่าแทนทางการเงิน (Financial Proxy) มาช่วย “แปลง” ผลลัพธ์ทางสังคมท่ีไม่ใช่ตัวเงิน เช่น คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนของเกษตรกร โอกาสท่ีนักเรียนจะเรียน ต่อในระดับสูงขึ้น ป่าชายเลนฟน้ื ฟูที่มรี ะบบนเิ วศสมบรู ณ์ ออกมาเป็น “มลู ค่า” ทมี่ หี น่วยเปน็ บาท เพื่อจะ นาไปหารด้วยเงนิ ลงทุนและคานวณ SROI ออกมาได้ ที่ปรึกษาจะนาผลการประเมินทั้งหมดมาจัดทาเป็นดัชนี (Composite Indexes) และทาการให้ คะแนน (Scoring) ท่ีมคี ะแนนสงู สดุ 5 คะแนน โดยมตี ัวอย่าง ดงั ตารางที่ 2-1 ตารางท่ี 2-1 ตัวอยา่ งเกณฑ์การใหค้ ะแนนในการจัดทา Composite Indexes ระดบั ผลการประเมิน คะแนนความสาเร็จ คะแนนความสาเร็จในภาพรวม/ ระดับความสาเรจ็ รายเกณฑ์ เชงิ ประเดน็ /เชิงพน้ื ที่ ระดับดเี ยย่ี ม 5 4.6-5 สาเรจ็ สูงมาก ระดับดี 4 3.6-4.5 สาเรจ็ สูง (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บรษิ ทั ยไู นเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จากดั

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หน้า 11 โครงการของกองทนุ สิง่ แวดล้อม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ตารางที่ 2-1 ตัวอย่างเกณฑ์การใหค้ ะแนนในการจดั ทา Composite Indexes ระดับผลการประเมิน คะแนนความสาเรจ็ คะแนนความสาเรจ็ ในภาพรวม/ ระดบั ความสาเรจ็ รายเกณฑ์ เชิงประเดน็ /เชงิ พ้นื ที่ ระดับยอมรับได้ 3 2.6-3.5 สาเรจ็ ปานกลาง ระดับต้องปรบั ปรงุ 2 1.6-2.5 สาเรจ็ ค่อนขา้ งต่า ระดบั ต้องปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น 1 0.1-1.5 สาเรจ็ คอ่ นขา้ งตา่ 2.3.2 วิธกี ารประเมนิ หรอื วิธีการวัด (Measuring) วิธีการประเมิน หรือ วิธีการวัด คือ วิธีการแสดงค่าและให้คุณค่าผลการดาเนินงานท่ีเกิดขึ้นใน สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง ตามเกณฑ์หรือตัวชี้วัดที่ได้กาหนดเอาไว้ว่าประสบความสาเร็จมากน้อย เพียงใด ตัวอย่างเช่นการวัดระดับประสิทธิผล อาจกาหนดวิธีการวัดโดยกาหนดอัตราส่วนร้อยละของ ความสาเร็จท่ีเกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย อาทิ ร้อยละ 91 ขึ้นไป หมายถึง มีประสิทธิผล ระดับสูงมาก หากต่ากว่าร้อยละ 61 ถือว่าต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วน เป็นต้น ดังรูปท่ี 2-7 ทั้งนี้ การ กาหนดวิธีการวัด จาเป็นต้องพิจารณาถึงบริบทของแผนงาน/โครงการ และให้ความสาคัญกับการยอมรับ วิธีการวัดของผู้รับผดิ ชอบดาเนินแผนงาน/โครงการ รปู ท่ี 2-7 แนวคิดในการกาหนดวธิ ีการวดั สาหรับการติดตามและประเมินผลภายใต้โครงการนี้ ได้กาหนดวิธีการวัดภายใต้เกณฑ์ตาม มาตรฐานของ OECD ทง้ั 4 เกณฑด์ งั ทีไ่ ด้นาเสนอไปแล้วข้างต้น ดงั นี้ 1) วธิ ีการวัดในการประเมนิ ความสอดคล้อง (Relevance Measuring) (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บรษิ ทั ยูไนเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จิเนียร่งิ คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมินผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หนา้ 12 โครงการของกองทุนสิ่งแวดลอ้ ม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 วิธีการวัด คือ พิจารณาว่าการออกแบบแผนงาน/โครงการจะก่อให้เกิดผลผลิตท่ีมีแนวโน้มที่จะ ตอบสนองเป้าหมายและเป้าประสงค์ของแผนแม่บทฯ หรือ ตอบสนองต่อเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ.ส่งเสริม และรกั ษาคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ มาตรา 23 2) วิธีการวดั ในการประเมินความเชอื่ มโยงกัน (Coherence Measuring) การประเมินความเช่ือมโยงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การทางานร่วมกัน (Co-operate Analysis) การวิเคราะห์ความซ้าซ้อนกัน (Redundancy analysis) และการวิเคราะห์การขัดขวางกัน (Interference analysis) ของแผนงาน/โครงการทไ่ี ดร้ บั การออกแบบโดยหน่วยงานท่ีแตกต่างกนั 3) วธิ ีการวดั ในการประเมินประสทิ ธผิ ล (Effectiveness Measuring) มีวิธีการวัด คือ พิจารณาว่าแผนงาน/โครงการ มีผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงเป็นอย่างไรเม่ือ เทยี บกบั คา่ เป้าที่กาหนดไวใ้ นแผนหรอื ขอบเขตงาน โดยมีรายละเอยี ดวิธีการวัด ดงั น้ี (1) กรณผี ลผลิต แนวทางการวัดระดบั ประสิทธิผลของผลผลิต ปรากฏดงั ตัวอยา่ งตารางที่ 2-2 ตารางที่ 2-2 ตัวอยา่ งแนวทางการวดั ระดบั ประสิทธิผลของผลผลติ แผนงาน/โครงการ ผลผลติ ค่าเปา้ หมาย ทีเ่ กดิ ขึ้นจรงิ ท่ีเกดิ จริงเทยี บ ประสทิ ธผิ ลรวม กับเป้าหมาย (หลังถว่ ง (จานวน) (จานวน) นา้ หนัก) (%) 81.46 โครงการสง่ เสรมิ 1.เกษตรกรทไี่ ด้รับประโยชน์ 500 320 64.00 และรักษา 81.46 สิ่งแวดล้อมด้วย จากศูนย์การเรยี นรู้ (น้าหนกั 90 90.00 การทาเกษตร 863 86.30 อนิ ทรียต์ ามหลัก 30%) ปรชั ญาของ 80.10 เศรษฐกิจพอเพยี ง 2.เกษตรกรที่มคี วามรจู้ ากการ 100 อบรม (นา้ หนัก 50%) 3.กลมุ่ เป้าหมายทีไ่ ดร้ บั การ 1,000 เผยแพรค่ วามร/ู้ การตลาด (น้าหนกั 20%) เฉล่ยี (2) กรณผี ลลัพธ์ แนวทางการวดั ระดบั ประสิทธิผลของผลลพั ธ์ สามารถแบ่งออกเปน็ 3 ระดับ (2.1) ระดับประสิทธิผลของผลลพั ธ์ขน้ั ต้น (Effectiveness of Immediate Outcome) ปรากฏ ดงั ตัวอยา่ งในตารางท่ี 2-3 (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บริษัท ยไู นเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอน็ จิเนยี ร่ิง คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนุน หนา้ 13 โครงการของกองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ตารางที่ 2-3 ตัวอย่างแนวทางการวดั ระดับประสิทธผิ ลของผลลัพธ์ขัน้ ต้น แผนงาน/โครงการ ผลลัพธข์ นั้ ตน้ คา่ เป้าหมาย ท่เี กดิ ขน้ึ จริง ท่เี กิดจริงเทยี บ ประสิทธผิ ลรวม (หลังถว่ ง (จานวน) (จานวน) กบั เปา้ หมาย นา้ หนกั ) (%) 63.00 โครงการส่งเสริม 1.เกษตรกรท่ที าการเกษตร 100 45 45.00 63.00 และรกั ษา ปลอดภยั (นา้ หนัก 60%) สงิ่ แวดล้อมดว้ ย 2.เกษตรกรทด่ี าเนินวิถชี วี ติ 100 90 90.00 การทาเกษตร ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจ อินทรยี ์ตามหลัก พอเพียง (น้าหนกั 40%) ปรชั ญาของ เฉลย่ี 67.50 เศรษฐกิจพอเพยี ง (2.2) ระดับประสิทธิผลของผลลัพธ์ขั้นกลาง (Effectiveness of Intermediate Outcome) ปรากฏดังตัวอย่างในตารางที่ 2-4 ตารางท่ี 2-4 ตวั อย่างแนวทางการวัดระดบั ประสิทธิผลของผลลัพธ์ขัน้ กลาง แผนงาน/โครงการ ผลลัพธ์ขนั้ กลาง คา่ เปา้ หมาย ที่เกดิ ขน้ึ จริง ที่เกดิ จรงิ เทยี บ ประสิทธิผลรวม (หลงั ถ่วง (จานวน) (จานวน) กบั เป้าหมาย น้าหนัก) (%) 120.00 โครงการสง่ เสรมิ 1.เกษตรกรท่ีมรี ายได้เพมิ่ ขน้ึ 30 40 133.33 120.00 และรกั ษา ภายใน 2 ปี (นา้ หนัก 60%) สิง่ แวดลอ้ มดว้ ย 2.เกษตรกรท่ปี ลอดหนภ้ี ายใน 30 30 100.00 การทาเกษตร 3 ปี (นา้ หนัก 40%) อนิ ทรียต์ ามหลัก เฉล่ยี 116.67 ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง (2.3) ระดับประสิทธิผลของผลลัพธ์ข้ันปลาย (Effectiveness of Final Outcome) ปรากฏดัง ตวั อยา่ งในError! Reference source not found. ตารางท่ี 2-5 ตัวอย่างแนวทางการวัดระดบั ประสิทธิผลของผลลัพธข์ น้ั ปลาย แผนงาน/โครงการ ผลลัพธข์ นั้ กลาง คา่ เป้าหมาย ทีเ่ กดิ ขึ้นจริง ท่เี กดิ จริงเทียบ ประสทิ ธิผลรวม (หลงั ถ่วง (จานวน) (จานวน) กับเป้าหมาย น้าหนัก) (%) โครงการส่งเสรมิ 1.เกษตรกรทม่ี รี ายไดเ้ พมิ่ ข้ึน 30 20 66.67 และรกั ษา มากกว่ารอ้ ยละ 20 ต่อปี (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษัท ยไู นเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จิเนยี ร่ิง คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หน้า 14 โครงการของกองทุนสง่ิ แวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ตารางที่ 2-5 ตวั อย่างแนวทางการวัดระดบั ประสิทธิผลของผลลัพธ์ขัน้ ปลาย แผนงาน/โครงการ ผลลัพธข์ นั้ กลาง ค่าเปา้ หมาย ท่ีเกิดข้ึนจรงิ ท่ีเกดิ จรงิ เทียบ ประสทิ ธิผลรวม (หลงั ถว่ ง (จานวน) (จานวน) กับเป้าหมาย นา้ หนกั ) 53.33 (%) 53.33 ส่งิ แวดล้อมด้วย ตดิ ต่อกนั มากกวา่ 5 ปี การทาเกษตร (นา้ หนกั 60%) อินทรยี ต์ ามหลัก 2.เกษตรกรท่ีมเี งินออมไมน่ ้อย 30 10 33.33 ปรัชญาของ กวา่ 5 หมน่ื บาทต่อปี เศรษฐกิจพอเพยี ง ติดตอ่ กนั ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปี (น้าหนกั 40%) เฉล่ีย 50.00 4) วธิ กี ารวดั ในการประเมินประสิทธภิ าพ (Efficiency Measuring) วิธีการวัด การวัดระดับประสิทธิภาพในการดาเนินแผนงาน/โครงการ จะดาเนินการโดย พิจารณาใน 2 มติ ิ คอื (1) ประสทิ ธิภาพด้านต้นทุน (Unit-Cost Efficiency) เปน็ การพิจารณา ตน้ ทนุ ตอ่ หน่วยของ ผลผลิตสาคัญของแผนงาน/โครงการ (ผลผลิตท่ีส่งมอบให้กับผู้ใช้ประโยชน์) ท่ีเกิดขึ้นจริง (Actual Unit- Cost) เปรียบเทียบกับต้นทุนต่อหน่วยท่ีได้รับอนุมัติ (Estimated Unit-Cost) แนวทางการวัดระดับ ประสทิ ธิภาพด้านตน้ ทนุ ของผลผลติ ปรากฏดังตัวอย่างในตารางที่ 2-6 ตารางที่ 2-6 ตวั อยา่ งแนวทางการวดั ระดบั ประสิทธภิ าพด้านต้นทนุ แผนงาน/โครงการ ผลผลติ ค่าเปา้ หมาย ที่เกิดข้ึน ที่เกดิ จรงิ เทยี บกบั ประสทิ ธิผล รวม (บาท/คน) จรงิ (บาท/ เป้าหมาย (%) (หลังถ่วง คน) น้าหนัก) โครงการส่งเสรมิ 1.เกษตรกรทไ่ี ด้รบั 50 64 128.00 108.73 และรักษา 112.00 ส่ิงแวดลอ้ มดว้ ย ประโยชน์จากศูนย์การ 2,800 71.67 108.73 การทาเกษตร 215 103.89 อนิ ทรยี ต์ ามหลัก เรยี นรู้ (นา้ หนกั 30%) ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2.เกษตรกรท่มี คี วามรจู้ าก 2,500 การอบรม (นา้ หนัก 50%) 3.กลุม่ เปา้ หมายทไ่ี ด้รับการ 300 เผยแพรค่ วามร/ู้ การตลาด (น้าหนัก 20%) เฉล่ยี (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ทั ยไู นเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียรงิ่ คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนนุ หนา้ 15 โครงการของกองทุนสิ่งแวดล้อม ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 (2) ประสิทธิภาพด้านเวลาในการส่งมอบผลผลิต (Time Efficiency) เป็นการพิจารณา ระยะเวลาในการส่งมอบผลผลิตสาคัญของแผนงาน/โครงการ ไปยังผู้ใช้ประโยชน์ ท่ีเกิดข้ึนจริง (Actual Delivered) เปรียบเทียบกบั ระยะเวลาในการส่งมอบผลผลิตที่ไดก้ าหนดไวใ้ นแผน (Estimated Delivery) แนวทางการวดั ระดบั ประสทิ ธิภาพด้านการส่งมอบผลผลติ ปรากฏดังตวั อยา่ งในตารางท่ี 2-7 ตารางท่ี 2-7 ตวั อยา่ งวิธีการวัดในการประเมนิ ประสิทธิภาพดา้ นระยะเวลาส่งมอบผลผลิต แผนงาน/ ผลผลติ สาคัญ ทกี่ าหนด ทเ่ี กิดขึ้นจรงิ อตั ราสว่ นระยะเวลาท่ี ภาพรวม โครงการ (หน่วยนบั เวลาตั้งแตเ่ ริม่ ไว้ (วนั ) เร็วหรือช้ากว่าแผน (หลังถ่วง ดาเนนิ การจนถงึ ส่งมอบ) ในแผน (%) นา้ หนกั ) (วัน) เร็วกวา่ ช้ากว่า โครงการ 1.การใหบ้ ริการของศูนย์การ 120 90 25.00 ส่งเสรมิ และ เรยี นรู้ (นา้ หนัก 30%) รกั ษา 2.การจัดฝกึ อบรม (น้าหนกั 180 200 (11.11) 1.95 สงิ่ แวดล้อม 50%) ดว้ ยการทา 3.การเผยแพรค่ วามร้/ู 240 240 0 0 เกษตรอินทรยี ์ การตลาด (น้าหนัก 20%) ฯ 4.63 1.95 2.3.3 แหลง่ ขอ้ มลู (Sources) แหล่งข้อมูล คือ แหล่งท่ีรวบรวมข้อมูลสาหรับการติดตามประเมินผลแผนงาน/โครงการ ประกอบดว้ ยแหลง่ ข้อมลู 2 ประเภท คอื 1) แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ คือ การใช้แบบรวบรวมข้อมูลสาหรับการติดตามประเมินผลการ ดาเนินงานแผนงาน/โครงการเปา้ หมาย และการศกึ ษาเป็นกรณีศึกษาโดยการสัมภาษณ์เชงิ ลึกหนว่ ยงานท่ี ได้รับทุน หน่วยงานพันธมิตรของหน่วยงานได้รับทุน ประชาชนท่ีได้รับประโยชน์และการสังเกตการณ์ สถานท่จี ริง (สาหรบั โครงการทีไ่ ด้รบั คดั เลอื กโดยการปรกึ ษาหารือกบั คณะกรรมการกากับ) 2) แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ประกอบด้วย (1) แผนปฏิบัติระยะยาว กองทุนสิ่งแวดล้อม และ แผนปฏิบัติงานประจาปีเท่าที่มีอยู่ในช่วงกรอบระยะเวลาติดตามและประเมนิ ผล และ (2) รายงานผลการ ปฏิบตั งิ านของแผนงาน/โครงการ ปี 2535-2562 2.4 การจดั ลาดบั ความสาคญั แผนงาน/โครงการ ในการจัดทาข้อเสนอโครงการที่มีความสาคัญสูง ที่ปรึกษาจะประยุกต์ใช้เทคนิค Project Prioritization โดยอาศัย Prioritization Matrix ท่ีพัฒนาข้ึนโดย University of Wisconsin System (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษทั ยูไนเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจเิ นียริ่ง คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนุน หนา้ 16 โครงการของกองทนุ สงิ่ แวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 Board of Regents ในการจัดลาดับความสาคัญโครงการ โดยมีวิธีการดาเนินงานโดยสังเขป 5 ขั้นตอน (กิจกรรมน้ี สอดคล้องกับ TOR 5.4) ดงั น้ี 1) กาหนดเกณฑ์และระดับคะแนน (Determine Criteria and Rating Scale) การกาหนด เกณฑ์ในการพิจารณาแผนงานโครงการท่ีจะนามาใช้ในการติดตามประเมินผลในกรณีศึกษา สามารถ ดาเนนิ การได้ ดงั ตัวอยา่ ง ดังนี้ (1) เป็นแผนงาน/โครงการท่ีตอบสนอง พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 23 (2) เป็นแผนงาน/โครงการท่ีตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และยุทธศาสตร์ของ แผนแมบ่ ทกองทนุ สิ่งแวดลอ้ มในระยะต่างๆ (3) เป็นแผนงาน/โครงการที่สะท้อนถึงการพัฒนาที่สร้างความสมดุลระหว่างมิติด้านเศรษฐกิจ สงั คม และสิง่ แวดล้อม (2) การถ่วงน้าหลักเกณฑ์ (Establish Criteria Weight) เม่ือดาเนินการกาหนดเกณฑ์ เกณฑย์ อ่ ย และค่าคะแนนเกณฑ์ย่อยแล้ว อาจจาเปน็ ตอ้ งมีการถ่วงคา่ น้าหนักเกณฑ์หลักเพ่ือใช้ในการคูณ กลบั สาหรับการระบคุ ะแนนความสาคัญของแต่ละแผนงาน/โครงการ โดยมีคา่ น้าหนักรวมของทุกเกณฑ์ไม่ เกิน 10 คะแนนเพ่ือให้มีคะแนนในการคูณกลับรวมกัน เท่ากับ 100 เพื่อความสะดวกในการพิจารณาให้ คณุ ค่าความสาคัญและการตดั สินใจ (3) สร้างตารางเมทริกซ์ (Create the Matrix) และระดมความคิดเห็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อให้คะแนนสาหรับการจัดลาดับความสาคัญของแผนงาน/โครงการ เม่ือดาเนินการกาหนดเกณฑ์หลัก เกณฑ์ย่อย ระบุคะแนน และถว่ งนา้ หนักเสรจ็ แลว้ จะเขา้ สกู่ ระบวนการระดมความคดิ เหน็ เพ่ือพิจารณาให้ คะแนนแผนงาน/โครงการเพื่อจัดลาดับความสาคัญตามเกณฑ์ ค่าคะแนนและให้คา่ น้าหนักที่ได้ระบุเอาไว้ ข้างต้น จากนั้นจึงคูณระดับคะแนนของแต่ละเกณฑ์ด้วยค่าน้าหนักที่กาหนดแล้วจึงบันทึกคะแนนคุณค่า (weighted value) หลังจากคานวณคะแนนครบทุกเกณฑ์แล้ว ก็ได้รวมคะแนนจากทุกเกณฑ์เพื่อเป็น คะแนนความสาคญั ของแผนงาน/โครงการท้ังหมด (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บริษัท ยไู นเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจเิ นยี ร่งิ คอนซัลแตนท์ จากดั

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หนา้ 17 โครงการของกองทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 3. โครงการที่ไดร้ บั การสนับสนุนงบประมาณจากกองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 จนถงึ ปจั จุบนั (ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2564) จากข้อมูลโครงการที่ได้รับจากกองบรหิ ารจดั การกองทุนส่ิงแวดล้อม สานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2564) (ตารางท่ี 3-1) พบว่า ปงี บประมาณ พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจบุ นั (ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2564) กองทุนสง่ิ แวดล้อมไดส้ นบั สนุน เงินให้กับหน่วยงานต่างๆ ท้ังส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน สมาคม และเครือข่าย/ หน่อยงานอนุรักษ์ด้านสิ่งแวดล้อม รวม 1,676 โครงการ (ไม่นับรวมโครงการท่ียกเลิก 73 โครงการ) รวม เป็นเงนิ 16,183.48 ลา้ นบาท 1) การจาแนกตามกลุ่มเป้าหมายทีม่ ีสิทธิขอรับการสนบั สนนุ กองทุนส่ิงแวดล้อมให้การสนับสนุนกลุ่มเป้าหมายตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ท่ีกาหนดให้สว่ นราชการ รฐั วิสาหกจิ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยสามารถจาแนก ตามกลุ่มเป้าหมาย ดังน้ี (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีกองทุนสิ่งแวดล้อมให้การสนับสนุนมาก ที่สุด โดยได้สนับสนุนเป็นเงินอุดหนุนตามมาตรา 23 (1) และตามมาตรา 23(4) รวมเป็นเงินท้ังสิ้น 10,509.40 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 64.94 ของจานวนเงินทง้ั หมด (2) สว่ นราชการ เป็นกลุม่ เป้าหมายทก่ี องทุนส่ิงแวดล้อมให้การสนับสนนุ ในรปู ของเงนิ ชว่ ยเหลือ และเงนิ อดุ หนนุ ในการดาเนินกิจการใดๆ ท่เี ก่ยี วกบั การส่งเสรมิ และรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อม ตามมาตรา 23 (4) แห่งพระราชบัญญตั สิ ่งเสรมิ และรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 รวมเป็นเงิน ทัง้ สิน้ 2,668.56 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 16.49 ของจานวนเงินทงั้ หมด (3) สถาบันการศึกษา เป็นกลุ่มเป้าหมายที่กองทุนส่ิงแวดล้อมให้การสนับสนุนในรูปของ เงิน ช่วยเหลือและเงินอุดหนุนในการดาเนินกิจการใดๆ ท่ีเก่ียวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 23 (4) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 รวม เปน็ เงิน ทัง้ สน้ิ 100.79 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 0.62 ของจานวนเงินทง้ั หมด (4) ภาคเอกชน เปน็ กล่มุ เปา้ หมายท่ีกองทนุ สงิ่ แวดลอ้ มให้การสนบั สนุนในรูปเงินกูย้ ืม เพ่ือจัดให้ มีระบบบาบัดอากาศเสีย หรือน้าเสีย ระบบกาจัดของเสีย หรืออุปกรณ์อ่ืนใดเพื่อการควบคุมบาบัด หรือ ขจัดมลพิษที่เกิดจากกิจกรรมหรือการดาเนินกิจการของตนเอง ตามมาตรา 23 (3) แห่งพระราชบัญญัติ สง่ เสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 โดยอนมุ ัติวงเงินกูไปแลว้ ทั้งส้นิ 2,422.84 ล้าน บาท หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 14.97 ของจานวนเงินทั้งหมด (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บรษิ ทั ยไู นเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอน็ จิเนยี ริง่ คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หนา้ 18 โครงการของกองทุนส่งิ แวดลอ้ ม ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 (5) องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองส่ิงแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (NGOs) และ กลุ่มองค์กรอื่นๆ ตามที่กาหนดไว้ในกรอบทิศทางการสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 23 (4) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้รับการสนับสนุนจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมในรูปแบบของเงินช่วยเหลือและเงินอุดหนุนในการดาเนินกิจการใดๆ ท่ีเกี่ยวกับการ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม ตามมาตรา 23 (4) รวมเป็นเงินทั้งส้ิน 481.88 ล้านบาท หรือคิด เปน็ ร้อยละ 2.98 ของจานวนเงนิ ท้งั หมด 2) การจาแนกโครงการตามมาตราท่ีใหก้ ารสนับสนุน การจาแนกโครงการตามท่ีกาหนดในมาตรา 23 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 ดงั นี้ (1) เงินอุดหนุนตามมาตรา 23 (1) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม แหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 ใหก้ ับองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นเพื่อการลงทุนก่อสร้างระบบบาบดั น้าเสยี รวม และ ระบบกาจัดของเสียรวม ภายใต้แผนปฏิบัติการเพ่ือการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด โดย กองทนุ สง่ิ แวดล้อมไดใ้ หก้ ารสนับสนนุ เงินไปแล้วทั้งสนิ้ จานวน 9,983.44 ล้านบาท จาก 196 โครงการ (3) เงินกู้ยืมดอกเบี้ยต่าตามมาตรา 23 (3) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ให้กับภาคเอกชน เพ่ือการลงทุนก่อสร้างระบบป้องกันหรือขจัดมลพิษ จากการ ประกอบกิจการของตนเอง และสาหรับผู้รับจ้างให้บริการกาจัดของเสียและบาบัดน้าเสีย โดย กองทุนสิ่งแวดล้อม ได้ให้การสนับสนุนเงินกู้ดอกเบี้ยต่าไปแล้วท้ังส้ินจานวน 51 โครงการ รวมเป็นเงิน ทง้ั ส้นิ 2,422.84 ลา้ นบาท (3) เงินอุดหนุนตามมาตรา 23 (4) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 ด้านการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมภายใต้กรอบทิศทางการสนับสนุน เงินกองทุนสิ่งแวดล้อมท่ีได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้กับกลุ่มเป้าหมาย ตามกรอบทิศทางฯ เช่น ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครอง สิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ เป็นต้น โดยกองทุนส่ิงแวดล้อมได้ใหก้ ารสนับสนุนเงินไปแล้ว ท้ังสิ้นจานวน 1,429 โครงการ (แบ่งเป็นหน่วยงานราชการ 1,320 โครงการ และองค์กรเอกชน 109 โครงการ) รวมเป็นเงิน 3,777.20 ล้านบาท (แบ่งเป็นหน่วยงานราชการ 3,295.31 ล้านบาท และองค์กร เอกชน 481.88 ล้านบาท) ท้ังน้ี ช่วงปีงบประมาณ 2558-2561 เป็นช่วงที่มีโครงการได้รับการสนับสนุนหลายโครงการ มากที่สุด โดยส่วนใหญ่เป็นโครงการท่ีได้รับการสนับสนุนเพ่ือช่วยเหลือและอุดหนุนกิจการใดๆ ที่เก่ียวกับ การส่งเสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม ตามมาตรา 23(4) (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษัท ยูไนเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจเิ นยี รง่ิ คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หนา้ 19 โครงการของกองทุนสง่ิ แวดลอ้ ม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 3) การจาแนกโครงการตามปที ี่ใหก้ ารสนับสนุนของกองทุนส่ิงแวดลอ้ ม เม่ือพิจารณาจานวนโครงการตามปีที่ให้การสนับสนุนของกองทุนส่ิงแวดล้อม พบว่า ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535-2564 (ถึงไตรมาสแรก) จะมีการสนับสนุนโครงการต่างๆ โดยตลอด อย่างน้อย 1 โครงการ (เม่ือปี พ.ศ. 2548 และปี พ.ศ. 2550) และมากที่สุด 637 โครงการ (เมื่อปี พ.ศ. 2561) เมื่อพิจารณา ภาพรวมแล้ว โดยส่วนใหญ่ กองทุนส่ิงแวดล้อม จะมีการสนับสนนุ โครงการ ปีละไม่น้อยกว่า 10 โครงการ แต่ในช่วงปี พ.ศ. 2559 กองทุนส่ิงแวดล้อมได้ให้การสนับสนุนโครงการแบบชุดโครงการการจัดการขยะ ชุมชนท่ีต้นทาง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทั่วประเทศ 525 แห่ง เพื่อตอบสนองนโยบายเร่งด่วน ของรัฐบาลในการจัดการขยะ โดยการมุ่งสร้างวินัยให้กับคนในชาติเรื่องการคัดแยกขยะเพื่อนากลับมาใช้ ประโยชน์ และด้วยโครงการการจดั การขยะชุมชนที่ตน้ ทางได้รบั การตอบสนองเปน็ อย่างดี ทาใหใ้ นปี พ.ศ. 2561 มีชุดโครงการดงั กล่าว เป็นชว่ งท่ี 2 โดยมอี งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นท่ัวประเทศ 619 แหง่ เข้าร่วม โครงการดังกล่าว ทาให้ในช่วง 2 ปีน้ี จานวนโครงการท่ีกองทุนสิ่งแวดล้อมได้ให้การสนับสนุนจึงมีจานวน เพ่ิมขนึ้ หลายเท่าตวั ส่วนพิจารณาจานวนวงเงินที่ได้สนับสนุนน้ัน พบว่า แต่ละปี มีวงเงินท่ีได้ให้การสนับสนุนอยู่ ระหว่าง 0.68-2,929.4 ล้านบาท โดยจานวนวงเงินจะข้ึนอยู่กับลักษณะโครงการ หากเป็นโครงการ ประเภทก่อสร้างเพ่ือลดและขจัดมลพิษ ไม่ว่าจะเป็นภายใต้มาตรา 23(1) หรือมาตรา 23(3) จะมีจานวน วงเงินค่อนข้างสูง ในขณะที่เป็นโครงการเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิ่งแวดล้อม จะให้การสนับสนุนต าม กิจกรรมทดี่ าเนินการ ทง้ั นี้ แสดงผลการจาแนกโครงการตามปแี ละวงเงินท่ใี ห้การสนับสนุนของกองทุนสง่ิ แวดล้อม ดงั รปู ท่ี 3-2 และรูปที่ 3-3 ตารางที่ 3-1 โครงการท่ีได้รับการสนับสนนุ งบประมาณจากกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 จนถงึ ปจั จบุ นั (ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2564) จาแนกตามปงี บประมาณ และมาตราทีเ่ ก่ยี วข้อง 23(1) องคก์ รปกครอง 23(3) เอกชน (เงนิ กู้) 23(4) องค์กรเอกชน 23(4) อปท. และ รวม ส่วนทอ้ งถ่ิน (อปท.) (NGO) สว่ นราชการ ปีงบประมาณ จานวน วงเงินอนมุ ัติ จานวน วงเงิน จานวน วงเงนิ อนุมัติ จานวน วงเงนิ จานวน วงเงนิ โครงการ (ลา้ นบาท) โครงการ อนุมัติ โครงการ (ลา้ นบาท) โครงการ อนุมัติ โครงการ อนุมัติ (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) 2535 28 2,723.67 - - - - 4 2.97 32 2,726.64 2536 5 1,685.61 - - - - 1 1.50 6 1,687.11 2537 - - - - 1 4.70 1 6.35 2 11.05 2538 4 61.01 - - 6 21.99 2 19.78 12 102.78 2539 22 2,810.46 - - 9 49.79 11 69.17 42 2,929.42 (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษทั ยไู นเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จเิ นียร่ิง คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หน้า 20 โครงการของกองทนุ สงิ่ แวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ตารางท่ี 3-1 โครงการทไ่ี ด้รับการสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทนุ ส่ิงแวดลอ้ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2535 จนถงึ ปจั จบุ นั (ไตรมาส 1 ปงี บประมาณ 2564) จาแนกตามปงี บประมาณ และมาตราทเ่ี ก่ียวข้อง 23(1) องคก์ รปกครอง 23(3) เอกชน (เงินกู้) 23(4) องคก์ รเอกชน 23(4) อปท. และ รวม สว่ นทอ้ งถิน่ (อปท.) (NGO) ส่วนราชการ ปีงบประมาณ จานวน วงเงินอนุมตั ิ จานวน วงเงิน จานวน วงเงนิ อนุมตั ิ จานวน วงเงนิ จานวน วงเงนิ โครงการ (ล้านบาท) โครงการ อนุมัติ โครงการ (ลา้ นบาท) โครงการ อนมุ ตั ิ โครงการ อนุมัติ (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 2540 10 266.24 - - 3 14.79 6 84.95 19 365.98 2541 8 356.56 3 56.70 - - 1 36.20 12 449.46 2542 13 652.51 1 60.00 4 18.07 1 3.57 19 734.15 2543 - - 1 20.00 1 4.83 7 58.44 9 83.27 2544 4 227.87 - - 10 43.82 7 41.89 21 313.58 2545 3 27.86 1 60.00 2 8.96 - - 6 96.82 2546 1 6.63 2 53.81 2 6.92 - - 5 67.36 2547 1 163.96 - - 9 31.52 - - 10 195.48 2548 - - --- - 1 10.00 1 10.00 2549 2 87.49 - - 1 0.76 4 76.15 7 164.40 2550 - - --- - 1 0.68 1 0.68 2551 - - - - 12 53.13 2 22.93 14 76.06 2552 - - - - 10 43.46 3 2,261.00 13 2,304.46 2553 - - - - 2 5.02 3 36.14 5 41.16 2554 1 249.13 2 72.00 2 7.62 2 8.01 7 336.76 2555 2 62.04 7 101.41 1 4.05 2 9.82 12 177.32 2556 - - 9 618.61 4 18.98 2 9.74 15 647.33 2557 - - 5 655.52 1 4.98 1 5.00 7 665.50 2558 71 72.44 9 208.94 2 9.99 4 15.45 86 306.83 2559 5 111.19 5 242.85 13.41 535 181.17 548 548.62 2560 4 9.99 2 150.00 7 33.27 66 33.22 79 226.47 2561 2 0.20 1 100.00 3 13.76 631 259.52 637 373.47 2562 2 334.15 1 8.00 4 17.73 1 0.70 8 360.58 2563 8 74.43 2 15.00 7 35.34 3 3.16 20 127.94 2564 - - - - 3 15.00 18 37.81 21 52.81 รวมจานวน 196 9,983.44 51 2,422.84 109 481.88 1,320 3,295.31 1,676 16,183.48 หมายเหตุ ไมน่ บั รวมโครงการท่ียกเลกิ รวมจานวน 73 โครงการ ที่มา กองบรหิ ารจดั การกองทุนสงิ่ แวดล้อม สานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2564) (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอน็ จเิ นยี ริ่ง คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนุน หนา้ 21 โครงการของกองทุนส่งิ แวดลอ้ ม ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 (ก) จานวนโครงการ (ข) จานวนวงเงิน (ล้านบาท) รปู ท่ี 3-1 สัดส่วนร้อยละจานวนโครงการและวงเงนิ ท่ไี ดใ้ หก้ ารสนบั สนุนของกองทุนในแต่ละมาตรา รูปที่ 3-2 จานวนโครงการทีไ่ ด้ใหก้ ารสนับสนุนของกองทุนสงิ่ แวดล้อม จาแนกตามปี รปู ท่ี 3-3 จานวนวงเงนิ ที่ได้ใหก้ ารสนบั สนนุ ของกองทุนส่ิงแวดล้อม จาแนกตามปี 4) การจาแนกโครงการตามจงั หวดั ของประเทศ เมื่อพิจารณาการได้รับการสนับสนุนโครงการของหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัดทั่วประเทศ พบว่า ทุกจังหวัดมีโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่ิงแวดล้อม ต้ังแต่ 1-55 โครงการ โดยจังหวัดท่ีมี โครงการขอรับการสนับสนุนมากท่ีสุด คือเชียงใหม่ จานวน 55 โครงการ รองมาคือ กรุงเทพมหานคร จานวน 42 โครงการ และสงขลา จานวน 42 โครงการเช่นกัน หรือพิจารณาตามมาตราที่ได้ขอรับการ สนับสนุนแต่ละจังหวัดพบว่า มีการขอรับการสนับสนุนในมาตรา 23(4) ทุกจังหวัด โดยจังหวัดเชียงใหม่ เป็นจังหวดั ที่มีการขอรับการสนบั สนุนในมาตรา 23(4) มากทีส่ ุด ส่วนมาตรา 23(1) และมาตรา 23(3) จะ มีบ้างในบางจังหวัด โดยจังหวัดภูเก็ต เป็นจังหวัดท่ีมีการขอรับการสนับสนุนในมาตรา 23(1) มากท่ีสุด (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บรษิ ัท ยูไนเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จเิ นียริ่ง คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนนุ หน้า 22 โครงการของกองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ในขณะท่ี จังหวดั ระยอง เป็นจังหวดั ทีม่ ีการขอรับการสนับสนุนในมาตรา 23(3) มากท่สี ดุ ดังแสดงความถี่ ของจานวนโครงการและมาตราต่างๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่ิงแวดล้อมที่กระจายตัวในแต่ละ จังหวดั ทว่ั ประเทศ ดงั รูปที่ 3-4 (ก) และ รูปท่ี 3-4 (ข) และเมือ่ พิจารณาถึงวงเงินทไี่ ดใ้ หก้ ารสนับสนุนน้ัน พบว่า จังหวัดสมุทรปราการ มีวงเงินรวมทุกโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนมากท่ีสุด รวม 2,401.44 ลา้ นบาท รองมาคือ ชลบรุ ี (2,209.55 ล้านบาท) และสงขลา (2,019.03 ลา้ นบาท) ดงั แสดงชว่ ง ของจานวนโครงการท่ีได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อมที่กระจายตัวในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศ ดงั รปู ที่ 3-4 (ค) (ก) จานวนโครงการจาแนกตามจังหวัด (ข) จานวนโครงการแบ่งตามมาตราและการกระจายตัวในแตล่ ะจังหวดั รปู ท่ี 3-4 การกระจายตวั ของโครงการที่กองทุนส่ิงแวดลอ้ มได้ใหก้ ารสนบั สนุน (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษทั ยไู นเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจิเนียรงิ่ คอนซัลแตนท์ จากดั

โครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หนา้ 23 โครงการของกองทุนสิง่ แวดลอ้ ม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 (ค) จานวนวงเงนิ รวมของทุกโครงการแตล่ ะจงั หวัด รูปที่ 3-4 การกระจายตวั ของโครงการทกี่ องทุนสิ่งแวดลอ้ มไดใ้ ห้การสนบั สนุน 5) การจาแนกโครงการตามประเภทโครงการ ที่ปรึกษาได้แบ่งประเภทของโครงการต่างๆ พบว่า โครงการด้านน้าเสีย ท้ังกิจกรรมก่อสร้าง ออกแบบ และสนับสนุนเพ่ือการลดหรือขจัดน้าเสีย เป็นประเภทโครงการท่ีได้รับการสนับสนุนในวงเงิน มากที่สุด คือ 9,282.10 ล้านบาท จาก 109 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 58 จากวงเงินทั้งหมดท่ีให้การ สนบั สนุนของกองทนุ ส่งิ แวดล้อม รองมาคือ ประเภทโครงการดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ ซง่ึ เปน็ โครงการท่ีมี ลักษณะให้การสนับสนุน คุ้มครอง ส่งเสริม การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งเรื่องป่าไม้ ปะการัง ความหลากหลายทางชีวภาพ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยได้รับการสนับสนุนในวงเงิน2,808.62 ล้านบาท จาก 123 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 17 จากวงเงินทั้งหมด ส่วนประเภทโครงการท่ีเก่ียวข้องกับ ด้านการจัดการขยะมูลฝอย มีจานวนโครงการลักษณะนี้มากที่สุด คือ 1,363 โครงการ ภายใต้วงเงิน 2,612.04 ลา้ นบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 16 จากวงเงนิ ทั้งหมด ส่วนโครงการด้านมลพิษอ่ืนๆ เช่น การกอ่ สร้าง ระบบบาบัดอากาศ เพ่ือลดมลพิษอากาศ การศึกษาผลกระทบคุณภาพอากาศต่อสุขภาพ การซื้ออุปกรณ์ ตรวจวัดเสียง จากพาหนะ เป็นต้น ได้รับวงเงินสนับสนุนรวม 1,480.71 ล้านบาท จาก 81 โครงการ คิด เป็นร้อยละ 9 จากวงเงินท้ังหมด (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ัท ยูไนเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจเิ นยี ร่งิ คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หน้า 24 โครงการของกองทุนสงิ่ แวดล้อม ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 รูปที่ 3-5 สดั สว่ นของประเภทโครงการทีไ่ ดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทนุ สงิ่ แวดล้อม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจบุ นั (ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2564) 6) การจาแนกโครงการที่ดาเนินการแล้วเสร็จ เม่ือพิจารณาเฉพาะโครงการท่ีดาเนินแล้วเสร็จ (ดังตารางที่ 3-2) จะเหลือเพียง 970 โครงการ รวมจานวน 14,868.5 ลา้ นบาท ซง่ึ เมือ่ จาแนกรายปี จะเหน็ ได้วา่ ชว่ งปงี บประมาณ 2558-2561 เปน็ ช่วง ที่มีโครงการได้รับการสนับสนุนดาเนินการแล้วเสรจ็ หลายโครงการ มากท่ีสุด โดยส่วนใหญ่เป็นโครงการที่ ได้รับการสนับสนุนเพ่ือช่วยเหลือและอุดหนุนกิจการใดๆ ท่ีเก่ียวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดล้อม ตามมาตรา 23(4) เมื่อพิจารณาตามหน่วยงานท่ีขอรับการสนับสนุนตั้งอยู่น้ัน (ตารางที่ 3-3) จะเห็นได้ว่า โครงการท่ีดาเนินการแล้วเสร็จส่วนใหญจะอยู่ในพ้ืนท่ีภาคตะวันตกเฉียงเหนือ จานวนรวม ทั้งหมด 263 โครงการ รวมเป็นเงิน 1,000.35 ล้านบาท ส่วนภาคกลางแม้จะมีจานวนหน่วยงานที่ขอรับ การสนับสนุนน้อยกวา่ แต่มีจานวนเงนิ ที่อนุมตั ิใหก้ ารสนับสนุนมากว่า โดยมีจานวนโครงการที่ดาเนินการ แล้วเสร็จทั้งหมด 217 โครงการ และมีจานวนวงเงินท่ีได้รับการสนับสนุนรวม 6,121.96 ล้านบาท และ หากจาแนกตามประเภทโครงการ พบว่า โครงการด้านทรัพยากรธรรมชาติท่ีดาเนินการแล้วเสร็จ มี จานวนรวมทั้งหมด 113 โครงการ รวมเป็นเงิน 2,766.07 ล้านบาท ในขณะท่ีโครงการด้านมลพิษ มี โครงการทด่ี าเนินการแลว้ เสร็จทั้งหมด 857 โครงการ รวมเปน็ เงิน 12,102.39 ลา้ นบาท (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บรษิ ัท ยไู นเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนยี รงิ่ คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หนา้ 25 โครงการของกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ตารางท่ี 3-2 โครงการทไ่ี ด้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทนุ สิง่ แวดลอ้ ม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ท่ดี าเนินการแลว้ เสร็จ จาแนกตามปีงบประมาณ และมาตราท่เี ก่ยี วข้อง 23(1) องคก์ รปกครอง 23(3) เอกชน (เงินกู้) 23(4) องค์กรเอกชน 23(4) อปท. และ รวม ส่วนท้องถน่ิ (อปท.) (NGO) สว่ นราชการ ปงี บประมาณ จานวน วงเงินอนมุ ัติ จานวน วงเงิน จานวน วงเงินอนุมัติ จานวน วงเงิน จานวน วงเงนิ โครงการ (ลา้ นบาท) โครงการ อนมุ ตั ิ โครงการ (ลา้ นบาท) โครงการ อนุมัติ โครงการ อนมุ ตั ิ (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 2535 28 2,723.7 - - - - 4 3.0 32 2,726.6 2536 5 1,685.6 - - - - 1 1.5 6 1,687.1 2537 - - - - 1 4.7 1 6.4 2 11.1 2538 4 61.0 - - 6 22.0 2 19.8 12 102.8 2539 22 2,810.5 - - 9 49.8 11 69.2 42 2,929.4 2540 10 266.2 - - 3 14.8 6 85.0 19 366.0 2541 8 356.6 3 56.7 1 36.2 12 449.5 2542 13 652.5 1 60.0 4 18.1 1 3.6 19 734.2 2543 - - 1 20.0 1 4.8 7 58.4 9 83.3 2544 4 227.9 10 43.8 7 41.9 21 313.6 2545 3 27.9 1 60.0 2 9.0 - - 6 96.8 2546 1 6.6 2 53.8 2 6.9 - - 5 67.4 2547 1 164.0 - - 9 31.5 - - 10 195.5 2548 - - - - - - 1 10.0 1 10.0 2549 2 87.5 - - 1 0.8 4 76.2 7 164.4 2550 - - - - - - 1 0.7 1 0.7 2551 - - - - 12 53.1 2 22.9 14 76.1 2552 - - - - 10 43.5 3 2,261.0 13 2,304.5 2553 - - - - 2 5.0 3 36.1 5 41.2 2554 - - 2 72.0 2 7.6 2 8.0 6 87.6 2555 2 62.0 7 101.4 1 4.1 2 9.8 12 177.3 2556 - - 9 618.6 4 19.0 2 9.7 15 647.3 2557 - - 5 655.5 1 5.0 1 5.0 7 665.5 2558 71 72.4 9 208.9 2 10.0 2 7.9 84 299.3 2559 1 110.8 5 242.9 3 13.4 533 176.5 539 530.1 2560 - - 1 50.0 1 4.5 63 25.3 65 79.8 2561 2 0.2 - - - - - - 2 0.2 2562 - - 1 8.0 - - - - 1 8.0 (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษทั ยูไนเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จิเนียร่งิ คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนุน หนา้ 26 โครงการของกองทุนส่งิ แวดลอ้ ม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ตารางที่ 3-2 โครงการท่ไี ดร้ ับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทนุ สิ่งแวดล้อม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ท่ดี าเนนิ การแลว้ เสร็จ จาแนกตามปีงบประมาณ และมาตราทเ่ี กยี่ วข้อง 23(1) องค์กรปกครอง 23(3) เอกชน (เงินก้)ู 23(4) องค์กรเอกชน 23(4) อปท. และ รวม สว่ นท้องถิน่ (อปท.) (NGO) ส่วนราชการ ปีงบประมาณ จานวน วงเงนิ อนมุ ตั ิ จานวน วงเงนิ จานวน วงเงินอนุมัติ จานวน วงเงนิ จานวน วงเงิน โครงการ (ลา้ นบาท) โครงการ อนุมตั ิ โครงการ (ลา้ นบาท) โครงการ อนุมตั ิ โครงการ อนุมตั ิ (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) รวม 177 9,315.3 47 2,207.8 86 371.3 660 2,974.0 970 14,868.5 ประยกุ ต์จากข้อมูลกองบรหิ ารจัดการกองทนุ ส่งิ แวดลอ้ ม สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (พิจารณาการดาเนินการแล้ว เสร็จจากระยะเวลาโครงการ และ/หรือสถานภาพ) (ข้อมูล ณ เดอื นมกราคม พ.ศ. 2564) 4. การกาหนดเกณฑ์การจาแนกลาดับของประเภทโครงการ ทปี่ รึกษาได้กาหนดเกณฑก์ ารจาแนกลาดับเปน็ แบบลาดบั ข้ัน โดยไดจ้ าแนกกล่มุ เป้าหมายที่ของ รับการสนับสนุน ซึ่งทาให้แยกประเภทโครงการตามที่กาหนดในมาตรา 23 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และจาแนกประเภทโครงการตามเป้าหมายของการ จัดการมลพิษ และสิ่งแวดล้อม ของโครงการ จากน้ันจึงจาแนกประเภทโครงการตามลักษณะกิจกรรมท่ี ขอรับการสนบั สนนุ ซ่งึ แสดงรายละเอียดได้ดงั น้ี (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บรษิ ัท ยไู นเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจเิ นียรง่ิ คอนซลั แตนท์ จากดั

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หน้า 27 โครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา รปู ท่ี 4-1 เกณฑ์การคดั เลือกโครงการ บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียร่งิ คอนซลั แตนท์ จากดั

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หน้า 28 โครงการของกองทุนส่งิ แวดลอ้ ม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 4.1 การจาแนกตามกลมุ่ เป้าหมายที่มีสทิ ธขิ อรบั การสนับสนนุ กองทุนสิ่งแวดล้อมให้การสนับสนุนกลุม่ เปา้ หมายตามพระราชบญั ญัตสิ ่งเสริมและรักษา คุณภาพ สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ทกี่ าหนดให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยสามารถจาแน กตาม กลุม่ เป้าหมาย ดังน้ี (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยได้สนับสนุนเป็นเงินอุดหนุนตามมาตรา 23 (1) และตาม มาตรา 23(4) (2) สว่ นราชการ เป็นกลมุ่ เป้าหมายทีก่ องทุนสง่ิ แวดล้อมให้การสนับสนนุ ในรปู ของเงินช่วยเหลือ และเงินอุดหนุนในการดาเนินกจิ การใดๆ ท่เี กยี่ วกบั การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสง่ิ แวดล้อม ตามมาตรา 23 (4) (3) สถาบันการศึกษา เป็นกลุ่มเป้าหมายที่กองทุนสิ่งแวดล้อมให้การสนับสนุนในรูปของ เงิน ช่วยเหลือและเงินอุดหนุนในการดาเนินกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 23 (4) (4) ภาคเอกชน เป็นกลุม่ เปา้ หมายที่กองทนุ สงิ่ แวดล้อมใหก้ ารสนบั สนุนในรูปเงินกยู้ ืม เพอ่ื จัดให้ มีระบบบาบัดอากาศเสีย หรือน้าเสีย ระบบกาจัดของเสีย หรืออุปกรณ์อ่ืนใดเพ่ือการควบคุมบาบัด หรือ ขจัดมลพษิ ทเ่ี กิดจากกิจกรรมหรือการดาเนนิ กิจการของตนเอง ตามมาตรา 23 (3) (5) องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (NGOs) และ กล่มุ องค์กรอืน่ ๆ ตามทีก่ าหนดไว้ในกรอบทิศทางการสนับสนุนเงินกองทุนสิง่ แวดล้อมตามมาตรา 23 (4) 4.2 การจาแนกโครงการตามมาตราทีใ่ ห้การสนับสนนุ การจาแนกโครงการตามที่กาหนดในมาตรา 23 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 ดังน้ี (1) เงินอุดหนุนตามมาตรา 23 (1) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการลงทุนก่อสร้างระบบบาบัดนี้าเสียรวม และ ระบบกาจดั ของเสยี รวม ภายใตแ้ ผนปฏบิ ตั ิการเพื่อการจัดการคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ มในระดับจงั หวดั (2) เงินกู้ยืมดอกเบี้ยต่าตามมาตรา 23 (3) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ให้กับภาคเอกชน เพื่อการลงทุนก่อสร้างระบบป้องกันหรือขจัดมลพิษ จากการ ประกอบกิจการของตนเอง และสาหรบั ผรู้ บั จา้ งให้บริการกาจดั ของเสียและบาบดั น้าเสยี (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ทั ยูไนเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจิเนยี ร่ิง คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หน้า 29 โครงการของกองทุนส่งิ แวดลอ้ ม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 (3) เงินอุดหนุนตามมาตรา 23 (4) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 ด้านการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมภายใต้กรอบทิศทางการสนับสนุน เงินกองทุนสิ่งแวดล้อมท่ีได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้กับกลุ่มเป้าหมาย ตามกรอบทิศทางฯ เช่น ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรเอกชนด้านการคุ้มครอง สิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ เปน็ ตน้ 4.3 การจาแนกโครงการตามการจดั การสิง่ แวดล้อม ที่ปรึกษาได้แบ่งการจาแนกโครงการตามการจัดการส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และ การจดั การมลพษิ ท้ังหมด 6 ดา้ น ดังนี้ (1) โครงการด้านทรัพยากรธรรมชาติ เป็นโครงการที่มีกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมศักยภาพ สรา้ งจติ สานึก อนุรักษ์ ฟ้นื ฟูธรรมชาติและทรพั ยากร ประกอบดว้ ย ทรพั ยากรดนิ และการ ใช้ที่ดิน ทรัพยากรป่าไม้และสัตวป์ ่า ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ความหลากหลายทาง ชวี ิภาพ ทรพั ยากรแร่ ทรัพยากรน้า พลงั งาน ส่ิงแวดล้อมชุมชน ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติและ ศิลปกรรม การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิกาศและภยั พิบัติ (2) โครงการด้านนา้ เสยี เปน็ โครงการเพ่ือลดมลพษิ ท่เี กดิ จากน้าเสยี เช่น โครงการบารุงรกั ษา ระบบบาบดั นา้ เสีย (3) โครงการดา้ นขยะ เปน็ โครงการเพ่อื ลดมลพษิ ท่เี กิดจากขยะ ของเสยี สงิ่ ปฏกิ ูล เช่น ระบบ บาบดั ของเสยี หลมุ ฝังกลบ เตาเผา เป็นต้น (4) โครงการด้านมลพิษอ่ืนๆ เป็นโครงการเพื่อลดมลพิษที่เกิดจาก อากาศ เสียง เช่น เช่น ระบบบาบัดอากาศ การเปลี่ยนเตาเผาให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น เปลี่ยนระบบการป้อน เช้ือเพลิงจากน้ามันเตาเป็นเชื้อเพลิงชีวมวล เพื่อลดมลพิษท่ีเกิดจากขยะ หรือการลดการ ใช้สารเคมี (เกษตรอนิ ทรยี )์ เป็นตน้ (5) ชุดโครงการเงินสบทบ เป็นโครงการตามมาตรา 23(1) ที่เป็นเงินสบทบ 1 แสนบาท แบ่ง ประเภทยอ่ ย 6 ประเภท ดงั นี้ - โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะมูลฝอย) - โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะติดเช้ือ) - โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะอนั ตราย) - โครงการด้านขยะ สมทบ 1 แสนบาท (เช้ือเพลิงขยะ) - โครงการด้านขยะ สมทบ 1 แสนบาท (สถานีขนถา่ ย) (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจเิ นยี ริง่ คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนุน หน้า 30 โครงการของกองทุนสงิ่ แวดล้อม ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 - โครงการดา้ นน้าเสีย สมทบ 1 แสนบาท (6) ชดุ โครงการคัดแยกขยะทต่ี น้ ทาง เป็นโครงการตามมาตรา 23(4) ประเภทชุดโครงการคัด แยกขยะที่ต้นทางเป็นเปน็ ประเภทย่อย 2 ประเภท ดังนี้ - ชุดโครงการ คดั แยกขยะที่ต้นทาง lot 1 - ชุดโครงการ คัดแยกขยะทต่ี ้นทาง lot 2 4.4 การจาแนกประเภทโครงการตามลกั ษณะกิจกรรมท่ขี อรับการสนับสนุน ในการจาแนกประเภทโครงการตามลักษณะกิจกรรมที่ขอรับการสนับสนุน ซึ่งสามารถสรุป ท้ังหมดแบง่ เปน็ 6 กิจกรรม รายละเอยี ดดงั นี้ (1) ก่อสร้างและการควบคุมงาน/ออกแบบ คือ กิจกรรมโครงการที่ควบคุมดูแลการทางาน กอ่ สร้างระบบบาบดั น้า เสยี อากาศเสีย (2) จัดซ้ือ/จัดหา/ติดต้ัง คือ กิจกรรมโครงการเกี่ยวกับการออกแบบรายละเอียด จัดซ้ือท่ีดิน หรือจัดหาติดต้งั เครอื่ งมือ เครือ่ งตรวจวดั (3) รณรงค์/ประชาสัมพันธ์/พัฒนาเครือข่าย/สร้างจิตสานึก คือ กิจกรรมโครงการที่มีลักษณะ ส่งเสริมศักยภาพ สร้างจิตสานึก อนุรักษ์ ฟื้นฟูเพื่อให้เกิดการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลอ้ ม (4) ศกึ ษาวิจยั คอื กจิ กรรมโครงการทศ่ี กึ ษาผลกระทบ การถ่ายทอดเทคโนโลยีตน้ แบบ (5) สนับสนุนงบประมาณ คือ กิจกรรมโครงการการสนับสนุนงบประมาณตามแนวทางการ สนับสนนุ เงนิ กจู้ ากกองทุนสิ่งแวดลอ้ ม (6) จัดทาแผนด้านสิ่งแวดล้อม คือ กิจกรรมโครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพการดาเนินงาน จัดการสิง่ แวดลอ้ ม การบรหิ ารจัดการกองทนุ ส่งิ แวดล้อม 4.5 ผลการจาแนกประเภทโครงการตามเกณฑท์ กี่ าหนด จากเกณฑ์การจาแนกประเภทโครงการที่กาหนดในขอ้ 5.1 สามารถจาแนกโครงการทขี่ อรับการ ให้การสนับสนุนโครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 และได้ ดาเนินการแล้วเสร็จ จานวน 970 โครงการ ดังตารางท่ี 4-1 ซ่ึงพบว่า กลุ่มโครงการที่ขอรับการให้การ สนบั สนนุ โครงการของกองทุนส่งิ แวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 และได้ดาเนินการแล้ว เสร็จ ภายใต้มาตรา 23(4) มีจานวนมากกว่าในกลุ่มโครงการภายใต้มาตราอื่นๆ ถึง 3 -4 เท่า กล่าวคือ กลุ่มโครงการที่ขอรับการให้การสนับสนุนโครงการของกองทุนส่ิงแวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บรษิ ัท ยูไนเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจเิ นยี รง่ิ คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หน้า 31 โครงการของกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 2535-2562 และได้ดาเนินการแล้วเสร็จ ภายใต้มาตรา 23(4) มีจานวนรวมถึง 746 โครงการ ขณะที่ กลุ่มโครงการภายใต้มาตรา 23(1) มีจานวนรวม 177 โครงการ และกลุ่มโครงการภายใต้มาตรา 23(2) มี จานวนรวม 47 โครงการ และเมื่อพิจารณาประเภทกิจกรรมจาแนกตามลักษณะกิจกรรม พบว่า กลุ่ม โครงการท่ีทากิจกรรมรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/พัฒนาเครือข่าย/สร้างจิตสานึก เป็นกลุ่มที่มีการขอรับการ สนับสนุนมากที่สุด รวมจานวน 721 โครงการ รองมาคือ กลุ่มโครงการที่ทากิจกรรมก่อสร้างและการ ควบคุมงาน/ออกแบบ (จานวน 188 โครงการ) และกลุ่มโครงการท่ีทากิจกรรมจัดซ้ือ/จัดหา/ติดต้ัง (จานวน 34 โครงการ) ตามลาดับ และเม่ือพิจารณาประเภทโครงการตามการจัดการพบว่า การจัดการ ด้านขยะ จะเป็นการจัดการท่ีมีการขอรับการสนับสนุนมากท่ีสุด ตลอดจนมีเป็นการขอรับการสนับสนุน เป็นแบบชุดกิจกรรม (มีรปู แบบของกิจกรรมที่เหมือนกนั แตกตา่ งท่ีสถานที่ดาเนนิ การ) โดยมีชุดกิจกรรม ท่มี ีการดาเนนิ โครงการมากสุดคือ ชุดโครงการคัดแยกขยะท่ตี ้นทาง ตารางท่ี 4-1 ผลการการจาแนกโครงการทขี่ อรับการใหก้ ารสนับสนนุ โครงการของกองทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม ระหวา่ ง ปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 และได้ดาเนินการแล้วเสร็จ ( ณ เดอื นมกราคม พ.ศ. 2564) ประเภทกิจกรรม ก่อสรา้ งและ จัดซือ้ / จัดทาแผน รณรงค/์ ศกึ ษาวิจยั รวม ด้านการจดั การ (ตามมาตรา) การควบคมุ จดั หา/ ด้าน ประชาสมั พนั ธ์/ 177 งาน/ ติดตงั้ สิง่ แวดล้อม พัฒนา 54 2 ออกแบบ เครอื ข่าย/สรา้ ง 27 จิตสานกึ 3 23(1) องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (อปท.) 145 17 13 2 15 โครงการด้านขยะ 44 6 4 8 โครงการด้านขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะตดิ เชอื้ ) 2 54 13 โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะ มลู 1 47 ฝอย) 27 34 13 โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะ 746 7 อันตราย) 3 โครงการด้านขยะ สมทบ 1 แสนบาท (เชอ้ื เพลงิ ขยะ) 15 โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (สถานีขน ถา่ ย) 8 โครงการด้านน้าเสีย 33 10 92 โครงการดา้ นนา้ เสีย สมทบ 1 แสนบาท 13 โครงการด้านมลพิษอน่ื ๆ 1 23(3) เอกชน (เงนิ ก)ู้ 42 4 1 โครงการดา้ นนา้ เสยี 32 1 1 โครงการด้านมลพิษอ่ืนๆ 10 3 23(4) องคก์ รเอกชน อปท. และส่วนราชการ 1 13 11 707 14 โครงการด้านขยะ 1 51 (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หนา้ 32 โครงการของกองทุนส่งิ แวดล้อม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ตารางที่ 4-1 ผลการการจาแนกโครงการที่ขอรบั การใหก้ ารสนบั สนนุ โครงการของกองทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม ระหวา่ ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 และไดด้ าเนินการแล้วเสรจ็ ( ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2564) ประเภทกจิ กรรม กอ่ สร้างและ จดั ซอ้ื / จัดทาแผน รณรงค์/ ศึกษาวจิ ัย รวม ดา้ นการจดั การ (ตามมาตรา) การควบคมุ จัดหา/ ดา้ น ประชาสัมพนั ธ/์ 97 งาน/ ตดิ ตง้ั สง่ิ แวดลอ้ ม พฒั นา 1 45 ออกแบบ เครอื ข่าย/สรา้ ง 533 63 จิตสานกึ 970 โครงการด้านทรพั ยากรธรรมชาติ 32 86 6 โครงการดา้ นน้าเสยี 1 โครงการดา้ นมลพิษอื่นๆ 10 9 20 6 ชุดโครงการ คดั แยกขยะทีต่ น้ ทาง lot 1 533 ชดุ โครงการ คัดแยกขยะท่ีตน้ ทาง lot 2 63 รวม 188 34 11 721 16 5. การกาหนดเกณฑจ์ ดั ลาดับความสาคัญและการคัดเลอื กโครงการท่ีจะใช้เปน็ กรณีศึกษา เพ่ือตดิ ตามประเมนิ ผลสาเร็จในภาพรวม หลังจากท่ีปรึกษาได้จาแนกประเภทของโครงการตามเกณฑ์การจาแนกลาดับของประเภท โครงการ เรียบร้อยแล้ว จะนาโครงการท่ีดาเนินการแล้วเสร็จมาจัดลาดับความสาคัญของโครงการแต่ละ กลุ่มโครงการที่ได้ทาการจาแนกไว้ข้างต้น และเพ่ือให้การศึกษาครอบคลุมทุกประเภทโครงการ โดยการ กาหนดเกณฑ์เพ่ือจัดลาดับความสาคัญในกลุ่มโครงการเพ่ือจะได้คัดเลือกโครงการท่ีจะใช้เป็นกรณีศึกษา นั้นแบ่งเป็น 3 กรอบเกณฑ์การจัดลาดับ เพ่ือความเหมาะสม 1) กรอบเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญ สาหรับกลุ่มโครงการท่ัวไปและโครงการเงินสมทบ 2) กรอบเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญสาหรับชุด โครงการคัดแยกขยะท่ีต้นทาง และ3) กรอบเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญสาหรับชุดโครงการต่อเน่ือง (โครงการที่มกี ารขอการสนับสนุนโครงการเปน็ ระยะเวลาต่อเน่ือง หรือขยายผลจากโครงการทีเ่ คยขอแล้ว) รายละเอียดดังน้ี 5.1 กรอบเกณฑ์การจดั ลาดบั ความสาคัญสาหรับกลุ่มโครงการทัว่ ไปและโครงการเงนิ สมทบ ท่ีปรึกษาได้กาหนดเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญสาหรับกลุ่มโครงการทั่วไปและโครงการเงิน สมทบ ใน 3 ประเดน็ ได้แก่ 1) ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และนโยบายที่เกี่ยวข้อง โดยพิจารณาความสอดคล้องของ ผลลัพธ์ของโครงการกับเป้าหมายของยุทธศาสตร์ และนโยบายท่ีเก่ียวข้อง ดังสิ่งแวดล้อมในช่วงปีที่ได้มี การดาเนนิ โครงการ (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษัท ยไู นเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจเิ นียริ่ง คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หน้า 33 โครงการของกองทุนสง่ิ แวดลอ้ ม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 2) งบประมาณท่ีได้รบั การสนบั สนุน โดยพิจารณาความมากนอ้ ยทีไ่ ดร้ บั งบประมาณ 3) ความต่อเนอ่ื งของโครงการ โดยพจิ ารณาระยะเวลาทีด่ าเนินการโครงการ และการขยายผล โดยท้ัง 3 เกณฑ์น้ัน ที่ปรึกษาได้กาหนดค่าถ่วงน้าหนัก ดังตารางที่ 5-1 และได้กาหนดคะแนน เกณฑแ์ ต่ละขอ้ ยอ่ ย ดงั ตารางที่ 5-2 เมื่อดาเนินการกาหนดเกณฑ์ เกณฑ์ย่อย และค่าคะแนนเกณฑ์ย่อย และถ่วงค่าน้าหนักเกณฑ์ หลัก แล้ว จะนามาคูณกันสาหรับการระบุคะแนนความสาคัญของแต่ละแผนงาน/โครงการ โดยมีค่า น้าหนกั รวมของทุกเกณฑ์ไมเ่ กนิ 10 คะแนนเพอ่ื ให้มคี ะแนนในการคูณกลับรวมกัน เท่ากับ 100 เพอ่ื ความ สะดวกในการพจิ ารณาใหค้ ณุ ค่าความสาคญั และการตัดสินใจ เมอ่ื จดั ลาดับโครงการตามคะแนนที่ได้แลว้ เสร็จ ท่ีปรกึ ษาจะคดั เลือกจานวนโครงการแตล่ ะกลุ่ม โครงการจากผลรวมของงบประมาณของโครงการไม่น้อยกว่า 60% ของงบประมาณแต่ละกลุ่มโครงการ เพ่ือเลอื กโครงการลาดบั ตน้ ๆ ไปประเมนิ ในข้นั ถัดไป ตารางที่ 5-1 การถ่วงนา้ หนักของเกณฑ์การจดั ลาดับความสาคญั สาหรับกลุ่มโครงการทัว่ ไปและ โครงการเงินสมทบ เกณฑ์ คา่ น้าหนกั (รวม 10 คะแนน) 1.ยุทธศาสตร์ และนโยบายทีเ่ กยี่ วข้อง 6 2.งบประมาณ 2 3.มคี วามต่อเนื่องของโครงการ 2 รวม 3 เกณฑ์หลัก 10 ตารางท่ี 5-2 เกณฑแ์ ละระดบั คะแนนย่อยของเกณฑก์ ารจดั ลาดบั ความสาคัญสาหรับกลมุ่ โครงการท่วั ไปและโครงการ เงินสมทบ ลาดับ เกณฑ์หลัก เกณฑย์ ่อย ระดับคะแนน ยุทธศาสตร์ และนโยบายทเ่ี กยี่ วข้อง ตัวชี้วดั /เปา้ หมาย (โดยสงั เขป) 1 (1) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 1. เป้าหมายการพฒั นาสิง่ แวดล้อม คะแนน 0,5,10 ฉบบั ท่ี 7 (พ.ศ. 2535-2539) เพ่ือคุณภาพชวี ติ 0 = ไมม่ ีประเด็นท่ี ชว่ งเวลาโครงการ 2535 - 3539 2. เปา้ หมายการยกระดับการบริหาร สอดคลอ้ ง และจดั การทรัพยากรธรรมชาติ 5= สอดคลอ้ ง 1 ประเดน็ (2) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 1. เปา้ หมายเพือ่ สนับสนุนคณุ ภาพ 10= สอดคลอ้ ง 2 ฉบบั ท่ี 8 ชีวติ ที่ดีของคนและชมุ ชน ประเดน็ ขึ้นไป (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บริษทั ยไู นเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จเิ นียร่งิ คอนซัลแตนท์ จากดั

โครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนุน หน้า 34 โครงการของกองทนุ สง่ิ แวดลอ้ ม ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ตารางที่ 5-2 เกณฑ์และระดบั คะแนนย่อยของเกณฑ์การจดั ลาดับความสาคญั สาหรบั กลุ่มโครงการทั่วไปและโครงการ เงนิ สมทบ ลาดบั เกณฑ์หลกั เกณฑย์ ่อย ระดับคะแนน ยุทธศาสตร์ และนโยบายท่เี กย่ี วข้อง ตัวช้ีวัด/เปา้ หมาย (โดยสงั เขป) (พ.ศ. 2540-2544) 2. เปา้ หมายเพ่อื เปน็ ฐานการผลติ ชว่ งเวลาโครงการ 2540 - 2541 ทางเศรษฐกิจ (3) แผนจัดการคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม พ.ศ. 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 2542 – 2549 2. คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ชว่ งเวลาโครงการ 2542 - 2549 3. องคก์ รในการบรหิ ารและจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อม 4. กฎหมายสิง่ แวดล้อมและ โครงสร้างพื้นฐานในการบังคับ ใช้กฎหมายสง่ิ แวดลอ้ ม (4) แผนจดั การคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม พ.ศ. 1. การการบรหิ ารจดั การ 2550 – 2554 2. การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ ชว่ งเวลาลโครงการ 2550 - 2554 3. การอนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อมมนุษย์ 4. การป้องกนั และแกไ้ ขภาวะ มลพิษ (5) แผนจัดการคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม พ.ศ. 1. การปรับฐานการผลิตและการ 2555 – 2559 บริโภคใหเ้ ป็นมิตรตอ่ ชว่ งเวลาลโครงการ 2555 - 2559 สิ่งแวดล้อม 2. การอนรุ ักษ์และฟนื้ ฟแู หล่ง ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างยง่ั ยนื 3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มเพื่อเสรมิ สร้าง ธรรยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การสรา้ ง คุณภาพส่งิ แวดล้อมทดี่ ใี หก้ ับ ประชาชนในทกุ ระดบั 4. การเตรยี มความพร้อมเพอื่ รับมอื กับความเสย่ี งจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และภยั ธรรมชาติ 5. การพัฒนาคนและสังคมใหม้ ี สานึกรับผดิ ชอบต่อส่งิ แวดลอ้ ม มาภิบาล (ร่าง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บรษิ ทั ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจเิ นียริง่ คอนซัลแตนท์ จากดั

โครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หน้า 35 โครงการของกองทนุ ส่งิ แวดล้อม ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ตารางท่ี 5-2 เกณฑแ์ ละระดับคะแนนยอ่ ยของเกณฑ์การจัดลาดับความสาคญั สาหรบั กล่มุ โครงการทวั่ ไปและโครงการ เงินสมทบ ลาดบั เกณฑ์หลัก เกณฑ์ยอ่ ย ระดบั คะแนน ยทุ ธศาสตร์ และนโยบายทเ่ี ก่ยี วข้อง ตัวชี้วัด/เปา้ หมาย (โดยสังเขป) (6) แผนจดั การคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม พ.ศ. 1. การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ 2560-2564 อย่างสมดลุ และเปน็ ธรรม ช่วงเวลาโครงการ 2560 - 2564 2. การจัดการคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม ที่ดี ได้รับการป้องกนั บาบดั และฟื้นฟู 3. เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมอยา่ งคุ้มคา่ และ ยั่งยนื 4. สรา้ งศกั ยภาพเพ่ือรองรับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และภยั ธรรมชาติ และส่งเสริม ความร่วมมือกับต่างประเทศ 2 งบประมาณ จานวนงบประมาณทไี่ ดร้ ับอนมุ ตั ิ คะแนน 1-10 1 = ไม่เกนิ 1 ล้านบาท 2 = 1-2 ล้านบาท 3 = 2-3 ลา้ นบาท 4 = 3-4 ลา้ นบาท 5 = 5-10 ลา้ นบาท 6 = 10-15 ล้านบาท 7 = 15-20 ล้านบาท 8 = 20 ล้านบาท ข้นึ ไป 9 = 81-90 ล้านบาท 10 = 91 ลา้ นบาทขน้ึ ไป 3 ความต่อเนือ่ งของโครงการ ความตอ่ เนอ่ื งในการดาเนินการ คะแนน 2,4,6,8,10 2 = ดาเนนิ การปเี ดยี ว 4 = ดาเนนิ การ 2 ปี 6 = ดาเนนิ การ 3 ปี 8 = ดาเนินการ 4 ปี 10 = ดาเนินการ 5 ปีขึน้ ไป (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บริษทั ยไู นเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จิเนียรง่ิ คอนซลั แตนท์ จากดั

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนุน หน้า 36 โครงการของกองทุนสิง่ แวดลอ้ ม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 5.2 กรอบเกณฑ์การจัดลาดับความสาคญั สาหรบั กลมุ่ โครงการคดั แยกขยะที่ต้นทาง เนื่องจากชุดโครงการคัดแยกขยะที่ต้นทาง จะเป็นชุดโครงการท่ีมีกิจกรรมรูปแบบเดียวกัน และ งบประมาณใกล้เคียงกัน กระจายอยู่ท่ัวท้ังประเทศ จึงจาเป็นต้องมีการแยกจากโครงการทั่วไป เพื่อจัดทา เกณฑ์การคัดเลือกให้ครอบคลุม ดังน้ัน กาหนดเกณฑ์คัดเลือกเป็นการกระจายท่ัวประเทศ จึงได้แบ่ง ประเภทโครงการเป็นท้ังหมด 2 กลุ่ม รายละเอยี ดดังน้ี (1) ภาค แบ่งเป็นทั้งหมด 6 ภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคเหนอื และภาคใต้ (2) จงั หวัด แบง่ จงั หวดั ตามภาค ทั้งหมด 74 จงั หวัด เม่ือได้ทาการแบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้ว จะเลือกโครงการท่ีเป็นตัวแทนของชุดโครงการคัดแยกขยะท่ี ต้นทาง โดยจะเลือกจังหวัดที่ดาเนินโครงการแล้วเสร็จ ที่มีจานวนโครงการและงบประมาณสูงท่ีสุดของแต่ ละภาค รวมทั้งหมด 6 จังหวัด ในการเป็นตัวแทนของชุดโครงการ จังหวัดท่ีคัดเลือกได้แก่ จังหวัดลพบุรี จังหวัดกาญจนบรุ ี จังหวดั ตราด จังหวดั ศรษี ะเกษ จงั หวดั นครศรธี รรมราช และจงั หวดั เชยี งราย หลังจากนั้นจะเลือกโครงการท่ีครอบคลุมขนาดหน่วยงานท้ัง 3 ขนาด คือ องค์การบริหารส่วน ตาบล (อบต) สานกั งานเทศบาลตาบล (ทต.) และสานักงานเทศบาลเมือง (ทม.) 5.3 กรอบเกณฑ์การจดั ลาดบั ความสาคญั สาหรบั กลมุ่ โครงการตอ่ เน่ือง เน่ืองจากการศึกษาโครงการครั้งน้ี เป็นการติดตามประเมินผลสาเร็จของโครงการ การขยายผล ของโครงการ จึงให้ความสาคัญกับโครงการที่มีรูปแบบต่อเน่ือง จึงได้กาหนดกรอบเกณฑ์การจัดลาดับ ความสาคัญสาหรับกลุ่มโครงการต่อเน่ือง เป็นเงื่อนไขพิเศษท่ีนาโครงการท่ีต่อเนื่องกันมาเพื่อประเมิน ความสาเรจ็ ภาพรวมโครงการ ซ่งึ พบว่า มที งั้ หมด 41 โครงการ ทั้งนี้ มโี ครงการต่อเน่ืองท่ีได้รบั การคดั เลือก ตามเกณฑ์ จานวน 30 โครงการ โดยพิจารณาแยกตามกรอบเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญของโครงการ ทว่ั ไปเชน่ กนั ดังนั้น เม่ือนาผลการจัดลาดับความสาคัญแผนงาน/โครงการที่ดาเนินการสาเร็จในแต่ละกลุ่ม โครงการตามเกณฑ์ทั้งสามข้างต้น และเรียงลาดับตามคะแนน โดยเลือกโครงการตามลาดับคะแนนให้ ครอบคลมุ วงเงนิ 60 % ของวงเงนิ แต่ละกลุ่ม ซงึ่ จะไดจ้ านวนโครงการท่ีผา่ นการคัดเลือกเพื่อติดตามและ ประเมินภาพรวมของโครงการรวมทง้ั หมด 214 โครงการ (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา บริษทั ยูไนเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลสา โครงการของกองทนุ สิ่งแวดลอ้ ม ร ตารางที่ 5-3 สรปุ จานวนโครงการท่ีคดั เลอื กตามเกณฑจ์ ดั ลาดับความสาคัญที่จะใชเ้ ปน็ โครงการ ประเภทตามมาตรา จานวนโครงก 23(1) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ (อปท.) 177 โครงการดา้ นขยะ 54 โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะตดิ เชอื้ ) 2 โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะมลู ฝอย) 27 โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะอนั ตราย) 3 โครงการด้านขยะ สมทบ 1 แสนบาท (เชอื้ เพลิงขยะ) 15 โครงการด้านขยะ สมทบ 1 แสนบาท (สถานีขนถา่ ย) 8 โครงการด้านนา้ เสีย 54 โครงการดา้ นนา้ เสยี สมทบ 1 แสนบาท 13 โครงการด้านมลพษิ อน่ื ๆ 1 23(3) เอกชน (เงินก)ู้ 47 โครงการด้านน้าเสีย 34 โครงการดา้ นมลพษิ อื่นๆ 13 23(4) องคก์ รเอกชน อปท. และส่วนราชการ 746 โครงการดา้ นขยะ 7 โครงการด้านทรพั ยากรธรรมชาติ 97 โครงการด้านน้าเสยี 1 (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา

าเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนุน หน้า 37 ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 นกรณีศกึ ษา เพือ่ ติดตามประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวม รทีด่ าเนินการเสรจ็ สน้ิ แตล่ ะกลุ่มครอบคลมุ 60% และโครงการตอ่ เน่ือง การ วงเงนิ อนุมตั ิ จานวนโครงการ วงเงินอนมุ ัติ (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) 9315.342349 97 7573.632 2,012.83 20 1,031.552 0.2 2 0.2 2.7 17 1.7 0.3 3 0.3 1.5 9 0.9 0.8 5 0.5 7,280.412349 32 6,522.38 1.3 8 0.8 15.3 1 15.3 2,207.83846 24 1,266.9659 1410.35846 12 478.1859 797.48 12 788.78 3,345.286812 93 2,786.866827 25.0474 5 16.8874 2,688.8741 41 2,457.2121 6.35 1 6.35 บริษัท ยูไนเตด็ แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจิเนยี รงิ่ คอนซลั แตนท์ จากดั

โครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลสา โครงการของกองทุนสิง่ แวดล้อม ร ตารางที่ 5-3 สรุปจานวนโครงการท่คี ดั เลอื กตามเกณฑจ์ ดั ลาดบั ความสาคญั ท่จี ะใชเ้ ปน็ โครงการ ประเภทตามมาตรา จานวนโครงก โครงการดา้ นมลพิษอน่ื ๆ 45 ชดุ โครงการ คัดแยกขยะทต่ี น้ ทาง lot 1 533 ชุดโครงการ คดั แยกขยะทต่ี น้ ทาง lot 2 63 รวม 970 ร้อยละงบประมาณที่เลือกตอ่ โครงการท่ีดาเนนิ การเสร็จส้ิน ตารางที่ 5-4 โครงการท่ีคัดเลือกตามเกณฑ์ แบ่งตามกิจกรรม จดั ซ กอ่ สรา้ งและการ ควบคุมงาน/ออกแบบ ประเภทตามมาตรา จานวน วงเงนิ อนมุ ตั ิ จาน โครงการ (ล้านบาท) โครงก 23(1) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ (อปท.) 76 7208.672 10 โครงการด้านขยะ 16 978.052 2 โครงการด้านขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะติดเชื้อ) 2 0.2 (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศกึ ษา

าเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หนา้ 38 ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 นกรณีศกึ ษา เพ่ือตดิ ตามประเมินผลสาเร็จในภาพรวม รทีด่ าเนนิ การเสรจ็ ส้ิน แตล่ ะกลุ่มครอบคลุม 60% และโครงการตอ่ เนือ่ ง การ วงเงินอนุมัติ จานวนโครงการ วงเงนิ อนุมัติ (ล้านบาท) (ล้านบาท) 417.913932 25 298.418732 181.782715 12 4.398595 25.318665 9 3.6 14868.46762 214 11627.46473 78.20 ซอ้ื /จดั หา/ตดิ ตงั้ จัดทาแผนดา้ น รณรงค์/ประชาสมั พนั ธ์/ ศึกษาวิจัย นวน วงเงนิ สิ่งแวดล้อม พัฒนาเครือข่าย/สร้าง จานวน วงเงิน งการ อนุมตั ิ โครงการ อนุมัติ จติ สานึก (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) 0 322.84 จานวน วงเงินอนมุ ตั ิ จานวน วงเงินอนุมตั ิ 2 6.62 2 46 โครงการ (ล้านบาท) โครงการ (ล้านบาท) 9 35.5 2 7.5 บริษทั ยไู นเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอน็ จิเนยี รงิ่ คอนซัลแตนท์ จากดั

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสา โครงการของกองทุนสง่ิ แวดลอ้ ม ร ตารางที่ 5-4 โครงการทค่ี ัดเลือกตามเกณฑ์ แบง่ ตามกจิ กรรม จัดซ ก่อสร้างและการ ควบคุมงาน/ออกแบบ ประเภทตามมาตรา จานวน วงเงนิ อนมุ ตั ิ จาน โครงการ (ลา้ นบาท) โครงก 23(1) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ (อปท.) 76 7208.672 10 โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะมลู ฝอย) 17 1.7 โครงการด้านขยะ สมทบ 1 แสนบาท (ขยะอนั ตราย) 3 0.3 7 โครงการด้านขยะ สมทบ 1 แสนบาท (เชือ้ เพลงิ ขยะ) 9 0.9 1 โครงการดา้ นขยะ สมทบ 1 แสนบาท (สถานขี นถา่ ย) 5 0.5 3 โครงการดา้ นนา้ เสีย 16 6226.22 1 โครงการดา้ นนา้ เสยี สมทบ 1 แสนบาท 8 0.8 2 โครงการด้านมลพษิ อ่นื ๆ 3 23(3) เอกชน (เงินกู้) 20 834.12 1 โครงการด้านน้าเสยี 10 470.34 โครงการดา้ นมลพษิ อ่นื ๆ 10 363.78 23(4) องค์กรเอกชน อปท. และสว่ นราชการ 1 0.68 โครงการดา้ นขยะ 1 0.68 โครงการด้านทรัพยากรธรรมชาติ (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา

าเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หน้า 39 ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ซอ้ื /จดั หา/ตดิ ตง้ั จัดทาแผนดา้ น รณรงค์/ประชาสัมพนั ธ/์ ศึกษาวจิ ัย นวน วงเงิน ส่ิงแวดล้อม พฒั นาเครือข่าย/สรา้ ง จานวน วงเงิน งการ อนุมตั ิ โครงการ อนุมัติ จิตสานึก (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) 0 322.84 จานวน วงเงินอนมุ ตั ิ จานวน วงเงนิ อนุมตั ิ 2 6.62 โครงการ (ลา้ นบาท) โครงการ (ล้านบาท) 9 35.5 7 261.54 7 28 2 6.62 1 15.3 3 431 1 1.8459 16 1 1.8459 2 425 3 46.18 4 2360.41 77 295.731827 8 83.865 3 11.2174 1 4.99 1 10.18 1 2254 37 161.6421 2 31.39 บรษิ ัท ยูไนเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอน็ จเิ นยี ริ่ง คอนซลั แตนท์ จากัด

โครงการตดิ ตามและประเมนิ ผลสา โครงการของกองทนุ สิ่งแวดล้อม ร ตารางที่ 5-4 โครงการทคี่ ัดเลอื กตามเกณฑ์ แบ่งตามกิจกรรม จัดซ ก่อสรา้ งและการ ควบคมุ งาน/ออกแบบ ประเภทตามมาตรา จานวน วงเงินอนมุ ตั ิ จาน โครงการ (ล้านบาท) โครงก 23(1) องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ (อปท.) 76 7208.672 10 โครงการดา้ นนา้ เสีย 2 โครงการด้านมลพิษอ่ืนๆ ชุดโครงการ คดั แยกขยะที่ตน้ ทาง lot 1 97 8043.472 16 ชุดโครงการ คดั แยกขยะทต่ี น้ ทาง lot 2 รวม (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา

าเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนนุ หนา้ 40 ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 ซือ้ /จดั หา/ติดตงั้ จดั ทาแผนด้าน รณรงค/์ ประชาสมั พันธ์/ ศกึ ษาวิจัย นวน วงเงนิ ส่งิ แวดลอ้ ม พัฒนาเครอื ขา่ ย/สร้าง จานวน วงเงิน งการ อนุมตั ิ โครงการ อนุมัติ จติ สานึก (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) 0 322.84 จานวน วงเงนิ อนุมตั ิ จานวน วงเงินอนมุ ตั ิ 2 6.62 2 36 1 6.35 โครงการ (ล้านบาท) โครงการ (ลา้ นบาท) 4 41.135 6 800.02 9 35.5 10 90.485 3 106.41 16 114.873732 12 4.398595 9 3.6 4 2360.41 87 333.077727 บริษทั ยูไนเต็ด แอนนาลสิ ต์ แอนด์ เอ็นจเิ นยี รงิ่ คอนซลั แตนท์ จากดั

โครงการติดตามและประเมินผลสาเร็จในภาพรวมของการใหก้ ารสนบั สนนุ หนา้ 41 โครงการของกองทนุ สิง่ แวดล้อม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2535-2562 6. เกณฑก์ ารคัดเลอื กโครงการที่ใช้เปน็ กรณีศึกษา ทีป่ รึกษาได้จัดทาการคัดเลือกโครงการท่ีใชเ้ ปน็ กรณีศึกษาไมน่ ้อยกว่า 30 พ้นื ท่ี เพ่ือทาการประเมิน โครงการตามแนวทางที่เสนอในบทที่ 3 โดยได้เรียงลาดับคะแนนสูงสุดตามเกฑณ์การคัดเลือกในข้อ 5.3 จาก 214 โครงการท่ีผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ที่ได้จัดลาดับไว้ แต่ด้วยข้อจากัดของระยะเวลาของการ ติดตามโครงการท่ีแล้วเสร็จเกินกว่า 10 ปี ทาให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องโครงการส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่ในตาแหน่งหรือ ลักษณะงานเดิม จึงทาให้ติดตามข้อมูลผลลัพธ์ในปัจจุบันไม่ได้ ดังนั้น ที่ปรึกษาจึงได้แบ่งระยะเวลา โครงการเป็น 2 ระยะ คือ โครงการระยะท่ี 1 คือ โครงการท่ีดาเนินการแล้วเสร็จในช่วงต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535-2549 โดยจะทาการประเมินโดยพิจารณาจากคุณภาพส่ิงแวดล้อมในช่วงระยะเวลาท่ีคลอบคลุม เวลาโครงการในภาพรวมเท่าน้ัน และโครงการระยะที่ 2 โครงการท่ีดาเนินการแล้วเสร็จในช่วงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550-2562 ซึง่ จะทาการประเมินโดยการตดิ ตามประชมุ เปน็ กรณีศกึ ษา จานวน 30 โครงการ และ ที่เหลอื จะทาการตดิ ตามด้วยแบบสอบถาม และทาการประเมนิ ตามบทท่ี 3 เชน่ กนั (แต่จะไมป่ ระเมินด้าน ประสทิ ธภิ าพดา้ นเศรษฐศาสตร)์ โดยในการคัดเลือก 30 โครงการที่เป็นกรณีศึกษาจาก 129 โครงการ ที่ปรึกษาได้กาหนดเกณฑ์การ คัดเลือกเป็น 3 ประเด็น รายละเอียดการคัดเลือกโครงการท่ีใช้เป็นกรณีศึกษา ดังรูปท่ี 6-1 รวมท้ังการ พิจารณาให้ครอบคลมุ พนื้ ท่ีทวั่ ประเทศ โดยมรี ายละเอียดดังนี้ รปู ท่ี 6-1 รายละเอยี ดการคดั เลอื กโครงการที่ใช้เปน็ กรณศี ึกษา (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ทั ยูไนเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอน็ จเิ นียร่งิ คอนซัลแตนท์ จากัด

โครงการติดตามและประเมนิ ผลสาเรจ็ ในภาพรวมของการใหก้ ารสนับสนุน หน้า 42 โครงการของกองทุนสง่ิ แวดล้อม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2535-2562 6.1 เกณฑค์ ะแนนความสอดคลอ้ ง ความสอดคล้องของผลลัพธ์โครงการต่อเป้าหมายของแผนแม่บทการจัดการสิ่งแวดล้อมของ ประเทศในช่วงเวลานนั้ ๆ โดยกาหนดเกณฑค์ ะแนนดังตารางที่ 6-1 ตารางท่ี 6-1 เกณฑค์ ะแนนความสอดคล้อง คะแนน ความหมาย เกณฑค์ วามสอดคล้อง 0 ไม่มคี วามสอดคล้อง ไม่มคี วามสอดคลอ้ งเปา้ หมาย/ตัวช้ีวดั /แนวทาง ของแผนจัดการคุณภาพสงิ่ แวดล้อม สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม 25 คะแนน เปน็ โครงการทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกับแผนจดั การ จานวน 1 เปา้ หมาย/ตัวชว้ี ดั /แนวทาง คุณภาพสิ่งแวดลอ้ มในระดับยอมรบั ได้ เปน็ โครงการที่มคี วามสอดคลอ้ งกบั แผนจดั การ สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้อม 50 คะแนน คุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับปานกลาง จานวน 2 เปา้ หมาย/ตัวช้ีวดั /แนวทาง เป็นโครงการที่มคี วามสอดคลอ้ งกบั แผนจดั การ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มในระดับดี สอดคลอ้ งกบั แผนจดั การคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ ม 75 คะแนน เปน็ โครงการทม่ี คี วามสอดคล้องกับแผนจัดการ จานวน 3 เป้าหมาย/ตัวชี้วดั /แนวทาง คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อมในระดับดเี ย่ียม สอดคล้องกับแผนจดั การคุณภาพสง่ิ แวดล้อม 100 คะแนน จานวน 4 เปา้ หมาย/ตัวชวี้ ดั /แนวทางข้ึนไป ซึ่งสามารถประเมนิ ผลไดด้ งั ตารางที่ 6-2 ตารางที่ 6-2 ผลสรุปการประเมินความสอดคล้องกับเปา้ หมาย / ตวั ช้วี ัด / แนวทางการพัฒนา / แผนงาน ชว่ งปี 1 ประเดน็ 2 ประเด็น 3 ประเด็น 4 ประเด็น 5 ประเด็น 6 ประเด็น รวมโครงการ 27 ชว่ งปี 2550-2554 15 5 6 1 - - 91 11 ชว่ งปี 2555-2559 82 9 - - - - 129 100 ช่วงปี 2560-2562 11 - - - - - รวมโครงการ 108 14 6 1 0 0 คิดเปน็ ร้อยละ 83.7 10.9 4.7 0.8 0 0 6.2 เกณฑค์ ะแนนความเชือ่ มโยง ความเช่ือมโยงของโครงการต่อพ้ืนที่ จะพิจารณาความเชอ่ื มโยงของโครงการ และความไม่เข้ากนั ของโครงการ เพอื่ จะได้ศกึ ษาผลลัพธ์ในภาพพ้ืนทไี่ ด้ โดยกาหนดเกณฑค์ ะแนนดงั ตารางที่ 6-3 ตารางท่ี 6-3 เกณฑ์คะแนนงบประมาณ เกณฑค์ วามเช่อื มโยง คะแนน ความหมาย ภายในจงั หวดั สว่ นใหญเ่ ปน็ โครงการที่ซ้าซ้อนและขดั กัน เชือ่ มโยงนอ้ ย ต่ากว่าร้อยละ 25 ภายในจงั หวัดสว่ นใหญเ่ ป็นโครงการทไี่ ม่สง่ เสริมหรอื ไม่ขัดกัน เชอ่ื มโยงปานกลาง ร้อยละ 25 - 49 (รา่ ง) เอกสารรายงานผลการศึกษา บรษิ ัท ยูไนเตด็ แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจเิ นียร่งิ คอนซลั แตนท์ จากัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook