Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานฝึกฝีมือ 1 บทที่1

งานฝึกฝีมือ 1 บทที่1

Published by พุฒิพงศ์ ลือเมือง, 2018-09-18 05:27:00

Description: บทที่1

Search

Read the Text Version

1เคร่ืองมือและเคร่ืองมือกลเบื้องต้นสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้1. คอ้ น เคร่ืองมือและ 1. บอกชนิด ประเภทของเคร่ืองมือและเคร่ืองมือกล2. คีม เครื่องมือกลเบื้องต้น3. ประแจ เบ้ืองตน้ ได้4. ไขควง 2. อธิบายหลกั การทางาน ส่วนประกอบของ5. กรรไกร6.อปุ กรณ์จบั ยดึ เครื่องมือและเคร่ืองกลเบ้ืองตน้ ได้7.เคร่ืองเจาะ 3.อธิบายขอ้ ควรระวงั ในการใชง้ านเครื่องมือและ8. เครื่องกลึง9. เคร่ืองเลื่อยกล เคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ อยา่ งปลอดภยั ได้10. การบารุงรักษาและเก็บรักษาเครื่องมือและ 4. เลือกใชง้ านเครื่องมือและเครื่องมือกล เบ้ืองตน้ ได้ 5. บารุงรักษาและเกบ็ รักษาเครื่องมือและเครื่องมือ เคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ กลเบ้ืองตน้ ได้ สมรรถนะประจาหน่วย กจิ กรรมเตรียมพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน1. เลือกใชเ้ ครื่องมือและเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง และปลอดภยั คดั เลือกคาศพั ทห์ รือสานวนภาษาองั กฤษจากหน่วยการ เรียนรู้ เพือ่ การทบทวนและสร้างความเขา้ ใจให้มากข้ึน2. ใชง้ าน บารุงรักษา เก็บรักษาเคร่ืองมือและเคร่ืองมือกล เบ้ืองตน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 8

11. ค้อน คอ้ น (Hammer) เป็นเครื่องมือที่เคาะวสั ดุงาน ทุบ ตี หรือกระแทกชิ้นงานตามจุดมุ่งหมายที่ตอ้ งการ 1.1 คอ้ นสาหรับงานช่างไมเ้ คร่ืองเรือน (Carpenter Hammer) หรือ คอ้ นหงอน (Nail Hammer) 1.1.1 ค้อนหงอนหน้าเรียบ (Plain Face Nail Hammer) 1.1.2 ค้อนหงอนหน้าเว้า (Bell Face Nail Hammer) 9

1.2 คอ้ นสาหรับงานช่างกล (Machinist Hammer) 1 1.2.1 ค้อนหัวแขง็ (Hand Strong Hammer) 10 1) คอ้ นหวั กลม (Ball-peen Hammer) 2) คอ้ นย้าหวั หมุด (Riveting Hammer) 3) คอ้ นย้าตะเขบ็ (Seaming Hammer) 4) คอ้ นสาหรับงานข้ึนรูป (Forming Hammer)

11.2.2 ค้อนหัวอ่อน (Soft-face Hammer) หรือ ค้อนหัวไม้ (Mallet Hammer)ข้อควรระวงั ในการใช้งานและการบารุงรักษาค้อนชนิดต่างๆ 1) ไม่ควรใชค้ อ้ นท่ีมีดา้ มหลวม 2) ขนาดน้าหนกั ของหวั คอ้ นจะตอ้ งเหมาะสมกบั ความแขง็ และความ หนาของแผน่ โลหะงาน 3) โลหะท่ีมีความแขง็ นอ้ ยไม่ควรใชค้ อ้ นหวั แขง็ 4) เม่ือเลิกใชง้ านควรทาความสะอาด แลว้ เกบ็ เขา้ ที่ใหเ้ รียบร้อย 11

12. คมี คีม (Pliers) เป็นเครื่องมือท่ีใชส้ าหรับจบั ชิ้นงาน ใชต้ ดั และยงั สามารถบีบหรือดดั ข้ึนรูปชิ้นงานไดด้ ว้ ย2.1 คีมแบบผสม (Combine Pliers)2.2 คีมปากแบน (Flat Pliers)2.3 คีมตดั ดา้ นขา้ ง (Side Cutting Pliers)2.4 คีมตดั ปากทแยง (Diagonal Pliers)2.5 คีมปากจิ้งจก (Long Nose Pliers) 12

1 2.6 คีมลอ็ ก (Vise Pliers) 2.7 คีมปากขนาน (Parallel Jaw Pliers) 2.8 คีมจบั ท่อ (Pipe Clamp Pliers)ข้อควรระวงั ในการใช้งานและการบารุงรักษาคมี ชนิดต่างๆ 1) ก่อนการใชง้ านควรตรวจสอบดูตวั ขนั ลอ็ กท่ีเป็นจุดหมุนของคีมใหพ้ ร้อมใชง้ าน 2) ควรเลือกใชค้ ีมใหเ้ หมาะสมกบั งาน 3)ไม่ควรใชค้ ีมเกินความสามารถของคีม 4) เม่ือเลิกใชค้ ีมควรมีการบารุงรักษาทุกคร้ัง และเกบ็ เขา้ ที่ใหเ้ รียบร้อย 13

13. ประแจ ประแจ (Wrench) เป็นเคร่ืองมือที่ใชสาหรับการขนั ลอ็ ก หรือ คลายสลกั เกลียวแป้นเกลียว หรือสกรู 3.1 ประแจประเภทที่สามารถปรับปากได้ (Adjustable Wrench) 3.1.1 ประแจเลื่อน (Monkey Wrench) 3.1.2 ประแจขนั ท่อ (Pipe Wrench) หรือ เรียกว่า ประแจคอม้า 3.1.3 ประแจรางเล่ือน (Adjustable Wrench) หรือ เรียกว่า ประแจฉาก 14

13.2 ประแจประเภทที่ไม่สามารถปรับปากได้ (Non-adjustable Wrench) 3.2.1 ประแจปากตาย (Open End Wrench) 3.2.2 ประแจหัวแหวน (Ring End Wrench) 3.2.3 ประแจหัวผสม (Combine Wrench)3.3 ประแจประเภทปากพิเศษ (Special Wrench) 3.3.1 ประแจบลอ็ ก (Socket Wrench or Box Wrench) 15

13.3.2 ประแจสแปนเนอร์ (Spanner Wrench) 1) ประแจฮุคสแปนเนอร์ (Hook Spanner Wrench) 2) ประแจพนิ สแปนเนอร์ (Pin Spanner Wrench) 3) ประแจดบั เบิ้ลพนิ สแปนเนอร์ (Double Pin Spanner Wrench)3.3.3 ประแจอัลเลน (Allen Wrench)ข้อควรระวงั ในการใช้งานและการบารุงรักษาประแจชนิดต่างๆ 1) ควรปรับปากใหแ้ น่นและพอดีกบั หวั ของนตั สกรู หรือโบลว์ 2) การเลือกใชป้ ระแจ ควรดูบริเวณพ้ืนท่ีในการใชง้ านใหเ้ หมาะสม 3) การใชง้ านประแจหา้ มตอ่ ดา้ มของประแจโดยเดด็ ขาด 4) เมื่อเลิกใชง้ านควรเช็ดทาความสะอาด แลว้ เกบ็ เขา้ กล่องใหเ้ รียบร้อย 16

14. ไขควง ไขควง (Screwdriver) เป็นเคร่ืองมือใชส้ าหรับการขนั หรือ คลายสกรูไดต้ ามตอ้ งการ 4.1 ส่วนประกอบของไขควง 4.1.1 ด้าม (Handle) 4.1.2 ก้าน (Shank) 4.1.3 ส่วนปลายหรือส่วนหัวของไขควง (End or Head) 17

4.2 ชนิดของไขควง 1 4.2.1 ไขควงแบน (Flat Screwdriver) 18 4.2.2 ไขควงส่ีแฉก (Phillip Screwdriver) 4.2.3ไขควงแบบผสมและเปลยี่ นหัวขนั ได้ (Combine Screwdriver and Change Head-screwdriver) 4.2.4 ไขควงเจลเวลเลอร์ (Jeweler Screwdriver) 4.2.5 ไขควงยึดสกรู (Screw Holding Driver) 4.2.6 ไขควงรูปตัวเอส (S-screwdriver) 4.2.7 ไขควงเกลียว (Spiral Screwdriver) 4.2.8 ไขควงเกียร์ชุด (Set-gear Screwdriver)

1ข้อควรระวงั ในการใช้งานและการบารุงรักษาไขควงชนิดต่างๆ 1) ไม่ควรใชไ้ ขควงกระแทกแทนการใชส้ กดั 2) ใชไ้ ขควงท่ีมีขนาดพอดีกบั ร่องของหวั สกรู 3) เลือกใชไ้ ขควงใหถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสมกบั งาน 4) เมื่อเลิกใชง้ านควรเช็ดทาความสะอาด แลว้ เกบ็ เขา้ กลอ่ งใหเ้ รียบร้อย 19

15. กรรไกร กรรไกร (Scissors) เป็นเครื่องมือตดั ดว้ ยมือท่ีนิยมใชใ้ นงานโลหะแผน่ 5.1 กรรไกรตดั ตรง (Straight Scissors) 5.2 กรรไกรตดั ผสม (Combine Scissors) 5.3 กรรไกรตดั คู่ (Double Cutting Scissors) 5.4 กรรไกรบูลด๊อก (Bulldog Scissors) 5.5 กรรไกรโทรเจน (Trojan Scissors) 5.6 กรรไกรตดั สองจงั หวะ (Cycle Scissors) 20

15.7 กรรไกรตดั โคง้ (Circular Scissors)5.8 กรรไกรแฮคบิล (Hack Bill Scissors)5.9 กรรไกรขนาดใหญ่ (Heavy-duty Scissors)ข้อควรระวงั ในการใช้งานและการบารุงรักษากรรไกรชนิดต่างๆ 1) ถา้ เป็นการตดั วงกลมหรือสี่เหลี่ยมบนแผน่ โลหะควรจะเจาะรูเสียก่อน2) ขณะทาการตดั งานควรใหก้ รรไกรต้งั ฉากกบั แผน่ โลหะเสมอ3) ไม่ควรใชก้ รรไกรตดั โลหะแผน่ ที่หนาเกินกวา่ กรรไกรจะตดั ได้4) การตดั ของกรรไกรไม่ควรจะตดั จนสุดความยาวของใบตดั5) เมื่อเลิกใชง้ านควรเชด็ ทาความสะอาด แลว้ หยอดน้ามนั หล่อล่ืนจุด 21หมุนแลว้ เกบ็ เขา้ ท่ีใหเ้ รียบร้อย

16. อปุ กรณ์จับยดึ อุปกรณ์จบั ยดึ (Clamp or Vise) ใชใ้ นการจบั ยดึ ชิ้นงานใหแ้ น่นคงท่ีไม่ใหเ้ คลื่อนไหวในขณะทางาน6.1 ประเภทแคลมพ์ (Clamp Type) 6.1.1 บาร์แคลมพ์ (Bar Clamp) 6.1.2 ซี-แคลมพ์ (C-clamp) 6.1.3 แพราเลลแคลมพ์ (Parallel Clamp) 22

16.2 ประเภทไวส์ (Vise Type) 6.2.1 ปากกาบนโต๊ะงาน (Bench Vise) 6.2.2 ปากกาจับท่อ (Pipe Vise)ข้อควรระวงั ในการใช้งานและการบารุงรักษาปากกาชนิดต่างๆ 1) อยา่ ขนั เกลียวของซี-แคลมพ์ (C-clamp) แน่นจนเกินไป 2) พยายามจบั งานใหห้ วั หมุน (Swivel Head) ของซี-แคลมพ์ (C-clamp) ต้งั ฉากกบั ผวิ งานเสมอ 3) อยา่ ใชค้ อ้ นตีหรือตอ่ ดา้ มหมุนของปากกาโดยเดด็ ขาด 4) การจบั โลหะออ่ นควรจะใชแ้ ผน่ รอง (Soft Removable Jaws) รองงานก่อนเสมอ5) เม่ือเลิกใชง้ านจะตอ้ งคลายปากการออกใหป้ ากท้งั สองดา้ นมีระยะห่างประมาณ1-2 ซม. และชโลมน้ามนั บริเวณเกลียวขนั และปากของปากกาท้งั สองดา้ น 23

17. เคร่ืองเจาะ เคร่ืองเจาะ (Drilling Machine) เป็นเคร่ืองจกั รที่ใชใ้ นการตดัเฉือนโลหะใหข้ าดออกจากกนั ใหเ้ ป็นรูตามขนาดของดอกสวา่ น7.1 เคร่ืองเจาะรูดว้ ยมือ (Hand Punch)7.2 เคร่ืองเจาะดว้ ยระบบไฟฟ้า (Electrical Drilling Machine) 7.2.1 สว่านมือ (Hand Drilling Machine) 7.2.2 เครื่องเจาะแบบตงั้ โต๊ะ (Bench Drilling Machine) 24

17.2.3 เคร่ืองเจาะแบบต้งั พืน้ (Floor Drilling Machine)7.2.4 เคร่ืองเจาะแบบหมนุ (Radial Drilling Machine)7.2.5 เคร่ืองเจาะแบบอัตโนมตั ิ (CNC Drilling Machine) 25

18. เครื่องกลงึ เครื่องกลึง (Lathe Machine) เป็นเคร่ืองจกั รที่นามาทางาน ในดา้ นการผลิตชิ้นงานเป็นเคร่ืองมือซ่ึงใชร้ ะบบไฟฟ้าไปขบั มอเตอร์ ใหเ้ ปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้าเป็นพลงั งานกลไปขบั ชุดเฟื อง แลว้ ทาการกลึง ชิ้นงาน 8.1 ฐานแท่นเคร่ือง (Lathe Bed) 8.2 ชุดหวั เครื่อง (Head Stock) 8.3 ชุดทา้ ยแท่น (Tail Stock) 26

8.4 ชุดแท่นเลื่อน (Carriage) 18.5 ชุดระบบป้อนตดั (Cutting Feed System) 27 ข้อควรระวงั ในการใช้งานและการบารุงรักษาเครื่องกลงึ 1) ผปู้ ฏิบตั ิงานตอ้ งแต่งกายใหเ้ รียบร้อยรัดกมุ เพื่อความปลอดภยั 2) ศึกษาระบบการทางานของเคร่ืองกลึงใหเ้ ขา้ ใจโดยละเอียด 3) การทางานตอ้ งมีแสงสวา่ งท่ีเพียงพอ 4) ขณะทางานอยา่ พดู คุยหรือหยอกลอ้ เล่นกนั โดยเดด็ ขาด 5) ก่อนเร่ิมทางานจะตอ้ งตรวจสภาพของเครื่องกลึงใหพ้ ร้อมทางาน

16) การวดั ขนาดชิ้นงานจะตอ้ งรอใหเ้ คร่ืองกลึงหยดุ ก่อนเสมอ7) อยา่ ใชเ้ ศษผา้ และแปรงลวดปัดเศษโลหะ8) อยา่ ใส่ประแจ (Key Chuck) หรือเครื่องมืออ่ืนไวบ้ นหวั จบั โดยเดด็ ขาด9) หา้ มเปลี่ยนความเร็วตดั ขณะเคร่ืองทางาน10) ควรมีการต้งั ศูนยข์ องเครื่องกลึงก่อนการทางานเสมอ11) เมื่อเลิกใชง้ านแลว้ ควรมีการทาความสะอาดและชโลมน้ามนั ใหเ้ รียบร้อย 28

19. เคร่ืองเลื่อยกล เครื่องเล่ือยกล (Power Hacksaw) เป็นเคร่ืองจกั รท่ีใชใ้ นการตดัใหโ้ ลหะชิ้นงานขาดออกเป็นสองท่อนเพ่อื ใหไ้ ดช้ ิ้นงานตามขนาดที่ตอ้ งการข้อควรระวงั ในการใช้งานและการบารุงรักษาเครื่องเล่ือยกล1) ผปู้ ฏิบตั ิงานจะตอ้ งตรวจดูสภาพของเคร่ืองเลื่อยกลใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ีพร้อมใชง้ าน2) การจบั ยดึ ชิ้นงานจะตอ้ งจบั ยดึ ชิ้นงานใหแ้ น่น3) การติดต้งั ใบเลื่อยจะตอ้ งดูทิศทางของคมตดั ใหถ้ ูกตอ้ ง4) ขณะทาการเล่ือยจะตอ้ งมีการหล่อเยน็ ชิ้นงานและใบเล่ือยตลอดเวลา5) เม่ือเลิกทางานจะตอ้ งทาความสะอาดเคร่ืองและชโลมน้ามนั ใหเ้ รียบร้อย 29

110. การบารุงรักษาและเกบ็ รักษาเคร่ืองมือและเครื่องมือกลเบื้องต้น10.1 เคร่ืองมือที่ผปู้ ฏิบตั ิงานใชเ้ สร็จแลว้ ควรทาความสะอาด แลว้ ชโลมน้ามนับริเวณจุดหมุนและบริเวณที่จะเกิดสนิมปริมาณบางๆ แลว้ เกบ็ เขา้ ท่ี10.2 เคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ เมื่อเลิกใชง้ านควรปิ ดสวิตชแ์ ละเมนสวิตชใ์ หเ้ รียบร้อย10.3 เคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ ก่อนการใชง้ านควรตรวจสอบความพร้อมของเคร่ือง10.4 เคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ เม่ือเลิกใชง้ านควรทาความสะอาด แลว้ ชโลมน้ามนับริเวณจุดหมุนหรือบริเวณท่ีจะเกิดสนิมใหเ้ รียบร้อย 30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook