Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนที่1-14 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง2104

แผนที่1-14 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง2104

Published by chaisombat2535, 2017-08-05 22:34:31

Description: แผนที่1-14 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง2104

Search

Read the Text Version

1 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 1 หนวยท่ี 1 ช่ือวิชา วงจรไฟฟากระแสตรง รหสั วชิ า 2104–2002 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชือ่ หนวย ความรพู ้นื ฐานเกย่ี วกับวงจรไฟฟา สอนครง้ั ที่ 1–2/18ชอื่ เรื่อง พื้นฐานไฟฟากระแสสลบั จํานวน 8 คาบหัวขอเรอื่ ง1.1 อะตอม 1.2 ประจุไฟฟา1.3 แรงดนั ไฟฟา 1.4 กระแสไฟฟา1.5 ความตา นทานไฟฟา 1.6 วงจรไฟฟา เบอื้ งตน1.7 การวดั ทางไฟฟา 1.8 สรุปสาระสาํ คญัสมรรถนะยอ ย1. แสดงความรูพ ื้นฐานเก่ียวกับวงจรไฟฟา กระแสตรง2. ปฏิบัตกิ ารตอ วงจร วดั และทดสอบคา แรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟา เกย่ี วกบั เซลลไ ฟฟาจุดประสงคการปฏบิ ัติดา นความรู1. อธบิ ายความหมายและองคประกอบของอะตอม 2. อธิบายการเกดิ อเิ ล็กตรอนอสิ ระ3. บอกการเกดิ ไอออนบวกและไอออนลบ 4. บอกประเภทของสาร5. คํานวณประจไุ ฟฟา 6. อธบิ ายความสัมพันธข องแรงดันไฟฟา พลังงานไฟฟา และประจไุ ฟฟา7. คํานวณแรงดนั ไฟฟา 8. อธิบายความหมายของเซลลก ัลวานกิ9. คํานวณชว งเวลาใชงานของแบตเตอร่ี 10. อธบิ ายความสมั พนั ธข องกระแสไฟฟา ประจุไฟฟา และเวลา11. คํานวณกระแสไฟฟา 12. อธิบายความหมายของความตา นทานไฟฟา13. คํานวณคา ความนาํ ไฟฟา 14. บอกชนิดของตัวตานทานและยกตวั อยา ง15. อานคา รหัสแถบสีและรหสั ตวั เลขตัวอกั ษรของตัวตา นทาน16. บอกองคประกอบของวงจรไฟฟา 17. อธบิ ายวิธีการวดั แรงดนั ไฟฟาในวงจรไฟฟา18. อธบิ ายวิธกี ารวดั กระแสไฟฟา ในวงจรไฟฟา 19. อธบิ ายวิธีการวดั ความตานทานในวงจรไฟฟา ดานทักษะ 2. ตอ เซลลไ ฟฟา แบบขนาน 4. ใชมลั ตมิ ิเตอรว ัดคา แรงดนั ไฟฟา และ1. ตอเซลลไฟฟา แบบอนกุ รม3. ตอเซลลไฟฟา แบบผสม กระแสไฟฟา

2 ดานคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา นความสนใจใฝรู การตรงตอเวลา ความซ่ือสัตย สุจริต ความมนี ํา้ ใจและแบงบันความรว มมือ/ยอมรบั ความคดิ เห็นสว นใหญเนื้อหาสาระ 1.1 อะตอม อะตอม ประกอบดวยอนุภาคท่ีเล็กลงไปอีกซึ่งเปนส่ิงท่ีมีความสําคัญทางไฟฟา อนุภาคนี้คืออิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน สวนตรงกลางของอะตอมเรียกวา นิวเคลียส ประกอบดวยประจุไฟฟาที่เปนบวก เรียกวา โปรตอน และประจุไฟฟาท่ีเปนกลางทางไฟฟา (หรือไมมีประจุไฟฟา) เรียกวา นิวตรอนสวนอิเลก็ ตรอนจะเปน ประจุไฟฟาลบ 1.2 ประจุไฟฟา ประจุไฟฟามี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟาบวก ไดแก โปรตอน และประจุไฟฟาลบ ไดแก อิเล็กตรอนทัง้ โปรตอนและอเิ ลก็ ตรอนมปี ระจุไฟฟาเทา กนั คอื 1.6 ×10–19 คลู อมบ 1.3 แรงดันไฟฟา แรงดันไฟฟา คือ ความตางศักยไฟฟาที่เกิดข้ึนระหวางจุดสองจุด ความตางศักยไฟฟามีหนวยเปน โวลต (Volt) ถาแทนความตางศักยไฟฟาระหวางจุดสองจุดในวงจรไฟฟาดวยคาของแรงดันไฟฟา ความตางของคาที่ไดนี้คือ แรงดันไฟฟา ซึ่งเปนแรงท่ีเกิดจากพลังงานไฟฟา และเปนแรงดันที่ทําใหเกิดการเคลอื่ นที่ของประจไุ ฟฟา ขั้วหรือทิศทางของแรงดันไฟฟานั้นจะกําหนดใหมีทิศทางจากศักยไฟฟาตํ่าไปสูจุดศักยไฟฟาสูง ดังนั้นเซลลไฟฟาจะกําหนดทิศทางเปนมาตรฐานตามทิศทางกระแสไฟฟาทั่วไป และแรงดันไฟฟาตกครอ มจะมีทศิ ทางตรงกันขา มกับทิศทางของกระแสไฟฟาท่ไี หลผานโหลดนัน้ แหลงกําเนิดแรงดันไฟฟา (Sources of Voltage) คือ แหลงพลังงานไฟฟากระแสตรงที่สามารถจายพลังงานไฟฟาใหกับเคร่ืองใชไฟฟาได แหลงกําเนิดไฟฟากระแสตรงท่ีใชอยูท่ัวไป คือ ถานไฟฉายแบตเตอรี่ เซลลแสงอาทิตย เครือ่ งกาํ เนดิ ไฟฟาและเพาเวอรซ พั พลาย 1.4 กระแสไฟฟา กระแสไฟฟาเกิดจากการเคล่ือนท่ีของประจุไฟฟาในตัวนําไฟฟา ประจุไฟฟาที่เคล่ือนที่ คืออิเล็กตรอน การกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟาท่ีเปนมาตรฐานคือ ทิศทางการเคลื่อนท่ีของประจุบวกหรือทศิ ทางกระแสไฟฟาทว่ั ไป ซ่ึงมที ิศทางตรงกนั ขามกบั ทศิ ทางกระแสไฟฟา อิเล็กตรอน ประจุไฟฟามีหนวยเปน คูลอมบ (C) แรงดันไฟฟามีหนวยเปน โวลต (V) กระแสไฟฟามีหนวยเปนแอมแปร (A) ความจุพลังงานของแบตเตอรี่มีหนวยเปน แอมแปร–ช่ัวโมง (Ah) และพลังงานไฟฟา หนวยเปน จลู (J)

3 1.5 ความตานทานไฟฟา ความตานทานไฟฟา 1 โอหม คือ ความตานทานไฟฟาของสารท่ียอมใหกระแสไฟฟาไหลผาน1 แอมแปร เม่ือปอนแรงดันไฟฟาตกครอมตัวตานทานน้ันเทากับ 1 โวลต มีหนวยวัดเปน โอหม (Ohm)ใชส ัญลักษณอักษรกรกี เรียกวา โอเมกา แทนดวย “Ω” ตัวตานทานแบงออกเปน 2 ชนิด คือ ชนิดคาคงที่และชนิดท่ีเปล่ียนแปลงคาได ตัวตานทานคาคงท่ี เชน ตัวตานทานแบบถาน แบบฟลม และแบบไวรวาวด เปนตน สวนตัวตานทานที่เปล่ียนแปลงคาแบงเปนตัวตานทานเปล่ียนแปลงคาไดดวยมือ คือ โพเทนชิออมิเตอร และรีโอสแตด และตัวตานทานเปลีย่ นแปลงคาไดอ ตั โนมัติ มอี ยู 2 ชนิดคอื เทอรมสิ เตอร และโฟโตคอนดกั ตีฟเซลล ตวั ตานทานชนิดคา คงที่จะอานคา โดยใชรหัสแถบสี และรหัสตัวเลขตวั อกั ษร 1.6 วงจรไฟฟา เบอ้ื งตน วงจรไฟฟาจะประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ แหลงจายไฟฟา (Source) ตัวนําไฟฟา (Wire)และภาระทางไฟฟา (Load) และจะตองใหค วามสําคัญกบั แรงดนั ไฟฟา กอ นกระแสไฟฟา 1.7 การวดั ทางไฟฟา แอมมิเตอรใชวัดกระแสไฟฟา โดยตอ อนุกรมกบั โหลดทต่ี องการวัด โวลตม เิ ตอรใ ชวัดแรงดนั ไฟฟา โดยตอครอม (ขนาน) กับโหลดทต่ี องการวดั โอหมมิเตอรใ ชว ดั ความตา นทานไฟฟา โดยตอ ครอม (ขนาน) กับโหลดที่ตองการวัดและโหลดนนั้ ตอ งไมม ีกระแสไฟฟา ไหลผา นกจิ กรรมการเรยี นรู (ครงั้ ที่ 1/18, คาบที่ 1–4/72) 1. ครูช้ีแจงรายละเอียดเก่ียวกับจุดประสงค สมรรถนะและคําอธิบายรายวิชา การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี น คุณลักษณะนิสยั ทีต่ องการใหเ กิดขน้ึ และขอตกลงในการเรียน 2. นักเรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรียนหนวยที่ 1 3. แบง กลมุ นกั เรยี นเปน กลมุ ๆ ละ 4-5 คน และครใู หห นังสอื เรยี น 4. ขนั้ M ครูนําเขา สูบทเรยี น และครูแจงจุดประสงคก ารเรยี น 5. ข้ัน I ครสู อนเน้ือหาสาระทัง้ หมด โดยบรรยาย ถามตอบประกอบสื่อเพาเวอรพอยดและของจริง 6. ข้ัน A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุม ๆ ละ 1 ขอ ตามความสมัครใจ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตการทํางานกลุม 7. ข้นั P ครแู ละนกั เรยี นรว มกันเฉลยแบบฝกหดั ตามกลมุ และรวมอภิปรายสรปุ บทเรียน 8. ครูมอบหมายใหท าํ แบบฝก หดั ขอ ที่เหลือจากการทาํ ในช้ันเรียนเปนการบาน 9. ครูและนักเรียนรวมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณและซอมแซมท่ีชํารุดเพ่ือเตรียมการนําไปทดลอง

4กิจกรรมการเรียนรู (ครั้งท่ี 2/18, คาบท่ี 5–8/72) 1. ครูขานช่ือนักเรยี น 2. ครูทบทวนเน้ือหา จากการสอนคร้ังท่ี 1 โดยการถามตอบและยกตัวอยางของจริงและนักเรียนสงการบาน 3. ขน้ั M ครูนาํ เขาสูบ ทเรยี น และครูแจง จุดประสงคก ารเรียน 4. ขั้น I ครูสอนเน้ือหาสาระเก่ียวกับการใชมัลติมิเตอร โดยบรรยาย ถามตอบประกอบส่ือเพาเวอรพอยดแ ละของจรงิ 5. ขั้น A นักเรียนทําตามใบงานท่ี 1 เร่ืองเซลลไฟฟาและการวัดทางไฟฟา เปนกลุม ขณะนักเรียนทําการทดลองครจู ะสังเกตการทาํ งานกลุมและประเมินผล 6. ขนั้ P นักเรยี นนําเสนอผลการทดลอง เปน รายกลมุ และรวมสรุปผล 7. นักเรียนเกบ็ เครื่องมือและทาํ ความสะอาดหองเรียน 8. นกั เรียนทดสอบหลงั เรยี นหนวยท่ี 1ส่อื และแหลง การเรยี นรู 1. ส่ือการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยที่ 1, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลงั เรยี น 2. แหลง การเรียนรู หนงั สือ วารสารเกย่ี วกบั วงจรไฟฟา , อนิ เทอรเ นต็ www.google.comการวดั และการประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใชเคร่ืองมือ) (นําผลเทียบกบั เกณฑและแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอ นเรยี น (Pre–test) หนว ยท่ี 1 (ไวเ ปรยี บเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรยี น)2. แบบสงั เกตการทํางานกลมุ และนาํ เสนอผลงานกลุม เกณฑผา น 60%3. แบบฝก หดั หนวยท่ี 1 เกณฑผา น 50%4. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว ยที่ 1 เกณฑผ า น 50%5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผาน 60%งานทม่ี อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเวลาเรยี น ใหทําแบบฝกหดั ขอ ทีเ่ หลอื จากในชนั้ เรยี นใหเรยี บรอ ย ถกู ตองสมบูรณ

5ผลงาน/ช้ินงาน/ความสําเรจ็ ของผูเรยี น 1. ผลการทําและนําเสนอแบบฝก หัดหนว ยท่ี 1 และผานเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานที่ 1 เรอื่ งเซลลไฟฟา และการวดั ทางไฟฟา และผานเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนวยท่ี 1 และผา นเกณฑเอกสารอา งองิ 1. ธาํ รงศักด์ิ หมินกาหรมี . วงจรไฟฟากระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002. (2556). นนทบรุ :ี ศูนยหนงั สือเมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course. 5. . (2005). Introductory DC/AC Circuits 6. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals. 7. Robbins, Allan H. & Miller, Wilhelm C. (2004). Circuit Analysis with Devices: Theory and Practice.

6บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแผนการจัดการเรยี นรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรยี นของนักเรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปญ หาทพี่ บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกปญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชอื่ ............................................... ลงชอ่ื ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนกั เรียน ครผู สู อน

7 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 2 หนว ยที่ 2 ชอื่ วิชา วงจรไฟฟากระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002 เวลาเรียนรวม 72 คาบ ชอ่ื หนวย กฎของโอหม กาํ ลังงานและพลงั งาน สอนครงั้ ท่ี 3/18ชื่อเรอ่ื ง กฎของโอหม กําลงั งานและพลงั งาน จํานวน 4 คาบหัวขอเรอื่ ง 2.1 กฎของโอหม 2.2 การประยกุ ตใ ชก ฎของโอหม 2.3 กาํ ลงั งานและพลงั งาน 2.4 กําลังไฟฟา ในวงจรไฟฟา 2.5 อตั รากําลังไฟฟาของตวั ตา นทาน 2.6 สรุปสาระสาํ คัญสมรรถนะยอ ย 1. แสดงความรเู ก่ยี วกบั กฎของโอหม กําลงั งานและพลังงาน 2. ปฏบิ ตั กิ ารตอ วงจร วดั และทดสอบคา ตามกฎของโอหมจดุ ประสงคการปฏบิ ตั ิ ดานความรู 1. อธิบายกฎของโอหม 2. คาํ นวณคา ในวงจรไฟฟาโดยใชก ฎของโอหม 3. อธิบายกําลังงานและพลงั งาน 4. คาํ นวณกําลงั งานและพลงั งานตามโจทยก ําหนด 5. คํานวณกาํ ลงั ไฟฟา ในวงจรไฟฟา ตามโจทยก ําหนด 6. เลือกใชอ ัตรากําลงั ไฟฟาของตวั ตา นทาน ดา นทกั ษะ 1. ตอวงจรการทดลองกฎของโอหม 2. วัดแรงดนั ไฟฟา ตามการทดลองกฎของโอหม 3. วัดกระแสไฟฟา ตามการทดลองกฎของโอหม 4. บนั ทกึ ขอ มลู ในการทดลองกฎของโอหม 5. วิเคราะหข อมูลในการทดลองกฎของโอหม 6. เขยี นสรปุ ผลการทดลองกฎของโอหม ดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แสดงออกถงึ การตรงตอเวลา ความสนใจใฝรู ไมหยดน่งิ ทจ่ี ะแกป ญหา ความซื่อสัตย ความรว มมือเนอ้ื หาสาระ 2.1 กฎของโอหม กฎของโอหม (Ohm’s Law) ซ่ึงกลาววา “ในวงจรไฟฟาใด ๆ กระแสไฟฟาจะแปรผันตรงกับแรงดันไฟฟาและแปรผกผันกับความตานทานไฟฟา” ซ่ึงเปนกฎพื้นฐานที่มีประโยชนมากในทางไฟฟาและสามารถนํามาประยกุ ตใชไ ดดีกับความตา นทานทเี่ ปนเชงิ เสน เชน ตวั ตา นทานแบบถาน เปน ตน

8 กฎของโอหมจะอธิบายถึงความสัมพันธของกระแสไฟฟา แรงดันไฟฟา และความตานทานไฟฟา เปนไปตามสูตร I = E/R, R = E/I และ E = I × R 2.2 การประยกุ ตใ ชกฎของโอหม การประยุกตใชกฎของโอหม จะตองระมัดระวังในเรื่องปริมาณที่เปนอุปสรรค เนื่องจากคาในวงจรไฟฟา มมี ากมายหลายขนาดจึงตอ งแปลงคาใหส ามารถคํานวณไดงา ย 2.3 กําลงั งานและพลังงาน กาํ ลงั งาน คอื อัตราเวลาของการทํางาน เปนไปตามสูตร P = W/t มีหนวยเปน จูลตอวินาที หรือวตั ต หรือ ฟุต–ปอนดตอ วนิ าที ซง่ึ ขึน้ อยูก บั ระบบที่ใชเรียก พลงั งาน คือ ความสามารถในการทาํ งานหรอื กําลงั งานทใ่ี ชไ ปใน 1 หนวยเวลา เปน ไปตามสูตรW = P × t มีหนวยเปน จูล และหนวยเรียกของ “พลังงานไฟฟา” หรือหนวยการใชไฟฟานิยมเรียกวากิโลวัตต–ช่ัวโมง หรือ ยูนิต หมายถึง พลังงานไฟฟาที่เกิดจากการใชกําลังไฟฟา 1,000 วัตต เปนเวลา1 ช่ัวโมง 2.4 กาํ ลงั ไฟฟา ในวงจรไฟฟา กําลังไฟฟา ที่สูญเสียไปบนตัวตา นทานจะกระจายออกมาในรูปความรอน โหลดอ่ืนท่ีเปนความตานทาน เชน หลอดไฟฟาจะกระจายในรูปความรอนรวมกับแสงสวาง การคํานวณคากําลังไฟฟาท่ีกระจายออกมาในรูปความรอนจะคํานวณเชนเดียวกับกําลังไฟฟาท่ัวไปตามสูตร P = E × I, P = E2/R และ P = I2/Rมหี นว ยเปน วัตต 2.5 อัตรากําลังไฟฟา ของตวั ตานทาน การเลือกใชขนาดของตัวตานทานจะข้ึนอยูกับอัตราการทนตอกําลังไฟฟาที่สูญเสียไปบนตัว–ตานทานนัน้ และควรใชคาอัตรากําลงั ไฟฟามากกวาคา กาํ ลงั ไฟฟา ท่คี าํ นวณไดกิจกรรมการเรยี นรู (สปั ดาหท ่ี 3/18, คาบท่ี 9–12/72) 1. ครทู บทวนเนือ้ หาการสอนเรอื่ ง วงจรไฟฟาเบื้องตน 2. นักเรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี นหนว ยท่ี 2 3. แบงกลุม นกั เรียนเปน กลมุ ๆ ละ 4-5 คน 4. ขัน้ M ครนู ําเขา สบู ทเรยี น และครูแจง จดุ ประสงคการเรยี น 5. ขน้ั I ครสู อนเนอ้ื หาสาระ 6. ขั้น A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตการทาํ งานกลุม 7. ข้ัน P นักเรียนทดลองตามใบงานท่ี 2 เร่ือง กฎของโอหม ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยแบบฝกหัดตามกลุม และรว มอภปิ รายผลจากการทดลอง 8. นักเรียนทําแบบทดสอบหลงั เรยี นหนวยท่ี 2

9ส่ือและแหลง การเรียนรู 1. ส่ือการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 2, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลังเรียน 2. แหลง การเรียนรู หนงั สือ วารสารเกยี่ วกบั กฎของโอหม กําลงั งานและพลงั งาน, อนิ เทอรเนต็www.google.comการวัดและการประเมนิ ผล การวัดผล การประเมินผล (ใชเ ครื่องมอื ) (นําผลเทียบกบั เกณฑแ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอนเรยี น (Pre–test) หนว ยที่ 2 (ไวเ ปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรียน)2. แบบสังเกตการทาํ งานกลมุ และนําเสนอผลงานกลุม เกณฑผา น 60%3. แบบฝกหดั หนว ยที่ 2 เกณฑผาน 50%4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว ยท่ี 2 เกณฑผ าน 50%5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผ าน 60%งานทมี่ อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหทาํ แบบฝก หัดขอ ท่เี หลือจากทาํ ในชน้ั เรยี นใหเ รียบรอยถกู ตอ ง สมบรู ณผลงาน/ชิ้นงาน/ความสําเร็จของผเู รียน 1. ผลการทาํ และนําเสนอแบบฝก หดั หนว ยท่ี 2 และผานเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานท่ี 2 เรอ่ื งกฎของโอหม และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนวยท่ี 2 และผา นเกณฑเอกสารอา งองิ 1. ธาํ รงศกั ด์ิ หมนิ กาหรีม. วงจรไฟฟา กระแสตรง รหัสวชิ า 2104–2002. (2556). นนทบุร:ี ศนู ยหนังสือเมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course. 5. . (2005). Introductory DC/AC Circuits 6. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals.

10บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่อื ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผูสอน

11 แผนการจัดการเรยี นรูท ี่ 3 หนว ยที่ 3 ช่อื วชิ า วงจรไฟฟา กระแสตรง รหสั วชิ า 2104–2002 เวลาเรียนรวม 72 คาบ ชื่อหนว ย วงจรอนุกรม สอนครง้ั ที่ 4/18ชื่อเร่ือง วงจรอนุกรม จาํ นวน 4 คาบหวั ขอ เรอ่ื ง3.1 การตอ ตัวตานทานแบบอนุกรม 3.2 กระแสไฟฟา ในวงจรอนกุ รม3.3 ความตา นทานรวมในวงจรอนกุ รม 3.4 กฎของโอหมในวงจรอนกุ รม3.5 การตอเซลลไ ฟฟาอนกุ รม 3.6 กฎแรงดนั ไฟฟา ของเคอรช อฟฟใ นวงจรอนุกรม3.7 กฎการแบง แรงดันไฟฟา ในวงจรอนกุ รม 3.8 กาํ ลงั ไฟฟา ในวงจรอนุกรม3.9 สรปุ สาระสําคญัสมรรถนะยอ ย1. แสดงความรเู กยี่ วกบั วงจรอนุกรม2. ปฏบิ ัตกิ ารตอ วงจร วดั และทดสอบคาในวงจรอนุกรมจุดประสงคการปฏบิ ตั ิดา นความรู1. บอกความหมายของการตอ ตัวตานทานแบบอนกุ รม2. บอกคณุ สมบัติของกระแสไฟฟา ในวงจรอนกุ รม3. คํานวณความตา นทานรวมในวงจรอนกุ รม4. อธบิ ายกฎของโอหม ในวงจรอนกุ รม5. คาํ นวณวงจรอนกุ รมโดยใชก ฎของโอหม6. อธิบายผลของการตอ เซลลไฟฟาอนุกรม7. อธิบายกฎแรงดันไฟฟาของเคอรชอฟฟในวงจรอนุกรม8. คาํ นวณวงจรอนกุ รมโดยใชกฎแรงดันไฟฟาของเคอรชอฟฟ9. คาํ นวณวงจรอนุกรมโดยใชกฎการแบงแรงดันไฟฟา10. คํานวณกาํ ลงั ไฟฟา ในวงจรอนกุ รมดา นทักษะ 2. วดั ความตา นทานทต่ี อแบบอนกุ รม 4. วัดกระแสไฟฟาในวงจรอนกุ รม1. ตอตัวตา นทานแบบอนกุ รม3. วดั แรงดันไฟฟาในวงจรอนุกรม5. บนั ทึกขอ มลู ตามการทดลอง 6. เปรียบเทียบขอ มูลในการทดลอง7. เขยี นสรุปผลการทดลอง

12 ดานคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แสดงออกถึงความมวี นิ ัย ความมมี นษุ ยสมั พันธ ความรับผิดชอบและความเช่ือมนั่ ในตนเองเนือ้ หาสาระ 3.1 การตอตัวตา นทานแบบอนกุ รม การตอตัวตานทานแบบอนุกรม คอื การนาํ เอาตัวตานทานต้ังแต 2 ตัวข้ึนไปมาตอเรียงลําดับกันแสดงดังรูป ตัวตานทานนํามาตอเรียงกันในเสนเดียวกันโดยที่ขั้วปลายหน่ึงของตัวตานทานตัวท่ี 1 ตอกับขั้วตนหนึ่งของตัวตานทานท่ี 2 ขั้วปลายท่ีเหลือของตัวตานทานที่ 2 ตอกับขั้วตนหนึ่งของตัวตานทานตัวตอไป ซ่ึงจะตอ แบบน้ีเรยี งกนั ไปเรือ่ ย ๆ ก) การตอตวั ตานทานแบบอนุกรมแสดงเปนรูปเสมือน ข) การตอตวั ตา นทานแบบอนุกรมแสดงเปนสญั ลักษณ รูป ตวั ตานทาน 3 ตัวตอแบบอนกุ รม 3.2 กระแสไฟฟา ในวงจรอนกุ รม กระแสไฟฟา ในวงจรอนุกรมมีเพียงคาเดียวทีไ่ หลผา นตัวตา นทานทกุ ตัว IT = I1 = I2 = I3 = … มหี นว ยเปน แอมแปร (A) 3.3 ความตานทานรวมในวงจรอนุกรม ความตานทานรวมในวงจรอนุกรมจะเทากับผลรวมของความตานทานของตัวตานทานทุกตัวเขยี นเปนสมการไดด งั สมการ RT = R1 + R2 + R3 + … + Rn มีหนวยเปน โอหม (Ω) 3.4 กฎของโอหม ในวงจรอนกุ รม การหากฎของโอหมโดยอาศัยสามเหล่ียมกฎของโอหม ดังรูป ซึ่งจะชวยใหเกิดการประยุกตใชและจําสตู รไดด ี

13 V E =I×R IR EI = ER E IR E R = E IR IR I รปู การใชสามเหล่ยี มกฎของโอหม เมือ่ ตอ งการหาคาใดก็ปด คา นั้น3.5 การตอเซลลไฟฟา อนุกรม การตอแหลง จายแรงดนั ไฟฟาอนุกรม แสดงตัวอยางดงั รปูก) เซลลไฟฟา ตอ แบบอนุกรมในไฟฉาย ข) วงจรไฟฟาของไฟฉาย รูป การตอแหลง จา ยแรงดันไฟฟาอนุกรมจากรปู เขียนผลรวมทางพีชคณิตของแหลง จา ยแรงดนั ไฟฟาแตล ะตวั ไดค อื ET = E1 + E2 + E3 = 1.5 + 1.5 + 1.5 = 4.5 Vถา แหลง จา ยแรงดันไฟฟาท่ีนํามาตออนุกรมที่มีทิศทางหักลางกัน (Series–opposing) แรงดันไฟฟาท่ีมีทิศทางหักลางกนั นน้ั จะลบออกจากกนั แสดงดังรูป 1.5 V 1.5 V 1.5 V 1.5 V E1 E2 E3 รูป แรงดนั ไฟฟาท่มี ที ิศทางหักลา งกันจะลบออกจากกนัจากรูป เขยี นผลรวมทางพชี คณิตของแหลง จา ยแรงดนั ไฟฟาแตละตวั ไดค ือ ET = E1 – E2 + E3 = 1.5 – 1.5 + 1.5 = 1.5 V

143.6 กฎแรงดนั ไฟฟา ของเคอรชอฟฟใ นวงจรอนกุ รม กฎแรงดนั ไฟฟา ของเคอรชอฟฟ อธิบายไดดงั น้ี . รูป ประกอบการอธบิ ายกฎแรงดนั ไฟฟาของเคอรช อฟฟ จากรูป เขียนสมการผลรวมทางพชี คณิตของแรงดนั ไฟฟา ในวงจรไฟฟาปด ใด ๆ จะเทา กบั ศนู ย ไดดงัสมการ E = V1 + V2 + V3 + …+ Vn หรือ E – V1– V2 – V3 – … – Vn = 0 3.7 กฎการแบง แรงดนั ไฟฟาในวงจรอนุกรม กฎการแบงแรงดันไฟฟามีที่มาจากกฎของเคอรชอฟฟที่กลาววา ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันไฟฟาในวงปดใด ๆ มีคาเทากับศูนย เม่ือพิจารณารูป จะเห็นวาคาความตานทานไฟฟารวม RT = 150โอหม เปน ผลใหมีกระแสไฟฟา ไหลในวงจร I = 66.7 มลิ ลิแอมแปร โดยคํานวณตามกฎของโอหม และ R1 มีแรงดันไฟฟาตกครอมเทากับ 3.33 โวลต และ R2 มีแรงดันไฟฟาตกครอม 6.67 โวลต จะไดผลรวมของแรงดนั ไฟฟา คอื E = 10 V = 3.33 V + 6.67 V (Floyd, Thomas L., 2001: 142)ก) แรงดนั ไฟฟา ระหวาง 2 ขวั้ นี้ ข) การคาํ นวณแรงดนั ไฟฟา ตกครอ มใชแทนสัญลักษณข องแบตเตอรี่ ไดตามกฎการแบงแรงดันไฟฟา รูป การใชกฎการแบง แรงดนั ไฟฟา

153.8 กาํ ลงั ไฟฟา ในวงจรอนุกรม P = E×I เมอื่ P แทน กําลังไฟฟา มหี นว ยเปน วัตต (W) และแทน E แทน แรงดันไฟฟา มหี นว ยเปนโวลต (V) และ I แทน กระแสไฟฟา มีหนว ยเปน แอมแปร (A) เม่ือประยุกตสมการโดยแทน I = E/R จะหาคากําลังไฟฟาไดดังสมการตอไปE = I ×R จะหาคา กําลงั ไฟฟา ไดดงั สมการคอื (ทบทวนจากหัวขอ 2.4 ในหนว ยที่ 2)P = E2 Rและ P = I2 × R ในวงจรอนุกรมกําลังไฟฟารวมของวงจรจะเทากับผลรวมของกําลังไฟฟาที่ตัวตานทานแตละตัวเขียนเปน สมการไดด งั สมการที่ 3.12 PT = P1 + P2 + P3 + … + Pnกิจกรรมการเรยี นรู (สัปดาหที่ 4/18, คาบที่ 13–16/72) 1. ครขู านชือ่ ผูเรียน เตรยี มความพรอ มกอ นเขา เรียน 2. ครทู บทวนเน้อื หาการสอนเรือ่ ง กฎของโอหม และกาํ ลงั ไฟฟา 3. นักเรียนทาํ แบบทดสอบกอ นเรียนหนวยท่ี 3 4. ขนั้ M ครนู าํ เขาสบู ทเรียนเร่อื งการตอ อนกุ รม และครูแจงจุดประสงคก ารเรียน 5. ขั้น I ครสู อนเนอื้ หาสาระ 6. ข้ัน A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตการทํางานกลมุ 7. ข้ัน P นักเรียนทดลองตามใบงานท่ี 3 เรื่อง วงจรอนุกรมและกฎแรงดันไฟฟาของเคอรชอฟฟ ครูและนกั เรยี นรว มกนั เฉลยแบบฝก หดั ตามกลุม และรว มอภปิ รายผลจากการทดลอง 8. ครูมอบหมายการบาน 9. นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบหลังเรยี นหนวยท่ี 3

16สือ่ และแหลงการเรียนรู 1. ส่ือการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 3, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลังเรยี น 2. แหลง การเรยี นรู หนงั สอื วารสารเกีย่ วกับวงจรอนกุ รม, อนิ เทอรเ นต็ www.google.comการวัดและการประเมินผล การวดั ผล การประเมินผล (ใชเคร่อื งมอื ) (นาํ ผลเทยี บกบั เกณฑแ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอนเรยี น (Pre–test) หนว ยท่ี 3 (ไวเปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรียน)2. แบบสังเกตการทาํ งานกลมุ และนาํ เสนอผลงานกลมุ เกณฑผ า น 60%3. แบบฝก หัดหนวยท่ี 3 เกณฑผ าน 50%4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว ยท่ี 3 เกณฑผา น 50%5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผาน 60%งานที่มอบหมาย งานทีม่ อบหมายนอกเหนอื เวลาเรยี น ใหท าํ แบบฝก หดั ขอ ที่เหลอื จากทาํ ในชั้นเรยี นใหเรยี บรอยถูกตอง สมบูรณผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสําเรจ็ ของผูเรยี น 1. ผลการทาํ และนาํ เสนอแบบฝก หดั หนว ยที่ 3 และผา นเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานท่ี 3 เรื่องวงจรอนกุ รมและกฎแรงดันไฟฟา ของเคอรช อฟฟ และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนวยที่ 3 และผานเกณฑเอกสารอางอิง 1. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. วงจรไฟฟา กระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002. (2556). นนทบรุ :ี ศนู ยห นังสอื เมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course. 5. . (2005). Introductory DC/AC Circuits 6. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals.

17บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่อื ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผูสอน

18 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 4 หนวยที่ 4 ช่ือวิชา วงจรไฟฟา กระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอื่ หนว ย วงจรขนาน สอนครั้งท่ี 5/18ชอ่ื เรื่อง วงจรขนาน จาํ นวน 4 คาบหัวขอเร่อื ง4.1 การตอตัวตานทานแบบขนาน 4.2 แรงดันไฟฟาในวงจรขนาน4.3 ความตา นทานไฟฟา รวมและความนําไฟฟา รวมในวงจรขนาน4.4 กฎของโอหมในวงจรขนาน 4.5 การตอ เซลลไฟฟา ขนาน4.6 กฎกระแสไฟฟา ของเคอรช อฟฟในวงจรขนาน4.7 กฎการแบงกระแสไฟฟาในวงจรขนาน 4.8 กําลงั ไฟฟา ในวงจรขนาน4.9 สรุปสาระสําคญัสมรรถนะยอ ย1. แสดงความรเู ก่ียวกบั วงจรขนาน2. ปฏบิ ัตกิ ารตอวงจร วัด และทดสอบคาในวงจรขนานจุดประสงคการปฏบิ ตั ิดานความรู1. บอกความหมายของการตอ ตัวตา นทานแบบขนาน2. บอกคณุ สมบตั ขิ องแรงดนั ไฟฟา ในวงจรขนาน3. คาํ นวณความตา นทานรวมในวงจรขนาน4. คาํ นวณความนํารวมในวงจรขนาน5. คํานวณคา ในวงจรขนานโดยใชก ฎของโอหม6. บอกเงอ่ื นไขของการตอ แหลง จา ยแรงดนั ไฟฟาขนาน7. คาํ นวณคาในวงจรขนานโดยใชก ฎกระแสไฟฟาของเคอรชอฟฟ8. คาํ นวณคา ในวงจรขนานโดยใชก ฎการแบง กระแสไฟฟา9. คํานวณกาํ ลงั ไฟฟา ในวงจรขนานดานทกั ษะ1. ตอ ตวั ตา นทานแบบขนาน 2. วดั ความตานทานที่ตอ แบบขนาน3. วัดแรงดนั ไฟฟา ในวงจรขนาน 4. วดั กระแสไฟฟา ในวงจรขนาน5. บนั ทกึ ขอมลู ตามการทดลอง 6. เปรียบเทยี บขอ มลู ในการทดลอง7. เขียนสรุปผลการทดลอง

19 ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกถึงความมีวนิ ัย ความมมี นษุ ยสัมพนั ธ ความ-รับผดิ ชอบและความเช่อื มน่ั ในตนเองเนื้อหาสาระ 4.1 การตอ ตวั ตา นทานแบบขนาน การตอตัวตานทานแบบขนาน หมายถึง การนําเอาตัวตานทานตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปมาตอรวมกันระหวางจุด 2 จุด โดยใหปลายดานหน่ึงของตัวตานทานทุก ๆ ตัวมาตอรวมกันที่จุด ๆ หนึ่ง (ดูจุด X) และใหปลายที่เหลอื อีกดา นหน่ึงของตัวตา นทานทกุ ๆ ตัวมาตอ รวมกันอีกจุดท่ีเหลือ (ดจู ดุ Y) เสน ทางท่ีขนานกนั ในวงจรเรยี กวา สาขา (Branch) ดงั รูป (Cook, Nigel P., 2004: 116)ก) ข) ค) ง) จ) รูป ตวั อยางการตอตัวตา นทานแบบขนาน4.2 แรงดนั ไฟฟา ในวงจรขนาน แรงดันไฟฟาในวงจรขนาน มคี าเทา กันและเทา กับแรงดนั ท่ีจาย ดังสมการ E = V1 = V2 = V3 = … = Vn4.3 ความตา นทานไฟฟารวมและความนาํ ไฟฟารวมในวงจรขนาน ความนาํ ไฟฟา (G) เปนสว นกลบั ของความตา นทานไฟฟา เขยี นเปน สมการไดด งั สมการG= 1 มหี นว ยเปน ซีเมนส (S) R ความนําไฟฟา รวม (GT) ในวงจรขนานจะเทา กับผลรวมของความนาํ ไฟฟา ของตัวตา นทานแตละตวัGT = G1 + G2 + G3 + … + Gnความตานทานไฟฟารวม (RT) ในวงจรขนานเขียนเปนสมการไดดังสมการท่ี 4.41 = 1 + 1 + 1 + ... + 1RT R1 R2 R3 Rn

20ในกรณีตวั ตานทาน 2 ตัวตอ ขนานกนั คา ความตา นทานรวมของวงจรจะได 1 = 11 RT R1 + R2หรอื RT = R 1+RR2 2 R14.4 กฎของโอหม ในวงจรขนาน เชน I1 = E = VR 11 = 20 = 20 mA R1 1000 4.5 การตอ เซลลไ ฟฟาขนาน เม่ือนําเซลลไ ฟฟา อยา งเชน ถานไฟฉาย หรือแบตเตอรมี่ าตอ แบบขนาน เซลลไฟฟานนั้ จะตองมีแรงดันไฟฟา และความตา นทานภายในเทากัน การตอแบบขนานจะทําใหกระแสไฟฟาไหลมากข้ึน พิจารณาจากรูป เม่อื นาํ แบตเตอรม่ี าตอขนานกัน (Floyd, Thomas L., 2001: 185) รปู แบตเตอรี่ตอ ขนาน รูป แบตเตอรที่ ีม่ ีคา แรงดนั ไฟฟา ตางกันไมควรนํามาตอ ขนานกัน

21 4.6 กฎกระแสไฟฟา ของเคอรชอฟฟในวงจรขนาน กฎกระแสไฟฟาของเคอรชอฟฟ (Kirchhoff’s Current Law: KCL) กลาววา “ผลรวมทางพีชคณติ ของกระแสไฟฟา ณ จุดใด ๆ มีคาเทากับศูนย” หรือจะกลาวไดวา “ผลรวมของกระแสไฟฟาไหลเขาจุดใด ๆ จะเทากับผลรวมของกระแสไฟฟา ไหลออกจากทีจ่ ดุ น้ัน” ดงั รปู I1 = 5 A I5 = 3 A I4 = 4 A I3 = 4 A I2 = 2 A รูป การใชกฎกระแสไฟฟา ของเคอรชอฟฟ ∑Iin = ∑Iout4.7 กฎการแบงกระแสไฟฟาในวงจรขนาน กฎการแบงกระแสไฟฟาสาํ หรบั วงจร 2 สาขา จากกฎของโอหม การจะหากระแสไฟฟาน้ันจะตองทราบคาแรงดันไฟฟาและความตานทานเมือ่ มแี รงดนั ไฟฟาทไี่ มรคู า แตรูค ากระแสไฟฟารวม ก็จะสามารถหากระแสไฟฟา สาขาได (I1 และ I2) โดยใชสมการ ซึง่ เรยี กวา กฎการแบงกระแสไฟฟา ดังนี้I1 = ⎜⎛ R1R+2R 2 ⎟⎞ × IT ⎝ ⎠ สวนทีต่ างกันI2 = ⎜⎛ R1R+1R 2 ⎟⎞ × IT ⎝ ⎠กฎการแบง กระแสไฟฟาสําหรบั วงจรหลาย ๆ สาขาวงจรขนานทม่ี ี n สาขา ดงั รูป (Floyd, Thomas L., 2001: 197)

22การหาคา กระแสไฟฟาในหลาย ๆ สาขาหาไดจ ากสมการ IX = ⎛⎝⎜ R T ⎠⎟⎞ × IT R X เมอ่ื IX แทน กระแสไฟฟา สาขาทตี่ อ งการหาคา IT แทน กระแสไฟฟา รวม RX แทน ความตา นทานไฟฟา สาขาท่ี IX ไหลผา น RT แทน ความตา นทานไฟฟารวม 4.8 กําลังไฟฟาในวงจรขนาน กําลังไฟฟาในวงจรขนานจะเทากับผลรวมของกําลังไฟฟาสูญเสียของตัวตานทานทุกตัวในวงจร (เชน เดยี วกบั วงจรอนกุ รม)PT = P1 + P2 + P3 + … + Pn เมอ่ื PT แทน กาํ ลงั ไฟฟารวม มีหนว ยเปน วตั ต (W) P1 แทน กาํ ลงั ไฟฟาท่ีตวั ตานทาน R1 มีหนว ยเปน วตั ต (W) P2 แทน กาํ ลงั ไฟฟา ท่ตี วั ตา นทาน R2 มหี นว ยเปน วตั ต (W) P3 แทน กาํ ลงั ไฟฟา ทต่ี วั ตา นทาน R3 มหี นว ยเปน วตั ต (W) Pn แทน กําลงั ไฟฟา ที่ตวั ตานทาน Rn มหี นว ยเปน วตั ต (W)และกําลังไฟฟา พืน้ ฐานทจี่ ะประยุกตใ ชในวงจรขนาน (เชน เดียวกบั วงจรอนุกรม) คอืP = E×I = E2 = I2 × R Rกจิ กรรมการเรียนรู (สปั ดาหที่ 5/18, คาบที่ 17–20/72) 1. ครูขานชอื่ ผเู รียน เตรยี มความพรอมกอนเขา เรียน 2. ครูทบทวนเนอ้ื หาโดยยอ เรอื่ ง วงจรอนกุ รม 3. นักเรียนทําแบบทดสอบกอ นเรยี นหนว ยท่ี 4 4. ขนั้ M ครูนาํ เขาสูบ ทเรยี นเรือ่ งการตอขนาน และครแู จง จดุ ประสงคก ารเรยี น 5. ข้ัน I ครสู อนเน้ือหาสาระ 6. ข้ัน A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตการทํางานกลมุ 7. ขั้น P นักเรียนทดลองตามใบงานท่ี 4 เร่ือง วงจรขนานและกฎกระแสไฟฟาของเคอรชอฟฟ ครูและนกั เรยี นรวมกันเฉลยแบบฝกหดั ตามกลุม และรว มอภปิ รายผลจากการทดลอง

238. ครมู อบหมายการบา น9. นกั เรียนทําแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว ยท่ี 4ส่ือและแหลงการเรยี นรู 1. ส่ือการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 4, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรียน และหลังเรียน 2. แหลง การเรยี นรู หนงั สือ วารสารเกยี่ วกบั วงจรขนาน, อินเทอรเ น็ต www.google.comการวดั และการประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใชเ ครื่องมอื ) (นาํ ผลเทยี บกบั เกณฑแ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอ นเรียน (Pre–test) หนว ยที่ 4 (ไวเปรยี บเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรียน)2. แบบสงั เกตการทาํ งานกลมุ และนําเสนอผลงานกลมุ เกณฑผ า น 60%3. แบบฝก หดั หนวยท่ี 4 เกณฑผ า น 50%4. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว ยท่ี 4 เกณฑผ าน 50%5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ า น 60%งานทม่ี อบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนอื เวลาเรียน ใหท าํ แบบฝก หัดขอ ทีเ่ หลือจากทาํ ในชน้ั เรยี นใหเ รยี บรอยถูกตอง สมบรู ณผลงาน/ชิน้ งาน/ความสําเร็จของผูเรียน 1. ผลการทาํ และนําเสนอแบบฝก หดั หนวยที่ 4 และผานเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานที่ 4 เรอ่ื งวงจรขนานและกฎกระแสไฟฟา ของเคอรช อฟฟ และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนวยที่ 3 และผา นเกณฑเอกสารอา งอิง 1. ธาํ รงศกั ดิ์ หมินกา หรีม. วงจรไฟฟากระแสตรง รหสั วชิ า 2104–2002. (2556). นนทบุร:ี ศนู ยห นังสอื เมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course.

24บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่อื ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผูสอน

25 แผนการจดั การเรยี นรูท ี่ 5 หนวยท่ี 5 ชือ่ วิชา วงจรไฟฟา กระแสตรง รหัสวิชา 2104–2002 เวลาเรียนรวม 72 คาบ ช่ือหนวย วงจรผสม สอนคร้งั ที่ 6/18ชื่อเรอ่ื ง วงจรผสม จาํ นวน 4 คาบหัวขอเร่ือง5.1 การตอ ตัวตา นทานแบบผสม 5.2 การวเิ คราะหว งจรผสม5.3 ดเี ทอรมแิ นนต 5.4 กฎของเคอรช อฟฟในวงจรผสม5.5 สรุปสาระสาํ คัญสมรรถนะยอ ย1. แสดงความรูเ กี่ยวกบั วงจรผสม2. ปฏบิ ัติการตอวงจร วดั และทดสอบคา ในวงจรผสมจุดประสงคการปฏิบตั ิดานความรู1. อธิบายความหมายของการตอตวั ตานทานแบบผสม2. คาํ นวณคา ความตานทานไฟฟารวมในวงจรผสม3. คํานวณกระแสไฟฟา ในวงจรผสม4. คาํ นวณแรงดันไฟฟา ในวงจรผสม5. คํานวณคาตาง ๆ ในวงจรผสมโดยใชกฎของเคอรชอฟฟดา นทักษะ1. ตอตัวตานทานแบบผสม 2. วดั ความตานทานทต่ี อแบบผสม3. วดั แรงดนั ไฟฟาในวงจรผสม 4. วดั กระแสไฟฟาในวงจรผสม5. บันทกึ ขอมลู ตามการทดลอง 6. เปรียบเทยี บขอ มูลในการทดลอง7. เขยี นสรุปผลการทดลองดานคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งแสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ความมมี นษุ ยสมั พนั ธ ความรับผิดชอบ แบง ปน และความพงึ พอใจในผลงานของตนเอง

26เน้ือหาสาระ 5.1 การตอตัวตา นทานแบบผสม วงจรผสม จะประกอบดวยเสนทางการไหลของกระแสไฟฟาผสมกันระหวางเสนทางการไหลแบบอนุกรมและเสนทางการไหลแบบขนาน ซึ่งก็คือ การใหความสําคัญถึงความสามารถในการจัดกลุมแยกแยะในวงจรวา กลุมอนุกรมและกลุมขนานมีความสัมพันธกันอยางไร ตัวอยางการตอวงจรผสมของตัวตานทาน ดังรูปท่ี เม่ือจะหาคาความตานทานไฟฟารวมจะเรียกวงจรลักษณะนี้วา วงจรผสมแบบขนาน–อนุกรม AB A R1 B R1 R2 R3 IT I2 I3 C R3 R2 IT R1 ตอ อนุกรมกบั R2 //R3 C ก) การตอ ตัวตานทานแบบขนาน–อนกุ รม ข) เสนทางการไหลของกระแสไฟฟา รูป วงจรผสมแบบขนาน–อนกุ รม การตอตัวตานทานแบบผสม ดังรูป ระหวางจุด A–B น้ัน R4 และ R1 ตออนุกรมกันระหวางจุด B–Cน้นั R2 และ R5 ตอ อนกุ รมกนั แลว นํามาขนานกบั R3 และระหวา งจุด A–C นําไปตอเขากับแหลงจายไฟฟา จะเรยี กวงจรลกั ษณะนวี้ า วงจรผสมแบบขนาน–อนกุ รม (Floyd, Thomas L. 1997: 227) นาํ 2 กลุม นมี้ าอนกุ รมกัน A B R3 R4 R1 R2 R5 R4 และ R1 ตออนกุ รม C R2 และ R5 ตออนุกรม กลมุ นี้ตอขนานกนั รปู วงจรผสมแบบขนาน–อนุกรม การตอตวั ตา นทานแบบผสม ดังรปู ระหวางจุด A–B กลุมแรกประกอบดวย R1, R2 และ R3 ตออนุกรมกัน กลุมที่สองประกอบดวย R4, R5 และ R6 ตออนุกรมกัน และนําท้ัง 2 กลุมมาขนานกันอีกครั้งระหวางจุดA–C และนาํ ไปตอเขากับแหลงจายไฟฟา เรียกวงจรลักษณะนวี้ า วงจรผสมแบบอนกุ รม–ขนาน

27 รปู วงจรผสมแบบอนกุ รม–ขนาน เมื่อวิเคราะหวงจรผสมนั้นพึงระลึกถึงเสนทางการไหลของกระแสไฟฟาท่ีไหลผานตัวตานทานท่ีนํามาตอนั้น โดยประยุกตใชขอกําหนด 2 ขอ คือ 1) กระแสไฟฟารวมจะมีเพียงคาเดียวเทานั้นเมื่อตัวตานทานน้ันนํามาตอแบบอนุกรม และ 2) กระแสไฟฟารวมมี 2 สาขาหรือมากกวา เมื่อตัวตานทานน้ันนํามาตอแบบขนาน 2 สาขาหรอื มากกวา 5.2 การวเิ คราะหว งจรผสม ความตา นทานรวม กระแสไฟฟารวม กระแสไฟฟา สาขา ความสมั พนั ธข องแรงดนั ไฟฟา 5.3 ดเี ทอรม แิ นนต ดีเทอรมิแนนต (Determinant) มีความสําคัญในทางคณิตศาสตรมากเนื่องจากใชแกโจทยคณิตศาสตรสําหรับตัวแปรท่ีเกิดขึ้นพรอม ๆ กันตั้งแตสองตัวแปรขึ้นไป เมื่อเขาใจขั้นตอนแลวก็สามารถแกโจทยไดในเวลาไมนานและมีโอกาสผิดนอยกวาใชวิธีอ่ืน สําหรับในทางไฟฟา ดีเทอรมิแนนตที่พบวานําไปใชบอ ย เชน การแกโจทยว งจรไฟฟาดว ยวธิ กี ระแสเมช และการแกโจทยวงจรไฟฟาดวยวิธีแรงดันโนดเปน ตน 5.4 กฎของเคอรชอฟฟในวงจรผสม การนํากฎแรงดันไฟฟาของเคอรชอฟฟในวงจรอนุกรมและกฎกระแสไฟฟาของเคอรชอฟฟในวงจรขนานมาใชแ กปญหาในวงจรผสมน้นั จะตองประยุกตใ ชรว มกนั ทงั้ 2 กฎ โดยมีวิธีการดงั นี้ 5.4.1 กําหนดทิศทางกระแสไฟฟาไหลในวงจรตามกฎกระแสไฟฟาของเคอรชอฟฟ โดยใหกระแสไฟฟาไหลในทิศทางใดก็ได ถากําหนดทิศทางถูก ผลการคํานวณคากระแสไฟฟาจะเปนบวก และถากําหนดทศิ ทางสวนทางกนั ผลการคํานวณจะติดเครอ่ื งหมายลบโดยท่ีคาน้นั ถูกตอง 5.4.2 กระแสไฟฟาท่ีไหลผานแหลงจายแบตเตอร่ี ถาไหลเขาข้ัวบวกใหใสเครื่องหมายบวก ถาไหลเขาขั้วลบใหใสเ ครื่องหมายลบ 5.4.3 กาํ หนดขั้วของแรงดันไฟฟาตกครอมตัวตานทานในวงจรจนครบ ตามทิศทางของกระแสไฟฟาถากําหนดใหกระแสไฟฟาไหลออกจากขั้วบวกของแหลงจาย ใหกําหนดเครื่องหมายบวกเมื่อกระแสไฟฟา ไหลเขาตัวตา นทาน และกาํ หนดเครื่องหมายลบ เมอื่ กระแสไฟฟาไหลออกจากตัวตา นทาน

28 5.4.4 เขียนสมการแรงดันไฟฟาตามกฎแรงดันไฟฟาของเคอรชอฟฟ และตามทิศทางของกระแสไฟฟาจากจุดเริ่มตนจนวนมาครบวงรอบที่จุดเดิม ถาพบเคร่ืองหมายบวกใหใสเคร่ืองหมายบวกในสมการถา พบเคร่อื งหมายลบใหใสเครอ่ื งหมายลบในสมการ 5.4.5 แกสมการแรงดันไฟฟาหาตวั แปรทีไ่ มทราบคากิจกรรมการเรียนรู (สัปดาหท่ี 6/18, คาบท่ี 21–24/72) 1. ครขู านชอื่ ผเู รียน เตรยี มความพรอมกอ นเขา เรยี น 2. ครทู บทวนเนือ้ หาโดยยอเรอื่ ง วงจรอนุกรม วงจรขนาน 3. นักเรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี นหนวยที่ 5 4. ขั้น M ครูนําเขาสบู ทเรียนเรอื่ งการตอผสม และครูแจงจุดประสงคการเรยี น 5. ขน้ั I ครสู อนเนือ้ หาสาระ 6. ขั้น A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตและใหขอเสนอแนะการทาํ งานกลุม 7. ข้นั P นกั เรยี นทดลองตามใบงานท่ี 5 เรอื่ ง วงจรผสม ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยแบบฝกหัดตามกลมุ และรว มอภปิ รายผลจากการทดลอง 8. ครมู อบหมายการบา น 9. นกั เรยี นทําแบบทดสอบหลังเรยี นหนวยที่ 5สอ่ื และแหลง การเรยี นรู 1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 5, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลงั เรยี น 2. แหลง การเรยี นรู หนงั สือ วารสารเกีย่ วกับวงจรผสม, อนิ เทอรเนต็ www.google.com

29การวัดและการประเมินผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใชเ คร่ืองมือ) (นําผลเทยี บกบั เกณฑและแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอนเรยี น (Pre–test) หนว ยที่ 5 (ไวเปรียบเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น)2. แบบสงั เกตการทํางานกลมุ และนาํ เสนอผลงานกลุม เกณฑผ า น 60%3. แบบฝก หัดหนว ยที่ 5 เกณฑผาน 50%4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว ยท่ี 5 เกณฑผ า น 50%5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผาน 60%งานท่มี อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหท าํ แบบฝก หดั ขอ ท่เี หลือจากทาํ ในชั้นเรยี นใหเ รียบรอ ยถูกตอ ง สมบรู ณผลงาน/ช้ินงาน/ความสําเรจ็ ของผเู รียน 1. ผลการทาํ และนําเสนอแบบฝกหดั หนว ยที่ 5 และผานเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานท่ี 5 เรอื่ งวงจรผสม และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว ยท่ี 5 และผานเกณฑเอกสารอางองิ 1. ธาํ รงศกั ด์ิ หมินกา หรมี . วงจรไฟฟากระแสตรง รหสั วชิ า 2104–2002. (2556). นนทบรุ :ี ศูนยหนังสอื เมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course. 5. . (2005). Introductory DC/AC Circuits 6. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals.

30บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่อื ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผูสอน

31 แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 6 หนว ยที่ 6 ชือ่ วิชา วงจรไฟฟากระแสตรง รหัสวิชา 2104–2002 เวลาเรียนรวม 72 คาบ ชือ่ หนว ย วงจรแบง แรงดนั ไฟฟา และวงจรแบง กระแสไฟฟา สอนคร้ังท่ี 7/18ชอื่ เรื่อง วงจรแบงแรงดันไฟฟาและวงจรแบงกระแสไฟฟา จํานวน 4 คาบหวั ขอเรอ่ื ง6.1 วงจรแบงแรงดนั ไฟฟา6.2 วงจรแบงกระแสไฟฟา6.3 สรุปสาระสาํ คัญสมรรถนะยอ ย1. แสดงความรูเ กย่ี วกบั วงจรแบง แรงดนั ไฟฟา และวงจรแบง กระแสไฟฟา2. ปฏบิ ตั กิ ารตอ วงจร วัด และทดสอบคา ในวงจรแบงแรงดนั ไฟฟา และวงจรแบงกระแสไฟฟาจดุ ประสงคการปฏบิ ตั ิดานความรู1. คาํ นวณคา ในวงจรแบง แรงดันไฟฟา ตามโจทยกําหนด2. คํานวณคา ในวงจรแบง กระแสไฟฟา ตามโจทยกําหนดดานทกั ษะ1. ตอวงจรแบง แรงดันไฟฟา 2. วัดความตา นทานของวงจรแบง แรงดนั ไฟฟา3. วดั แรงดันไฟฟา ในวงจรแบงแรงดนั ไฟฟา 4. บันทกึ ขอ มลู การทดลอง5. เปรยี บเทยี บขอ มลู ในการทดลอง 6. เขยี นสรุปผลการทดลองวงจรแบงแรงดนั7. วัดกระแสไฟฟาในวงจรแบง กระแสไฟฟา 8. บนั ทกึ ขอมลู ในวงจรแบง กระแสไฟฟา9. เปรยี บเทียบขอ มลู ในวงจรแบงกระแสไฟฟา 10. เขยี นสรปุ ผลการทดลองการแบงกระแสดานคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงแสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ความรบั ผิดชอบ ความประหยัดและความเช่อื มนั่ ในตนเองเนือ้ หาสาระ 6.1 วงจรแบงแรงดันไฟฟา กฎการแบงแรงดันไฟฟามีท่ีมาจากกฎแรงดันไฟฟาของเคอรชอฟฟที่กลาววา ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดนั ไฟฟาในวงปดใด ๆ มีคาเทากับศูนย เม่ือพัฒนามาเปนกฎการแบงแรงดันไฟฟา (VoltageDivider Rule: VDR) ขณะที่ยังไมไดตอโหลดไดวา แรงดันไฟฟาตกครอมตัวตานทานใด ๆ ในวงจรอนุกรมจะเทากับอัตราสวนของคาความตานทานน้ันตอความตานทานรวมและคูณดวยแรงดันไฟฟาที่จายใหวงจรน้ัน และการแบง แรงดันไฟฟา จะนาํ ไปใชกบั วงจรอนกุ รมและวงจรผสม

32 6.1.1 วงจรแบงแรงดันไฟฟา ขณะไมมีโหลด เมื่อนําตัวตานทานมาตออนุกรมหลาย ๆ ตัว ดังรูป จะเรียกแรงดันไฟฟาตกครอมตัวตานทานใด ๆ วา VX เมื่อ X คือ ตัวตานทานตัวท่ี 1, 2, 3 หรือตัวที่เหลืออ่ืน และใชกฎของโอหมหาคาแรงดันไฟฟา ตกครอมตัวตานทานใด ๆ จะไดวา VX = I × RXรูป ใชก ฎของโอหมหาคา แรงดันไฟฟาตกครอมตวั ตา นทานใด ๆ จะได VX = I ×RXจากกฎของโอหม I = E แทนคา I ในสมการ VX = I ×RXจะได RT E VX = ⎝⎜⎛ RT ⎟⎞⎠ × RXเขยี นสมการ VX ใหม จะไดด งั สมการท่ี 6.1 VX = ⎜⎛⎝ RRXT ⎟⎠⎞× E 6.1.2 วงจรแบงแรงดันไฟฟา ขณะมีโหลด วงจรแบงแรงดันไฟฟาขณะมีโหลด ลักษณะวงจรจะเปนวงจรผสม ในหัวขอนี้จะเรียนรูถึงผลของการตอโหลดดวยความตานทาน และดว ยมอเตอรไ ฟฟา กระแสตรง 1. วงจรแบง แรงดนั ไฟฟา ดวยโหลดความตา นทาน (1) วงจรแบง แรงดนั ไฟฟา ดวยโหลดความตา นทานแบบคาคงท่ี ในวงจรแบงแรงดันไฟฟาแสดงดังรูป (Floyd, Thomas L. 2001: 238)ก) ขณะไมมีโหลด ข) ขณะมโี หลด RL

33 รปู วงจรแบง แรงดันไฟฟา จากรูป ข) จะได VOUT = V2 = R1R+2/R/R2/L/RL × E = เม่ือ R2//RL RR22 × RRLL และ R2//RL + หมายถึง R2 กบั RL ตอขนานกนั(2) วงจรแบงแรงดันไฟฟาดวยโหลดความตานทานแบบปรับคาได ถาใชตัวตานทานโพเทนชิออมิเตอรเปนตัวปรับการแบงแรงดันไฟฟา และคงจํากันไดวาจากการศึกษาเก่ียวกับตัวตานทานในงานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสน้ัน โพเทนชิออมิเตอรเปนตัวตานทานแบบปรับคาไดมีข้ัวตอ 3 ข้ัวท่ีจะใชเปนตัวแบงแรงดนั ไฟฟา แสดงดงั รูปก) รปู เสมือน ข) รูปสัญลักษณข องรปู ก ค) เทยี บเทารปู ข รูป โพเทนชิออมเิ ตอรที่ใชแบง แรงดนั ไฟฟา 2. วงจรแบง แรงดนั ไฟฟา ดวยโหลดมอเตอรไ ฟฟา กระแสตรง6.2 วงจรแบงกระแสไฟฟา 6.2.1 วงจรแบงกระแสไฟฟากรณีวงจรขนาน 2 สาขา จะใชกฎการแบง กระแสไฟฟา ดงั นี้ I1 = ⎜⎝⎛ R1R+2R 2 ⎞⎟⎠ × IT สว นท่ีตางกนั I2 = ⎜⎛ R1R+1R 2 ⎟⎞ × IT ⎝ ⎠ 6.2.2 วงจรแบง กระแสไฟฟา กรณีวงจรขนานหลายสาขา จะใชสตู รสาํ หรับวงจรขนานดงั น้ี IX = ⎜⎝⎛ R T ⎞⎠⎟ × IT R X

34 เมื่อ IX แทน กระแสไฟฟา สาขาทต่ี อ งการหาคา IT แทน กระแสไฟฟา รวม RX แทน ความตานทานไฟฟา สาขาที่ IX ไหลผา นกิจกรรมการเรียนรู (สัปดาหที่ 7/18, คาบที่ 25–28/72) 1. ครขู านชอ่ื ผเู รียน เตรียมความพรอ มกอนเขาเรยี น 2. ครทู บทวนเนื้อหาโดยยอ เรื่อง วงจรผสม 3. นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรียนหนวยที่ 6 4. ขั้น M ครนู าํ เขาสบู ทเรียนเรอ่ื งการแบงแรงดนั และครแู จงจุดประสงคการเรียน 5. ขั้น I ครูสอนเนอ้ื หาสาระ 6. ข้ัน A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตและใหขอเสนอแนะการทํางานกลมุ 7. ข้ัน P นักเรียนทดลองตามใบงานที่ 6 เรื่อง วงจรแบงแรงดันไฟฟาและวงจรแบงกระแสไฟฟา ครูและนกั เรียนรว มกนั เฉลยแบบฝกหดั ตามกลุม และรวมอภปิ รายผลจากการทดลอง 8. ครมู อบหมายการบา น 9. นักเรยี นทําแบบทดสอบหลังเรยี นหนว ยที่ 6สือ่ และแหลงการเรียนรู 1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยที่ 6, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลังเรยี น 2. แหลง การเรียนรู หนงั สือ วารสารเก่ยี วกับวงจรแบงแรงดันไฟฟาและวงจรแบง กระแสไฟฟา ,อนิ เทอรเน็ต www.google.comการวัดและการประเมินผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใชเ คร่อื งมอื ) (นาํ ผลเทียบกบั เกณฑและแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอ นเรยี น (Pre–test) หนว ยท่ี 6 (ไวเปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรยี น)2. แบบสังเกตการทํางานกลมุ และนาํ เสนอผลงานกลมุ เกณฑผาน 60%3. แบบฝกหดั หนว ยท่ี 6 เกณฑผา น 50%4. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว ยท่ี 6 เกณฑผา น 50%5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผา น 60%งานท่มี อบหมาย

35 งานท่มี อบหมายนอกเหนอื เวลาเรยี น ใหทาํ แบบฝก หัดขอ ที่เหลอื จากทาํ ในชัน้ เรยี นใหเรยี บรอ ยถูกตอง สมบูรณผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสําเร็จของผูเรียน 1. ผลการทาํ และนําเสนอแบบฝกหดั หนว ยท่ี 6 และผานเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานที่ 6 เรอ่ื งวงจรแบง แรงดนั ไฟฟา และวงจรแบง กระแสไฟฟาและผานเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว ยท่ี 6 และผานเกณฑเอกสารอางอิง 1. ธาํ รงศักด์ิ หมนิ กา หรมี . วงจรไฟฟา กระแสตรง รหัสวชิ า 2104–2002. (2556). นนทบรุ ี: ศูนยหนังสอื เมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course. 5. . (2005). Introductory DC/AC Circuits 6. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals.

36บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแ ผนการจดั การเรยี นรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพี่ บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกปญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชื่อ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................)

37 ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู อน แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 7 หนวยท่ี 7 ชือ่ วิชา วงจรไฟฟา กระแสตรง รหสั วชิ า 2104–2002 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ช่อื หนวย การแปลงการตอ ตวั ตา นทานแบบวาย -เดลตา สอนครง้ั ท่ี 8/18ชอ่ื เรือ่ ง การแปลงการตอ ตวั ตานทานแบบวาย -เดลตา จาํ นวน 4 คาบหวั ขอ เรอ่ื ง7.1 การแปลงการตอ ตวั ตานทานแบบวาย (Y) ใหเ ปนแบบเดลตา (Δ)7.2 การแปลงการตอ ตัวตา นทานแบบเดลตา (Δ) ใหเ ปน แบบวาย (Y)7.3 สรปุ สาระสําคญัสมรรถนะยอ ย1. แสดงความรเู กี่ยวกบั การแปลงการตอตัวตานทานแบบวาย–เดลตา2. ปฏบิ ตั กิ ารตอวงจร วัด และทดสอบคาการตอตัวตา นทานแบบวาย–เดลตาจดุ ประสงคการปฏิบตั ิดานความรู1. อธิบายการตอ ตวั ตานทานแบบวาย2. อธบิ ายการตอ ตวั ตา นทานแบบเดลตา3. แปลงการตอตวั ตา นทานแบบวายไปเปน แบบเดลตา4. แปลงการตอ ตวั ตานทานแบบเดลตาไปเปน แบบวายดา นทักษะ1. ตอตัวตานทานแบบวาย 2. วัดความตา นทานท่ีตอแบบวาย3. ตอตวั ตา นทานแบบเดลตา 4. วัดความตานทานทต่ี อแบบเดลตา5. บนั ทกึ ขอ มลู ในการทดลอง 6. เขียนสรุปผลการทดลองดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งแสดงออกถงึ ความมีวนิ ยั ความรักสามัคคี ความคดิ รเิ ร่ิมสรา งสรรคแ ละความพึงพอใจผลงานทที่ ําเนอ้ื หาสาระ 7.1 การแปลงการตอตวั ตา นทานแบบวาย (Y) ใหเปนแบบเดลตา (Δ)

38ก) ตัวตานทานตอแบบ Y ข) ตัวตานทานตอ แบบ Δค) การแปลงการตอ แบบ Y ไปเปน แบบ Δ จดุ ตอยังเปน จุดเดมิรปู การแปลงการตอ ตวั ตา นทานแบบ Y ไปเปน แบบ Δจากรปู เขียนสมการการแปลงการตอตัวตา นทานแบบ Y ไปเปน แบบ Δ ไดดังน้ีRA = R1R2 + R2R3 + R3R1RB = R1R 2 + RRR2 R12 3 + R 3R1RC = R1R 2 + RR2 R3 3 + R 3R17.2 การแปลงการตอตวั ตา นทานแบบเดลตา (Δ) ใหเ ปน แบบวาย (Y)

39 ก) ข) รปู การแปลงการตอตัวตา นทานแบบ เดลตา (Δ) ใหเปนแบบวาย (Y)การแปลงการตอตวั ตา นทานแบบเดลตา (Δ)ใหเปน แบบวาย (Y) จะใชส มการตอ ไปน้ีR1 = RA +RRB RB C RC +R2 = RA +RRA RB C RC +R3 = RA +RRA RB B RC + ขอ สังเกต ตัวเศษคอื ผลคูณของดา นประชิด R ทีต่ อ งการหาคา เชน R1 ที่จุด a แบบ Y ดานประชิดท่ีจุดa แบบ Δ คือ RB และ RC สําหรบั ตัวสวนนน้ั คือผลบวกของ R ที่ประกอบเปนแบบ Δกจิ กรรมการเรยี นรู (สัปดาหท่ี 8/18, คาบที่ 29–32/72) 1. ครขู านช่ือผเู รยี น เตรยี มความพรอมกอนเขาเรยี น 2. ครูทบทวนเน้ือหาโดยยอเร่อื ง วงจรแบงแรงดัน วงจรแบงกระแส 3. นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี นหนวยท่ี 7 4. ข้ัน M ครูนาํ เขาสูบทเรยี นเรอ่ื ง วาย-เดลตา และครูแจงจดุ ประสงคก ารเรียน 5. ขนั้ I ครูสอนเน้ือหาสาระ 6. ขั้น A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตและใหขอเสนอแนะการทํางานกลมุ 7. ข้ัน P นักเรียนทดลองตามใบงานท่ี 7 เรื่อง การตอตัวตานทานแบบวาย–เดลตา ครูและนักเรียนรวมกนั เฉลยแบบฝกหดั ตามกลุม และรวมอภปิ รายผลจากการทดลอง 8. ครูมอบหมายการบาน 9. นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี นหนวยท่ี 7

40ส่อื และแหลง การเรยี นรู 1. สื่อการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยท่ี 7, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรยี น และหลงั เรยี น 2. แหลงการเรยี นรู หนังสอื วารสารเก่ยี วกับการตอตัวตา นทานแบบวาย–เดลตา, อินเทอรเ น็ตwww.google.comการวดั และการประเมินผล การวัดผล การประเมินผล (ใชเครอ่ื งมอื ) (นาํ ผลเทยี บกบั เกณฑแ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอนเรียน (Pre–test) หนว ยที่ 7 (ไวเปรยี บเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น)2. แบบสงั เกตการทาํ งานกลมุ และนําเสนอผลงานกลมุ เกณฑผ าน 60%3. แบบฝก หัดหนวยท่ี 7 เกณฑผ าน 50%4. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว ยที่ 7 เกณฑผาน 50%5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผาน 60%งานทมี่ อบหมาย งานทมี่ อบหมายนอกเหนอื เวลาเรียน ใหทาํ แบบฝกหัดขอ ทเี่ หลอื จากทาํ ในชัน้ เรยี นใหเรียบรอ ยถกู ตอง สมบูรณผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสําเร็จของผเู รยี น 1. ผลการทาํ และนําเสนอแบบฝกหัดหนว ยที่ 7 และผา นเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานท่ี 7 เรอ่ื งการตอ ตวั ตานทานแบบวาย–เดลตา และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว ยที่ 7 และผา นเกณฑเอกสารอางอิง 1. ธาํ รงศกั ด์ิ หมินกาหรมี . วงจรไฟฟากระแสตรง รหสั วชิ า 2104–2002. (2556). นนทบรุ ี: ศูนยห นังสอื เมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course. 5. . (2005). Introductory DC/AC Circuits 6. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals.

41บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจัดการเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชื่อ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผูสอน

42 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 8 หนว ยท่ี 8 ชอ่ื วิชา วงจรไฟฟากระแสตรง รหัสวิชา 2104–2002 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอ่ื หนว ย วงจรบริดจ สอนครง้ั ที่ 9/18ช่อื เรือ่ ง วงจรบริดจ จาํ นวน 4 คาบหวั ขอ เรือ่ ง 8.1 วงจรบริดจใ นสภาวะสมดลุ 8.2 วงจรบรดิ จในสภาวะไมสมดุล 8.3 สรปุ สาระสาํ คญัสมรรถนะยอ ย 1. แสดงความรูเกยี่ วกบั วงจรบริดจ 2. ปฏิบตั กิ ารตอวงจร วดั และทดสอบคา ในวงจรบรดิ จจุดประสงคการปฏิบตั ิ ดานความรู 1. อธิบายการเกดิ สภาวะวงจรบรดิ จสมดุล 2. อธิบายการเกดิ สภาวะวงจรบรดิ จไมสมดุล 3. คาํ นวณหาคา กระแสไฟฟา แรงดนั ไฟฟา และความตา นทานไฟฟา ของวงจรบริดจในสภาวะสมดุล 4. คาํ นวณหาคาความตานทานเพ่ือปรบั ใหว งจรบรดิ จไมสมดลุ เปนวงจรบรดิ จสมดุล ดา นทกั ษะ 1. ตอ วงจรบริดจใ นสภาวะสมดุลและไมสมดุล 2. วัดความตา นทานของวงจรบรดิ จใ นสภาวะสมดุลและไมสมดุล 3. วดั แรงดันไฟฟา และกระแสไฟฟา ของวงจรบริดจใ นสภาวะสมดลุ และไมส มดุล 4. เขียนสรปุ ผลการทดลอง ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกถึงความมีวนิ ยั ความสนใจใฝรู ความคดิ รเิ ริ่มสรางสรรคและความพงึ พอใจในผลงานท่ีทํา

43เน้อื หาสาระ 8.1วงจรบรดิ จในสภาวะสมดุลR 1 = R 3R 2 R 4หรอื R1R4 = R2R3หรือ R3 = RR1R2 48.2 วงจรบรดิ จใ นสภาวะไมส มดลุ R 3 RR12 ≠ R 4กจิ กรรมการเรยี นรู (สัปดาหท ี่ 9/18, คาบท่ี 33–36/72) 1. ครขู านชอื่ ผูเ รยี น เตรียมความพรอมกอนเขาเรยี น 2. ครทู บทวนเนอื้ หาโดยยอ เรื่อง วาย-เดลตา 3. นักเรียนทาํ แบบทดสอบกอ นเรียนหนว ยที่ 8 4. ข้นั M ครูนําเขาสูบทเรยี นเรือ่ ง เครื่องวดั แบบวติ สโตนบรดิ จ และครูแจงจุดประสงคก ารเรยี น 5. ข้ัน I ครสู อนเน้ือหาสาระ 6. ขั้น A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตและใหขอ เสนอแนะการทาํ งานกลุม 7. ขั้น P นักเรียนทดลองตามใบงานที่ 8 เร่ือง วงจรบริดจ ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยแบบฝกหัดตามกลุม และรวมอภปิ รายผลจากการทดลอง 8. ครูมอบหมายการบาน 9. นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลังเรยี นหนว ยที่ 8

44สอ่ื และแหลงการเรียนรู 1. ส่ือการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยที่ 8, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรียน และหลังเรยี น 2. แหลงการเรียนรู หนงั สอื วารสารเก่ยี วกับวงจรบรดิ จ, อินเทอรเ นต็ www.google.comการวัดและการประเมนิ ผล การวัดผล การประเมินผล (ใชเ ครือ่ งมือ) (นําผลเทียบกบั เกณฑแ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอนเรยี น (Pre–test) หนว ยท่ี 8 (ไวเปรียบเทยี บกบั คะแนนสอบหลังเรียน)2. แบบสงั เกตการทาํ งานกลมุ และนําเสนอผลงานกลมุ เกณฑผาน 60%3. แบบฝกหดั หนว ยท่ี 8 เกณฑผ าน 50%4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว ยท่ี 8 เกณฑผ าน 50%5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผ า น 60%งานที่มอบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหท าํ แบบฝกหดั ขอ ทีเ่ หลอื จากทาํ ในชน้ั เรยี นใหเ รียบรอ ยถกู ตอ ง สมบรู ณผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาํ เรจ็ ของผูเรียน 1. ผลการทาํ และนาํ เสนอแบบฝก หดั หนว ยท่ี 8 และผา นเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานท่ี 8 เรอ่ื งวงจรบรดิ จ และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนวยท่ี 8 และผานเกณฑเอกสารอางอิง 1. ธํารงศกั ดิ์ หมินกา หรมี . วงจรไฟฟา กระแสตรง รหสั วชิ า 2104–2002. (2556). นนทบุร:ี ศูนยหนงั สอื เมอื งไทย. 2. Baker, Tim. (2002). Experiments in DC/AC Circuits with Concepts. 3. Boylestad, Robert. (2003). Introductory Circuit Analysis. 4. Cook, Nigel P. (2004). Electronic. A Complete Course. 5. . (2005). Introductory DC/AC Circuits 6. Floyd, Thomas L. (2001). Electronic Fundamentals.

45บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแผนการจัดการเรียนรู.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญหาทพ่ี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป ญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชื่อ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผูสอน

46 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 9 หนวยที่ 9 ชอื่ วชิ า วงจรไฟฟา กระแสตรง รหสั วิชา 2104–2002 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอื่ หนวย วิธกี ระแสเมช สอนคร้งั ที่ 10/18ชอ่ื เรื่อง วิธกี ระแสเมช จํานวน 4 คาบหวั ขอเรื่อง 9.1 แนวคิดของวธิ กี ระแสเมช 9.2 การนําวิธีกระแสเมชมาใชแ กปญ หาวงจรไฟฟา 9.3 สรุปสาระสาํ คญัสมรรถนะยอ ย 1. แสดงความรเู กย่ี วกบั วธิ ีกระแสเมช 2. ปฏบิ ัตกิ ารตอวงจร วัด และทดสอบคาดว ยวธิ ีกระแสเมชจุดประสงคการปฏิบัติ ดา นความรู 1. บอกความหมายของวธิ ีกระแสเมช 2. บอกวิธกี ารของการแกปญหาวงจรไฟฟา ดว ยวธิ กี ระแสเมช 3. เขียนสมการเมชจากวงจรไฟฟาทีก่ ําหนด 4. คาํ นวณคา ในวงจรไฟฟา ดว ยวิธีกระแสเมช ดานทกั ษะ 1. ตอ วงจรการทดลองวิธกี ระแสเมช 2. วดั แรงดนั ไฟฟาในวงจรการทดลองวธิ ีกระแสเมช 3. วดั กระแสไฟฟาในวงจรการทดลองวธิ ีกระแสเมช 4. บันทกึ ขอ มลู ในการทดลองวิธกี ระแสเมช 5. เปรยี บเทยี บขอ มูลในการทดลองวธิ กี ระแสเมช 6. เขียนสรปุ ผลการทดลองวธิ กี ระแสเมช ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แสดงออกถงึ ความมีวินยั ความรบั ผดิ ชอบ ความเช่อื มั่นในตนเองและความซือ่ สัตยส ุจริต

47เนือ้ หาสาระ 9.1 แนวคิดของวธิ ีกระแสเมช การนําวิธกี ระแสเมชหรอื กระแสลปู มาใชแกป ญ หาวงจรไฟฟา มวี ธิ ีการ ดงั นี้ 1. กําหนดกระแสไฟฟาในแตละรอบวงปด จะใหตามเข็มนาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ไดแสดงตวั อยางดังรปู ใชส ัญลักษณข องกระแสเมช คือ I1 หรือ I2 (จํานวนกระแสเมชตองเทากับจํานวนลูปของวงจร) ในลปู ABEF หรอื ลูป 1 กําหนดให I1 ไหล สว นในลูป DEBC หรือลปู 2 กําหนดให I2 ไหล 2. ระบุเคร่ืองหมายข้ัวแรงดันไฟฟาตกครอมตัวตานทานในแตละลูปตามทิศทางของกระแสไฟฟาที่กําหนดข้ึนท่ีไหลผานตัวตานทานแตละตัวโดยใชหลักวาเมื่อกระแสไฟฟาไหลเขาสูตัวตานทานใดใหใสเคร่ืองหมายบวกไวหนาตัวตานทานตัวน้ันและใสเคร่ืองหมายลบไวหลังตัวตานทานที่กระแสไฟฟาไหลออก (หรือจะกลาววาแรงดันไฟฟาตกครอมตัวตานทานในลูปใดท่ีกําหนดกระแสไฟฟาไหลวนในลูปนนั้ มีเครอ่ื งหมายบวกเสมอ) แสดงดังรูป รปู การกาํ หนดกระแสไฟฟา ในแตล ะรอบวงปด 3. เขียนสมการแรงดันไฟฟาโดยใชกฎแรงดันไฟฟาของเคอรชอฟฟ (KVL) ในลูปที่กําหนดซ่งึ เปนการรวมแรงดันไฟฟา ในลปู ถาพบเครือ่ งหมายบวกใหใ สเครอ่ื งหมายบวกไวห นา แรงดันไฟฟา และถาพบเคร่ืองหมายลบใหใสเคร่ืองหมายลบไวหนาแรงดันไฟฟา (ถาทิศทางกระแสเมชไลเขาหาขั้วบวกของแหลงจายไฟฟาใหใสเครื่องหมายบวก และถาไลเขาหาข้ัวลบใหใสเครื่องหมายลบ) แสดงการเขียนสมการแรงดันไฟฟา (สมการเมช) ของรูป ดงั นี้

48 ไลเขา หาขวั้ ลบของแหลง จา ยลปู 1 ; + I1 R1 + (I1 – I2) R3 – E1 = 0 ไลเ ขาหาขัว้ บวกของแหลงจายลปู 2 ; + (I2 – I1) R3+ I2R2 + E2 = 0แรงดันไฟฟาทีต่ กครอ มตัวตานทานท่ีเกิดจากกระแสไฟฟาจากลูปอ่นื ไหลผานถา ทศิ ทางของกระแสไฟฟาในลูปท้งั สองที่สมั ผสั กันสวนทางกนั ใหม ีเครอื่ งหมาย –ถาตามกนั ใหม ีเครื่องหมาย + จากตัวอยางนี้ I1 และ I2 ไหลสวนทางกัน 4. แทนคา ความตา นทานหรอื คาอืน่ ทปี่ รากฏในวงจรไฟฟาลงในสมการแรงดันไฟฟา 5. แกสมการหากระแสไฟฟาตัวที่ไมทราบคา [ถากระแสไฟฟาที่ไดมีคาเปนลบแสดงวา การกําหนดทิศทางในขอ 1) ตรงกนั ขามกบั ทศิ ทางท่กี ระแสไฟฟาไหลจรงิ ] 9.2 การนําวธิ ีกระแสเมชมาใชแ กปญหาวงจรไฟฟา จากรปู จงหาคากระแสไฟฟา ทุกสาขา โดยใชวิธกี ระแสเมช R1 R3 2 R2 2 4E1 6 V E2 4 V E3 2 Vวิธีทํา ข้นั ที่ 1 กาํ หนดกระแสเมช I1 และ I2 ดงั รปู ข้นั ท่ี 2 กาํ หนดข้ัวแรงดนั ไฟฟา ทตี่ วั ตานทานตามทิศทางกระแสเมช ดงั รปู (จะสงั เกตวา R2 มีข้วั แรงดันไฟฟา ที่แตกตา งกัน เพราะวา กระแสเมชสวนทางกนั )ขั้นท่ี 3 เขียนสมการเมช (หรือสมการแรงดันไฟฟาตามกฎแรงดันไฟฟาของเคอร-ชอฟฟ (KVL) จะเปน สมการเชิงเสน ) ไดสมการดงั นี้

49ลูป I1 : (R1+ R2) I1– R2I2+ E2 – E1 = 0ลปู I2 : – R2 I1+ (R2 + R3) I2 – E3 – E2 = 0ขั้นท่ี 4 แทนคา ทีท่ ราบในวงจรลงในสมการเมชลปู I1 : (2 + 2)I1 – 2I2 + 4 – 6 = 0 ................................ (1) 4I1 – 2I2 – 2 = 0 ................................ (2)ลปู I2 : – 2I1 + (2 + 4)I2 – 2 – 4 = 0 – 2I1 + 6I2 – 6 = 0สมการที่ (1) และ (2) เขยี นสมการใหม จะได 4I1 –2 I2 = 2 ................................ (3) –2I1 + 6 I2 = 6 ................................ (4)ขน้ั ที่ 5 แกส มการโดยใชด เี ทอรมแิ นนต จากสมการท่ี (3) และ (4) จะได 2 −2I1 = 6 6 = 12 +12 = 24 = 1.2 A ตอบ 4 −2 24 − 4 20 −2 6 42I2 = −2 6 = 24 + 4 = 28 = 1.4 A ตอบ 4 −2 24 − 4 20 −2 6 จะเห็นไดวากระแสไฟฟาท่ีไหลผาน R1 คือ I1 และกระแสไฟฟาไหลผาน R3 คือ I2 แตในสาขาR2 จะพบวา เปน ลูปท่ีเก่ยี วของกับลปู อ่ืน ดังนัน้ กระแสไฟฟา ทไ่ี หลผา น R2 คอื IR2 = I2 – I1 = 1.4 – 1.2IR2 = 0.2 A (มที ิศทางขึ้นตามทศิ ทางของ I2) ตอบกจิ กรรมการเรยี นรู (สัปดาหท่ี 10/18, คาบท่ี 37–40/72) 1. ครขู านชื่อผเู รยี น เตรียมความพรอมกอนเขาเรยี น 2. ครทู บทวนเนื้อหาโดยยอเรอ่ื ง วงจรบรดิ จ 3. นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบกอนเรียนหนวยที่ 9 4. ขั้น M ครนู ําเขา สบู ทเรยี นเรื่อง กระแสเมช และครแู จง จดุ ประสงคก ารเรียน 5. ขัน้ I ครูสอนเนอื้ หาสาระ

50 6. ขั้น A นักเรียนทําแบบฝกหัดเปนกลุมๆ ละ 1 ขอ ขณะนักเรียนทําแบบฝกหัดครูจะสังเกตและใหขอเสนอแนะการทาํ งานกลมุ 7. ขนั้ P นกั เรียนทดลองตามใบงานที่ 9 เร่ือง วิธีกระแสเมช ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยแบบฝกหัดตามกลุม และรวมอภิปรายผลจากการทดลอง 8. ครมู อบหมายการบาน 9. นักเรยี นทาํ แบบทดสอบหลังเรยี นหนวยที่ 9สอ่ื และแหลงการเรยี นรู 1. ส่ือการเรียนรู หนังสือเรียน หนวยที่ 9, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอนเรียน และหลงั เรยี น 2. แหลง การเรยี นรู หนงั สอื วารสารเก่ยี วกบั วิธกี ระแสเมช, อนิ เทอรเ น็ต www.google.comการวัดและการประเมินผล การวดั ผล การประเมินผล (ใชเครอ่ื งมือ) (นาํ ผลเทยี บกบั เกณฑแ ละแปลความหมาย)1. แบบทดสอบกอนเรียน (Pre–test) หนว ยที่ 9 (ไวเปรียบเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)2. แบบสงั เกตการทํางานกลมุ และนําเสนอผลงานกลุม เกณฑผาน 60%3. แบบฝกหัดหนวยที่ 9 เกณฑผ าน 50%4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว ยที่ 9 เกณฑผ า น 50%5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผ าน 60%งานทม่ี อบหมาย งานทีม่ อบหมายนอกเหนอื เวลาเรยี น ใหทาํ แบบฝกหัดขอ ทเ่ี หลอื จากทาํ ในช้นั เรยี นใหเรียบรอยถกู ตอ ง สมบูรณผลงาน/ช้นิ งาน/ความสําเร็จของผเู รยี น 1. ผลการทําและนาํ เสนอแบบฝก หัดหนว ยที่ 9 และผานเกณฑ 2. ผลการทดลองตามใบงานท่ี 9 เรือ่ งวิธกี ระแสเมช และผา นเกณฑ 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว ยท่ี 9 และผา นเกณฑเอกสารอา งองิ ธาํ รงศกั ด์ิ หมนิ กาหรีม. วงจรไฟฟากระแสตรง รหัสวิชา 2104–2002. (2556). นนทบรุ :ี ศนู ยห นงั สอื เมอื งไทย.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook