P a g e | 96 3. กจิ กรรมปจั ฉิมนิเทศ จัดกิจกรรมปจั ฉิมนิเทศ กับพ่ี ม.6 ที่จบการศึกษากจิ กรรมมินคิ อนเสริ ์ต กจิ กรรมบูมสายคณะการเรยี น ร่วมถา่ ยรปู กบั เพอื่ นพนี่ อ้ งเพือ่ สร้างความทรงจำทดี่ ีร่วมกัน
P a g e | 97 ผลการดำเนนิ งานตามตวั ช้ีวดั ท่ี 1.2.4 สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สังคม ระดบั ค่าเป้าหมายร้อยละ 88.00 กล่มุ /งาน กล่มุ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและ ผลท่ไี ดร้ ้อยละ 93.32 พลศึกษา และงานแนะแนว ระดับคณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม กระบวนการพัฒนา (PDCA) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ได้มีการจัดกจิ กรรมต่าง ๆ เพ่ือส่งเสริมผู้เรียนดา้ นการพัฒนา คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ดงั น้ี 1. กิจกรรมส่งเสริมความสามารถทางกีฬา เช่น การแข่งขนั กีฬาภายใน ลูก ต.อ.พ.ร. (เตรียมพัฒน์ รชั ดาเกมส์ 65) การจัดแข่งขันกีฬา E-Sport TUPR School Tournament การแข่งขันกีฬาฟุตซอลรายการกรมพลศึกษา รุ่นอายุ 16 ปี และ 18 ปี การส่งเสริมนักเรียนเข้าร่วมแข่งขันกิจกรรม Cover Dance เกมและนันทนาการใน รายวิชาพลศึกษา ม.3 การทดสอบสมรรถภาพเพ่ือให้นักเรียนวางแผนพัฒนาสุขภาพ การสอนวิชาบาสเกตบอล และสรา้ งสรรค์คลปิ วิดีโอการฝกึ ทกั ษะด้านกฬี าผา่ นสอ่ื ผา่ นช่อง Youtube 2. กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายโดยการทดสอบสมรรถภาพทางกายระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 ปรับการทดสอบสมรรถภาพทางกายใหเ้ ขา้ กบั การจัดการเรียนการสอนตามบรบิ ทของโรงเรยี น 3. อบรมนักเรียนแกนนำสุขภาพส่งเสริมเร่ืองการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุข ภาวะ ได้แก่ 3.1 โครงการอบรมกจิ กรรม Just Say No and Mental Health ให้กบั นักเรียนแกนนำสุขภาพระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เก่ียวกับการป้องกันตนเองจากสารเสพติด การจัดการกับ อารมณแ์ ละความเครียด สามารถนำความรูไ้ ปประยุกตใ์ ช้เพือ่ ใหเ้ กิดทกั ษะชวี ติ ในสถานการณส์ งั คมปัจจุบนั ได้ 3.2 กิจกรรมอบรมการตรวจ ATK ให้กบั นักเรยี นแกนนำ ตวั แทนครู และคณะกรรมการนักเรียน เพ่ือใหผ้ ู้ เข้าอบรมสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในการตรวจหาเชื้อโควิดท่ีถูกต้อง สามารถถ่ายทอดให้แก่เพื่อนในห้องเรียน และบุคคลในครอบครวั ตอ่ ไป 3.3 กิจกรรม Health Education Quiz Contest ตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย 3.4 กิจกรรม Health For Life: Body Conditioning การออกกำลังกายประกอบจังหวะพร้อมด้วย การใช้อปุ กรณ์ Weight Training กิจกรรม Health Innovation นวตั กรรมสขุ ภาพ เปน็ ตน้ 3.5 ผลสมั ฤทธข์ิ องผ้เู รยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา
P a g e | 98 การวางแผนการดำเนินงาน (Plan) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มีการวางแผนการส่งเสริมสุขภาพผู้เรียนแบบองค์รวม โดยยดึ หลกั การส่งเสรมิ สขุ ภาพ Health Promotion การวางแผนการพัฒนาผู้เรียนในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ มี การจัดประชุมครูกลุ่มสาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษาและพลศึกษา ประชุมเพ่ือวเิ คราะห์กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพ ทางกายเพื่อจดั กจิ กรรมการทดสอบสมรรถภาพทางกายระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-6 ปรับการทดสอบสมรรถภาพ ทางกายเพื่อใหเ้ ข้ากบั การจัดการเรียนการสอนตามบริบทของโรงเรยี น การดำเนนิ การจดั กจิ กรรม โครงการสง่ เสริม ความสามารถทางกีฬาหลากหลายประเภท แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการศึกษาหาข้อมูล ดำเนินการจัดทำ โปรแกรมผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย รายการวิ่ง 50 เมตร ยืนกระโดดไกล ลุกนั่ง 30 วินาที ว่ิงเก็บของ เป็นต้น โดยแบ่งรายการทดสอบเปน็ ระดับช้ัน ดำเนินการตามแผนการทดสอบสมรรถภาพที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันกีฬาประเภทต่างๆ ตรวจสอบความสมบูรณ์ของดำเนินการส่งต่อข้อมูลแก่ครูผู้รับผิดชอบ กอ่ นนำรายละเอียดการทดสอบและการแข่งขนั ไปใช้กับนกั เรยี นและวางแผนพัฒนาผู้เรยี นด้วยกระบวนการ PDCA ตอ่ ไป การปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ (Do) การดำเนินกิจกรรม ครูผู้สอนรายวิชาสุขศึกษาและและพลศึกษา นำผลการทดสอบสมรรถภาพมา วเิ คราะห์เฉพาะกรณีที่มีผลการทดสอบสมรรถภาพอยใู่ นเกณฑป์ รับปรุง ดำเนินการจดั กิจกรรมฝึกซ้อมเฉพาะด้าน ส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาองค์ความรู้ด้านสมรรถภาพ ความสามารถด้านร่างกายตนเอง การพัฒนาวางแผน สมรรถภาพของตนเอง เช่น การวัดระดับความสามารถของร่างกาย เรียนรู้องค์ประกอบการทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย นำไปสู่การฝึกเฉพาะด้าน ได้แก่ ฝึกความอ่อนตัว ยืดเหยียดกล้ามเน้ือ ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และระบบไหลเวียนโลหิตด้วยการว่ิงจากระยะทางน้อยไปหามาก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบร่างกาย การส่งเสริมสุขภาวะด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เช่น กิจกรรมแกนนำสุขภาพ กิจกรรมตอบปัญหา กิจกรรมเข้าจังหวะ กิจกรรมกีฬาภายในลูก ต.อ.พ.ร. ตลอดจนการนำความรู้ไปปรับใช้ในการดูแลสุขภาพและ วางแผนการออกกำลังกาย เล่นกีฬา เกมและนันทนาการในรูปแบบท่ีเหมาะสม ส่งผลให้เกิดความสมบูรณ์ในมิติ สขุ ภาพแบบองคร์ วมแก่ผู้เรียน การตรวจสอบผลทไ่ี ด้รับจากการปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ (Check) ตรวจสอบผลท่ีได้รับจากการปฏิบัติงานตามแผนท่ีวางไว้ ตรวจสอบจากผลการแข่งขันกีฬา โปรแกรม ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ผลการจัดการเรียนการสอนแต่ละวิชาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา การให้นักเรียนทำแบบทดสอบความเครยี ด แบบวดั ความสุข การประเมินภาวะสุขภาพทางจิต เป็นต้น ระหว่างเรียน ประมวลการทดสอบทักษะการทำกิจกรรม การร่วมสะท้อนความคิดเห็น ตลอดจนการวัดและ
P a g e | 99 ประเมินผลโดยใช้เกณฑ์ตามหลักการส่งเสริมสุขภาพและการทดสอบสุขภาพแบบองค์รวมและผลสัมฤทธิ์ของ ผเู้ รียนในรายวิชาสงู ขนึ้ โดยมีร้อยละของระดับผลการเรยี นเปน็ ไปตามค่าเปา้ หมายของโรงเรยี น การปฏิบตั ิการแก้ไข ถา้ ไมไ่ ด้ตามเปา้ หมายเพอื่ ตอ่ ยอดการปรบั ปรงุ (Act) จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่สามารถเข้าร่วมกิจกรรม การออกแบบวางแผน ดูแลสุขภาพตนเอง และสามารถปฏิบัติทักษะการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้อย่างถูกต้อง หากมีนักเรียน บางส่วน ท่ียังไม่สามารถปฏิบัติทักษะบางองค์ประกอบได้จะมีครูผู้สอนคอยแนะนำถึงแนวทางการพัฒนา สมรรถภาพทางกายและส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวม เช่น กระบวนการฝึกสมรรถภาพเฉพาะด้าน กระบวนการเพ่ือนช่วยเพื่อน การมสี ่วนร่วมในชนั้ เรยี น และประยุกตก์ ารจัดกิจกรรมรปู แบบเกมและนันทนาการ มาประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนินกจิ กรรม จุดเด่น การจัดทำโปรแกรมทดสอบสมรรถภาพทางกายอย่างเป็นระบบ มีประโยชน์ทำให้นักเรียนทราบ ความสามารถของตนเองว่าระดับสมรรถภาพทางกายท่ีทดสอบนั้นอยู่ในระดับดีมากน้อยเพียงใดเมื่อเทียบเกณฑ์ มาตรฐาน และสามารถวางแผนพัฒนาสมรรถภาพตามโปรแกรมสมรรถภาพอย่างไรถึงจะเหมาะสมกับตนเอง นอกจากน้ียังสามารถนำแนวทางการพัฒนาสมรรถภาพทางกายไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เช่น การ เดนิ ขึ้นลงบนั ได การเดินทางไกลในวชิ าลกู เสอื การทำกิจกรรมตา่ งๆได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ท่สี ำคญั ยงั ทำให้ครผู ู้สอนเกิด แนวคิดรปู แบบการสง่ เสริมสุขภาพ ความสามารถทางกฬี า โปรแกรมทดสอบสมรรถภาพตามบริบทโรงเรียน และ ส่งเสริมสุขภาพของผู้เรียนแบบองค์รวมในรปู แบบที่ทันสมัยสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และเป็นไป ตามหลกั สง่ เสรมิ สุขภาพ จดุ ทคี่ วรพัฒนา ด้านการพัฒนาครู: การส่งเสริมให้ครูได้รับการฝึกอบรมครูผู้สอนเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาสุขภาพ รายการโปรแกรมสุขภาพการทดสอบสมรรถภาพทางกายพ้ืนฐานตามแบบของคณะกรรมการนานาชาติเพ่ือจัด มาตรฐาน การทดสอบความสมบูรณ์ทางกาย (ICSPFT) เพ่ือนำความรู้มาวางแผนในระดับการ training และ สามารถพฒั นาระบบการทดสอบสมรรถภาพและการสง่ เสริมความสามารถด้านกีฬาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น ด้านการพัฒนาผู้เรียน: การออกแบบพัฒนาการทดสอบสมรรถภาพผู้เรียนเฉพาะด้าน และดำเนินการ อย่างต่อเน่ืองทั้งในคาบเรียนและนอกเหนือคาบเรียน เพ่ือให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการมี สุขภาพทีด่ ี
P a g e | 100 ร่องรอย หลกั ฐานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง แผนภมู ิแสดงสขุ ภาวะทางร่างกายของนักเรียน ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1-6 100 80 60 40 20 0 ผลม.ก4ารประเมนิ /ระดบั มค.5ุณภาพ ดี ม.6 มผ.1ลการประเมนิ /ระมด.2บั คณุ ภาพ ดเี ยย่ี มม.3 ผลการประเมนิ /ระดบั คุณภาพ พอใช้ ผลการประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง 1. กิจกรรมส่งเสริมความสามารถทางกีฬา เช่น การแข่งขันกีฬาภายใน ลูก ต.อ.พ.ร. (เตรียมพัฒน์ รัชดา เกมส์ 65) การจัดแข่งขันกีฬา E-Sport TUPR School Tournament การแข่งขันกีฬาฟุตซอลรายการกรมพล ศึกษา รุ่นอายุ 16 ปี และ 18 ปี การสอนวิชาบาสเกตบอลและสร้างสรรค์คลิปวิดีโอการฝกึ ทักษะด้านกีฬาผ่านส่ือ ผา่ นชอ่ ง Youtube
P a g e | 101 2. กิจกรรมสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกาย โดยการทดสอบสมรรถภาพทางกายระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-6 ปรบั การทดสอบสมรรถภาพทางกายใหเ้ ข้ากับการจดั การเรียนการสอนตามบริบทของโรงเรยี น ตัวอยา่ งการจัดทำคลิป VDO สาธติ ตามโปรแกรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย 3. อบรมนกั เรยี นแกนนำสุขภาพส่งเสรมิ เรื่องการดแู ลสุขภาพแบบองคร์ วมและการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ สขุ ภาวะ
P a g e | 102 4. ผลสัมฤทธ์ขิ องผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา การพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน ในรายวชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
P a g e | 103 ผลการดำเนนิ งานตามตวั ชี้วดั ที่ 1.2.4 สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สังคม กลุ่ม/งาน งานแนะแนว (ด้านจิตสังคม) ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม กระบวนการพฒั นา (PDCA) 1. งาน แน ะ แน ว ได้ช้ี แน ะ แน วท างใน ก าร ป ฏิ บั ติต น ให้ นั ก เรียน มี พ ฤติก รรม ที่ เห ม าะส ม มีการแนะแนวทางสำหรบั นักเรียนที่มีภาวะเครียดสะสม ไปจนถึงการรับมือกับโรคซึมเศร้า ซึ่งสามารถนำไปใช้ใน การดำรงชวี ิตประจำวันได้ 2. งานแนะแนว ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีเจตคติทีด่ ีต่อตนเองและผู้อื่น เช่น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในรายวิชาแนะแนวขอบข่ายเน้ือหาด้านส่วนตัวและสังคม ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เก่ียวกับวิธีการสร้างความสุข การรู้เท่าทันอารมณ์ของตนเองและผู้อ่ืน การให้คำปรึกษา และส่งเสริมให้นักเรียนได้รับข้อมูลเก่ียวกับการอยู่ ร่วมกันในสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ 3. งานแนะแนวปลูกฝังให้ผู้เรียนได้มีความรู้ มีทักษะ กระบวนการ ในการมีสุขภาพจิตที่ดี เช่น การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาแนะแนวขอบข่ายเน้ือหาด้านส่วนตัวและสังคม ให้ผู้เรียนได้มีการทำแบบ ประเมินดัชนีชี้วัดสุขภาพจติ คนไทย Thai Happiness Indicators (TMHI -15) ของกรมสุขภาพจิต เพื่อนำผลของ แบบประเมนิ มาปรับปรุงและพัฒนาสุขภาพจติ ของตนเองใหม้ ีความเหมาะสมตอ่ ไปในอนาคต โครงการ/กิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีจัดขนึ้ 1. ผลของแบบประเมินดัชนีช้ีวัดสุขภาพจิตคนไทย Thai Happiness Indicators (TMHI -15) ของกรม สุขภาพจติ การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan) งานแนะแนว มกี ารวางแผนการสง่ เสริมสุขภาพจิตของผู้เรยี นแบบองค์รวม โดยมีการวางแผนการพัฒนา ผู้เรยี นในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการจดั ประชมุ ครูในกลุ่มงานแนะแนวเพ่ือวิเคราะห์กิจกรรมท่ีจะเสรมิ สร้าง สุขภาพจิตของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม มีการทำแบบประเมินดัชนีช้ีวัด สุขภาพจิตคนไทย Thai Happiness Indicators (TMHI -15) ของกรมสุขภาพจิตในรูปแบบออนไลน์ ก่อนนำ รายละเอยี ดของแบบประเมนิ ไปใช้กับนกั เรยี นและวางแผนพัฒนาผูเ้ รยี นดว้ ยกระบวนการ PDCA ตอ่ ไป
P a g e | 104 การปฏิบตั ิตามแผนทีว่ างไว้ (Do) การดำเนนิ กิจกรรม ครูผู้สอนรายวิชาแนะแนวให้กบั นักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 ดำเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ จัดทำส่ือการสอน/นวัตกรรมในรูปแบบออนไลน์ อาทิเช่น คลิปวิดีโอสื่อการสอน การ ประยุกต์ใช้ Application ใหผ้ ู้เรียนศึกษาองค์ความรแู้ ละตระหนักในเรื่องของสุขภาพจิตมากขึ้น เช่น การทำแบบ ประเมินดัชนีช้ีวัดสุขภาพจิตคนไทย Thai Happiness Indicators (TMHI -15) การส่งเสริมสุขภาวะด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตลอดจนการนำความรู้ไปปรับใช้ในการดูแลสุขภาพจิตต่อไป ส่งผลให้เกิดความ สมบรู ณใ์ นมิติสขุ ภาพแบบองคร์ วมแก่ผู้เรียน การตรวจสอบผลทไ่ี ด้รับจากการปฏิบัตงิ านตามแผนทีว่ างไว้ (Check) ตรวจสอบผลท่ีได้รับจากการปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ ตรวจสอบจากผลการทำแบบประเมินดัชนีชี้วัด สุขภาพจติ คนไทย Thai Happiness Indicators (TMHI -15) ผลการจัดการเรียนการสอนในรายวชิ าแนะแนว การ ให้นักเรียนทำแบบทดสอบความเครียด แบบวัดความสุข การประเมินภาวะสุขภาพทางจติ เป็นต้น ระหว่างเรียน ประมวลการทดสอบทักษะการทำกิจกรรม การร่วมสะท้อนความคิดเห็น ตลอดจนการวัดและประเมินผลโดยใช้ เกณฑ์ตามหลกั การส่งเสริมสขุ ภาพและการทดสอบสุขภาพแบบองคร์ วมและผลสัมฤทธิข์ องผเู้ รียนในรายวิชาสงู ข้ึน โดยมีร้อยละของระดับผลการเรียนเป็นไปตามคา่ เป้าหมายของโรงเรียน สรุปผลการทดสอบดัชนชี ีว้ ดั สขุ ภาพจติ คนไทย Thai Happiness Indicators (TMHI -15) ของกรมสขุ ภาพจติ นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ปกี ารศึกษา 2565 ระดบั ชั้น สุขภาพจติ ไมม่ ขี อ้ มูล รวม ดีกวา่ คนทัว่ ไป เท่ากบั คนท่ัวไป ตำ่ กว่าคนทัว่ ไป มัธยม 1 88 250 129 7 474 มัธยม 2 99 238 122 2 461 มธั ยม 3 76 219 159 6 460 มัธยม 4 82 244 122 12 460 มธั ยม 5 78 223 116 4 421 มัธยม 6 64 202 147 8 421 รวม 487 1,376 795 39 2,697 (18.06 %) (51.12 %) (29.48 %) (1.45 %) ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 1 มีนาคม 2566
P a g e | 105 แผนภมู แิ ท่งแสดงการทดสอบดัชนีชีว้ ัดสขุ ภาพจิตคนไทย Thai Happiness Indicators (TMHI -15) ของกรมสุขภาพจติ นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 - 6 ปีการศึกษา 2565 100.00 90.00 79.96 78.09 82.17 79.57 80.52 82.90 80.00 70.00 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 มธั ยม 2 มธั ยม 3 มธั ยม 4 มัธยม 5 มธั ยม 6 มธั ยม 1 ข้อมลู ณ วนั ท่ี 1 มีนาคม 2566 การปฏบิ ตั กิ ารแก้ไข ถา้ ไม่ได้ตามเปา้ หมายเพือ่ ตอ่ ยอดการปรับปรงุ (Act) จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่สามารถเข้าร่วมกิจกรรม การออกแบบ วางแผนการปฏิบัติตนเพื่อให้ตนเองมีระดับสุขภาพจิตที่เหมาะสม หากมีนักเรียนบางส่วน ท่ียังมีความเครียด ครูแนะแนวจะนำกระบวนการทางจิตวิทยา การใหค้ ำปรึกษามาชว่ ยเหลือนักเรียน ใช้กระบวนการเพื่อนที่ปรกึ ษา (YC) การมีสว่ นร่วมในชนั้ เรยี น และประยกุ ตก์ ารจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหลากหลายรปู แบบ จุดเดน่ นักเรียนโรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา เป็นผู้มีความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมี คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ มีทักษะชีวิต กลา้ แสดงออก รู้จกั แสวงหาความรู้ มีระเบียบวินัย รจู้ ักการแก้ปญั หาอย่าง รอบคอบ ท้ังนี้ นักเรียนร้จู ักดแู ลสุขภาพรา่ งกาย และจติ ใจ มสี ุนทรียภาพทางดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และกีฬาตามความ สนใจ และนกั เรยี นยังสามารถปรบั ตัวให้อยู่รว่ มกบั สังคมได้อย่างมคี วามสขุ จดุ ทีค่ วรพัฒนา สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นช่วงของการวางแผน ตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ ส่งผลให้นักเรียนสองระดับชั้นนี้มีระดับของสุขภาพจิตที่ต่ำกว่าเกณฑ์ทั่วไปมากกว่า ระดับชั้นอ่ืน ๆ งานแนะแนวอาจจะมีการวางแผนร่วมกับงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพ่ือวางแผนช่วยเหลือ นกั เรียนต่อไป
P a g e | 106 ผลสรปุ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น จุดเด่น นกั เรียนโรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา เป็นผู้มีความสามารถในการอ่าน การเขียน และการสือ่ สารภาษาไทย มีการใช้ส่อื นวตั กรรม เทคโนโลยี ผู้เรียนอ่านหนังสือออก และอา่ นหนงั สือคลอ่ ง รวมทั้ง สามารถเขียนเพ่ือการสื่อสารได้ทุกคนสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมคี ณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ มที ักษะชีวิต กลา้ แสดงออก รจู้ ักแสวงหาความรู้ มรี ะเบยี บวินัย รจู้ กั การ แก้ปัญหาอย่างรอบคอบ อา่ นคลอ่ ง เขียนคล่องและการสอื่ ความได้ดเี ตม็ ตามศักยภาพของนักเรยี นมีความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีสาสนเทศได้เป็นอย่างดี เนื่องจากนักเรียนได้เรียนรู้รายวิชาเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ในทุกระดับชั้นเพื่อมุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความสามารถทาง เทคโนโลยี อีกท้ังสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ที่นักเรียนต้องเรียนรู้ผ่านระบบ Online นกั เรยี นยังได้เรียนรผู้ า่ นช่องทางการถา่ ยทอดสดของกิจกรรมกลุ่มสาระฯ ตามวันสำคัญตา่ ง ๆ โดยเน้นให้ ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเข้าถึงการเรียนรู้ ทั้งนี้ นักเรียนรู้จักดูแลสุขภาพร่างกาย และจิตใจ มีสุนทรียภาพ ทางดา้ นศิลปะ ดนตรี และกีฬาตามความสนใจ และยังมีความพร้อมในการศึกษาต่อในระดบั ที่สูงขน้ึ และเจตคติที่ ดีตอ่ อาชพี สุจริต ได้ทำกิจกรรมการสอบวดั ระดับความรู้ตามมาตรฐานสากล CEFR เป็นการยกระดับความสามารถ ด้านภาษาอังกฤษของผู้เรียน และเป็นเป้าหมายสำคัญของการจัดการศึกษาตามกระทรวงศึกษาธิการกำหนด นักเรียนสามารถปรับรูปแบบการเรียนรู้ ศึกษา และทำกิจกรรมกลุ่มได้ในรปู แบบออนไลน์ มีการปรึกษา พูดคุย และแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกนั และกนั เพื่อศึกษาปัญหา และหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา และออกแบบนวัตกรรม และชิ้นงานต้นแบบได้ในรูปแบบออนไลน์อย่างดี ครูผู้สอนให้ความร่วมมือและส่งเสริมนักเรียนในการฝึกฝนให้ นกั เรียนวางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ ปลูกฝังใหน้ กั เรยี นทำงานอย่างมคี วามสขุ มุง่ ม่ันพัฒนางาน และภูมิใจ ในผลงานของตนเอง มเี จตคติทีด่ ีในอาชพี สุจริตและความพร้อมในการศกึ ษาต่อ จุดควรพัฒนา 1. การพัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขียน และการสือ่ สารของผเู้ รยี นในระดับสูงขึ้น เช่น การอ่าน เชงิ วเิ คราะห์ และการสง่ เสรมิ การแขง่ ขนั ทักษะภาษาไทยดา้ นการอ่าน การเขยี น การสื่อสารกบั หน่วยงานภายนอก มากขน้ึ
P a g e | 107 2. ส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานสากล รวมถึง ภาษาตา่ งประเทศท่ี 2 3. การติดตอ่ ประสานงานกบั หนว่ ยงานภายนอกเพ่ือส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนมีสถานที่ฝกึ อาชพี ท่นี ักเรียนสนใจ ในช่วงปิดภาคเรียน และควรจัดกิจกรรมเกี่ยวกับอาชีพให้มีความสอดคล้องกับอาชีพในศตวรรษท่ี 21 เพื่อให้มี ความหลากหลาย เขา้ กบั ยุคสมยั ปัจจบุ ัน 4. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนก้าวเข้าสู่การแขง่ ขันภายนอกอย่างต่อเนื่องในทุกมิติท้ังในด้านวิชาการและ กฬี าโดยเนน้ ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ : ยอดเยีย่ ม กระบวนการพฒั นา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ดำเนินการวิเคราะห์บริบทของโรงเรียน สภาพปัญหา อุป สร รค แ ละ ผลก ารจัด ก ารศึ ก ษ าใน ปี ก าร ศึก ษ าท่ี ผ่าน ม า โด ยก ารศึ ก ษ าข้อ มู ลสารส น เท ศ ผลการนิเทศ ติดตาม ประเมิน การจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา นโยบายของหน่วยงาน ต้นสังกัด และจัดประชุมระดม ความคิดเห็น ท้ังจากบุคลากรภายในสถานศึกษาและผู้มีส่วนได้สว่ นเสียภายนอก สถานศึกษา เพ่ือร่วมกันกำหนด เป้าหมาย วิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ และกลยุทธ์ ตรงกับวัตถุประสงค์ของ แผนการศึกษาชาติ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือรว่ มกันพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ใหเ้ ป็นไปตามความ ต้องการของผูเ้ รียนและชุมชน โดยใช้แผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา และแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี เป็นเครอ่ื งมอื ใน การขับเคลอ่ื นการพัฒนาสถานศึกษา มกี ารตรวจสอบอย่างเป็นระบบ ตามสายงานทุกระบบงานด้วยวงจรคุณภาพ PDCA เนน้ พัฒนา วชิ าการท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยพิจารณาความสนใจและศกั ยภาพของนกั เรยี น และโรงเรียน ได้ผ่านการประเมนิ โรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) อีกทั้งส่งเสริมให้ครูและบุคลากร มีการพัฒนาตนเอง ท้ัง ทางด้านความรู้ความสามารถให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชพี มีการประชุมกลุ่ม PLC และจดั ทำแผนพัฒนาตนเอง ของครูและบุคลากร (ID Plan) จัดสภาพบรรยากาศทางกายภาพ และทางสงั คมใหเ้ หมาะกับการเรยี นรู้ เพื่อเอือ้ ให้ ผเู้ รียนเกดิ การพัฒนาตนเอง พัฒนาและปลกู ฝังค่านิยม ถ่ายทอดวัฒนธรรมขององค์กรแก่ครรู ุ่นใหม่ของโรงเรียน เพื่อสืบสานค่านิยมอย่างยั่งยืน และทบทวนวัฒนธรรมองค์กรอย่างต่อเน่ือง พร้อมท้ังจัดหาทรัพยากร จัดสรร งบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ที่กำหนดไว้
P a g e | 108 มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ประเมินคุณภาพภายใน และจัดทำรายงานผล การจดั การศึกษา โรงเรียนมีการจัดสรรงบประมาณ จัดหาทรัพยากรเพ่ือใช้สำหรับการบริหารจัดการ และดำเนินตาม แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีเพอ่ื ให้โครงการ กจิ กรรม บรรลุเปา้ หมายทีก่ ำหนดไว้ มีกระบวนการนิเทศ กำกบั ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานอย่างสมำ่ เสมอ โรงเรยี นจดั ให้มีการประเมินคณุ ภาพ ภายในของสถานศึกษาปีละ 1 ครงั้ และจัดทำรายงานผลการจัดการศกึ ษาเพื่อรายงานและเผยแพร่ผลการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของโรงเรยี น โรงเรียนมีเครือข่ายร่วมพัฒนา ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สมาคมผู้ปกครองและครู คณะกรรมการเครอื ข่ายผู้ปกครอง นักเรียนเก่าและปัจจบุ ัน โรงเรียนในเครอื เตรยี มอดุ มศึกษาพัฒนาการ โรงเรยี น ในสหวิทยาเขตภาคีนพวัฒน์ เครอื ข่ายชุมชน ตลอดจนหน่วยงานภาครฐั และเอกชน เข้ามามสี ่วนรว่ มในการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ผลการดำเนินงานตามตัวชว้ี ดั ที่ 2.1 มเี ป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพันธกิจท่ีสถานศกึ ษากำหนดชัดเจน คา่ เปา้ หมายระดบั คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม กลมุ่ /งาน งานนโยบายและจัดทำแผนสถานศกึ ษา ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม กระบวนการพัฒนา (PDCA) การวางแผนการดำเนินงาน (Plan) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ได้ดำเนินการวิเคราะห์บริบท สภาพปัญหา และผลการจัด การศึกษาท่ีผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูลสารสนเทศจาก ผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษา ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด จัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากร ในสถานศึกษา และผู้มีส่วนได้สว่ นเสียภายนอกสถานศึกษา เพื่อวางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบาย การปฏิรูปการศึกษา พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการ
P a g e | 109 พัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนนิ งาน และสรุปผลการดำเนินงาน การปฏิบัตติ ามแผนท่ีวางไว้ (Do) 1. ศึกษานโยบายแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นโยบายสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาต้น นโยบายโรงเรียน หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง 2560) 2. วิเคราะหข์ อ้ มลู จากสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้อง ร่วมกันทบทวนผลการดำเนนิ งานท่ีผ่านมา โดยพิจารณาจาก รายงานผลการดำเนินงานของกลมุ่ บรหิ าร กลุ่มงานและกลุ่มสาระการเรยี นรู้ โดยใช้หลกั การวเิ คราะห์ SWOT 3. สถานศึกษาดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 – 2566 เพ่ือ เปน็ กรอบแนวทางในการกำหนดทิศทางการจดั การศกึ ษา 4. สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ เพื่อเสนอขอความเห็นชอบดำเนินการ ตามแผน ซึ่งสอดคล้องกบั การพฒั นาผู้เรยี นทุกกลมุ่ เป้าหมาย 5. จัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการพัฒนาตามแผนงาน เพ่อื ให้บรรลุเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้ 6. สง่ เสรมิ ให้ครูและบคุ ลากร มกี ารพฒั นาตนเอง ทัง้ ทางด้านความรู้ความสามารถใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทาง วิชาชพี มกี ารประชุมกลมุ่ PLC และจัดทำแผนพัฒนาตนเองของครูและบุคลากร (ID Plan) 7. มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ประเมินคุณภาพภายใน และจัดทำ รายงานผลการจัดการศกึ ษา การตรวจสอบผลท่ีได้รบั จากการปฏิบัตงิ านตามแผนท่วี างไว้ (Check) 1. สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการ พัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของ ชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับ แนวทางการปฏริ ูปตามแผนการศึกษาชาติ 2. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ สอดคล้องกับการพัฒนา ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเช่ียวชาญ ตามมาตรฐาน ตำแหน่ง ข้อมลู สารสนเทศมีความถกู ต้อง ครบถว้ น ทันสมยั นำไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอยา่ งเปน็ ระบบ และมี กจิ กรรมจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีกระตนุ้ ผู้เรียนให้ใฝ่เรยี นรู้
P a g e | 110 3. สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพฒั นา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วม ในการพัฒนาและรว่ มรับผิดชอบ 4. ผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา 5. สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ท่ีเหมาะสม เป็นระบบและตอ่ เนื่อง เปิดโอกาสให้ผเู้ กยี่ วขอ้ งมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา 6. สถานศึกษามรี ูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคดิ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏริ ปู การศกึ ษา 7. สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากเครือข่ายอุปถัมภ์ส่งผลให้ สถานศกึ ษามสี อื่ และแหล่งเรียนรู้ท่มี คี ุณภาพ การปฏบิ ตั ิการแกไ้ ข ถา้ ไม่ได้ตามเปา้ หมายเพื่อตอ่ ยอดการปรับปรุง (Act) 1. สถานศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่ือ พฒั นาผ้เู รียนมากขน้ึ 2. สถานศึกษาสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้ มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ใหม้ คี วามเขม้ แข็ง มีส่วนร่วมรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา และการขบั เคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา 3. สถานศึกษาใช้รูปแบบการบริหารโรงเรยี นสู่ความเป็นเลศิ โดยมปี ัจจัยทีท่ ำให้หลักสูตรและกระบวนการ จัดการเรียนการสอน การบริการอ่ืน ๆ ของโรงเรียนประสบผลสำเร็จมาจากการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ค่านยิ มกลยุทธท์ ชี่ ัดเจน 4. สถานศึกษากำหนดแผนงาน โครงการกิจกรรม โดยมีการกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น ตามความต้องการของชุมชน 5. สถานศึกษานำเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ มาปฏิบตั ิใช้ในการพัฒนาโรงเรยี นด้วยการปรบั แผนพฒั นา คณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ ให้สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพฒั นา นโยบายการการศกึ ษา และนโยบายของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั 6. สถานศกึ ษากำกับติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ งเปดิ โอกาสให้ผ้เู กี่ยวข้องมีส่วน รว่ มในการจัดการศึกษา และมเี ครอื ขา่ ยความร่วมมอื ในการรบั ผดิ ชอบตอ่ การจัดการศกึ ษา
P a g e | 111 จุดเด่น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา มีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ ผู้บริหาร มีวิสัยทัศน์ มีภาวะผู้นำในการบริหารงาน ทุกกลุ่มงานมีการกระจายอำนาจออกเป็นกลุ่มบริหาร 4 กลุ่มบริหาร แต่ละกลุ่มบริหารมีรองผู้อำนวยการ และผู้ช่วยรองผู้อำนวยการ ดูแลรับผิดชอบ การแต่งต้ังคณะกรรมการ ดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ มีการประชุม ปรึกษาหารือ กำกับ ติดตาม อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ สถานศึกษาดำเนินงานโดยเน้นการมีส่วนร่วมจากฝ่ายบริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ท้ังภาครัฐและ เอกชน มกี ารระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษา ใช้เทคนคิ การประชมุ ที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพ่ือให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ ที่สอดคล้องกับ ผลการจัดการศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนา ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี คณุ ภาพ มกี ารดำเนินการ นเิ ทศ กำกบั ติดตาม ประเมินผล การดำเนนิ งานและจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา จุดทคี่ วรพฒั นา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ควรมีการพัฒนาเก่ียวกับกระบวนการบริหาร และการจัดการ ของผู้บริหารสถานศึกษา ดังตอ่ ไปนี้ สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา และการขบั เคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา รอ่ งรอย หลกั ฐานท่เี กีย่ วข้อง
P a g e | 112 การวิเคราะหบ์ ริบทของโรงเรียน
P a g e | 113 สรปุ ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน จากการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอกและภายในของโรงเรียนพบว่าโรงเรียนมีสมรรถนะอยู่ใน ตำแหน่ง ดาวรุ่ง (STARS) แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนมีสภาพภายนอกที่เอ้ือและแข็ง กล่าวคือ ภายนอกให้ การสนับสนุน ส่วนปัจจัยภายในหน่วยงานดีมีประสิทธิภาพ มีการร่วมมือร่วมใจในการทำงานส่งผลให้ หนว่ ยงานประสบความสำเรจ็ มคี ณุ ภาพ เปน็ ทยี่ อมรับของคนทว่ั ไป อยา่ งไรก็ตามจากกราฟแสดงสถานภาพของโรงเรียนจะเหน็ ว่ายังมปี ัจจัยบางอยา่ งทเ่ี ป็นอปุ สรรคและ จุดอ่อนอยู่แต่ก็ยังเป็นส่วนน้อยมาก ดังนั้น โรงเรียนต้องรักษาสถานภาพของตนเองไว้อย่าให้ตกต่ำ และต้องพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสตลอดจนกำจัดหรือลดจุดอ่อนที่ยังคงมีอยู่ให้หมดไปเพ่ือพัฒนาการศึกษา ของโรงเรียนใหม้ งุ่ ส่คู วามเป็นเลศิ ไดม้ าตรฐาน และมสี มรรถนะสูงอยา่ งยงั่ ยนื จากผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของโรงเรียนดังกลา่ ว จึงนำไปเปน็ ขอ้ มลู หลักในการกำหนด ทศิ ทางและแผนพฒั นาการศึกษาของโรงเรยี นตอ่ ไป
P a g e | 114 ภาพกิจกรรมการจดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา ปี งบประมาณ 2564 - 2566
ภาพกิจกรรมการจดั ทาแผนปฏิบตั ิการ P a g e | 115 ปี งบประมาณ 2566
P a g e | 116 ภาพกิจกรรมการจดั ทาปฏิทินกิจกรรม ปี การศึกษา 2566
P a g e | 117 ผลการดำเนินงานตามตวั ชี้วดั ที่ 2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา คา่ เปา้ หมายระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม กลุม่ /งาน งานพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ผลการประเมินระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม กระบวนการพัฒนา (PDCA) การวางแผนการดำเนินงาน (Plan) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา บริหารระบบจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล โดยมี แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรยี นทกุ กลุ่มเป้าหมาย ได้มีการกำหนดโครงสร้างบริหารงานเป็น 4 กลุ่มงาน ได้แก่ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่ม บริหารงบประมาณ และกลุ่มบริหารทั่วไป และกำหนดผู้รับผิดชอบงานตามโครงสร้างจากความรู้และ ประสบการณ์ ท้ังนวี้ างแผนการจัดการศึกษาโดยดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา บริหารของโรงเรียน ใช้ระบบ วงจรคุณภาพ Deming Cycle ในการปฏิบัติงานจากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ กรรมการ สถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ผ้ปู กครอง ผู้แทนครูและฝา่ ยบรหิ ารของโรงเรียน โดยประชุมร่วมกนั การปฏิบัตติ ามแผนทีว่ างไว้ (Do) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ดำเนินการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ ประจำปี ด้วยการส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่มุ่งเน้นการดำเนินงานตามข้อกำหนดของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่ง สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA) ท่มี ีการดำเนนิ การตามมาตรฐานตามขอ้ กำหนดโดยการใช้กระบวนการและพัฒนาองคก์ รให้มีคุณภาพ โดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วย TUPR model มกี ารจัดระบบข้อมลู สารสนเทศพ้ืนฐานไดค้ รบถ้วน ครอบคลุมต่อการใช้งานถูกตอ้ งเป็นปัจจุบัน มีการจัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ที่ สง่ ผลต่อคณุ ภาพการศกึ ษาโดยรวม และจดั ทำรายงานผลประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ตาม มาตรฐานการศกึ ษา มีการจัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผรู้ ับผดิ ชอบดำเนินการพัฒนาตามแผนงาน เพ่ือให้ บรรลุเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้ การตรวจสอบผลท่ีได้รับจากการปฏบิ ตั ิงานตามแผนท่ีวางไว้ (Check) โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษาพัฒนาการ รัชดา ไดด้ ำเนินงานผ่านโครงการและกิจกรรมท่ตี อบสนอง พันธกิจ และวิสัยทัศน์ของโรงเรียนตามแผนปฏิบัติการประจำปี ซึ่งมีผลการพัฒนาการตามมาตรฐานการประกันคุณภาพ การศึกษาดังน้ี
P a g e | 118 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน – ระดับคณุ ภาพยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ – ระดับคณุ ภาพยอดเยีย่ ม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ – ระดับคุณภาพยอดเย่ียม โดยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของโรงเรียนที่ชัดเจนมี ประสิทธภิ าพ ส่งผลตอ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียน โดยความร่วมมือของผูเ้ ก่ียวข้องทุกฝา่ ยมีการ นำขอ้ มลู มาใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเน่อื ง และเป็นแบบอยา่ งได้ การปฏิบัตกิ ารแก้ไข ถา้ ไมไ่ ด้ตามเป้าหมายเพ่ือตอ่ ยอดการปรับปรุง (Act) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา มีระบบการนิเทศ ติดตาม และการปรับปรุงพัฒนาผลการ ดำเนินการท่ีเหมาะสม โดยมุ่งเน้นการประเมินเพ่ือการพัฒนาด้วยระบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินที่ ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและรูปธรรม สามารถนำผลการประเมินที่ได้จากจัดการสารสนเทศที่มี คุณภาพ ไป ปรับปรุงรูปแบบและวิธีการบริหารจัดการ รวมถึงครูและบุคลากรทางการศกึ ษาของโรงเรียน ได้รับการพัฒนาใหม้ ี ความสามารถในการจัดการเรียนรูเ้ ข้าสศู่ ตวรรษท่ี 21 และพัฒนาตนเองให้มีวิทยฐานะสูงขึ้น สามารถนำความรมู้ า พัฒนาผู้เรียนได้รอบด้าน การดำเนินการของแต่ละโครงการ กิจกรรมจะมีการประเมินผลสำเร็จและทบทวน โครงการ เพอ่ื เปน็ ข้อมลู ปอ้ นกลบั ในการทบทวนการจดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารประมาณในปีต่อไป ➢ จดุ เดน่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ รชั ดา มกี ารบริหารและการจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ ตรวจสอบได้ โดย โรงเรียนไดใ้ ช้มีการประชุม เพ่อื ให้ทุกฝ่ายมสี ่วนร่วมในการกำหนดวสิ ัยทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมาย ที่ชัดเจน มกี ารปรับ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพฒั นา นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา และนโยบายของหนว่ ยงานต้นสังกัด สถานศกึ ษากำกับ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ ง เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกี่ยวขอ้ งมีสว่ นร่วม และมีเครอื ข่ายความรว่ มมือใน การรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษา ทั้งน้ีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ได้รับรางวลั จากหน่วยงาน ทางการศึกษาซ่ึงแสดงถึงศักยภาพของสถานศึกษาและวิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศสามารถเป็นตัวอย่างให้กับสถานศึกษา อ่นื ได้ ➢ จุดท่ีควรพัฒนา 1. สถานศึกษาควรมีการสร้างเครือข่ายความรว่ มมือกับชุมชน ในการบริหารและขับเคลื่อนคุณภาพของ การจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา 2. สถานศึกษาควรมีการสนับสนุนและพัฒนาต่อยอดให้บุคลากรมีผลงานดีขึ้น และเผยแพร่ผลงาน เชิงประจกั ษ์ทน่ี ำมาพฒั นาผ้เู รยี นให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานและค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
P a g e | 119 3. บุคลากรในโรงเรียนควรให้ความสำคัญกับการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบและ ตอ่ เน่ือง และพฒั นาบุคลากรให้เข้าใจชัดเจนเก่ียวกบั ระบบประเมินคุณภาพ การพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพ ภายในตามกฎกระทรวงให้เปน็ งานประจำ หลักฐานประกอบการประเมิน 1. โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการ รชั ดา มีการบริหารและการจดั การอยา่ งเป็นระบบ ตรวจสอบได้ โดย โรงเรียนได้มีการประชมุ เพอ่ื ให้ทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม
P a g e | 120 รายงานผลการดำเนินงานตวั ช้ีวดั ท่ี 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการท่เี นน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบด้าน ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย ค่าเป้าหมายระดบั คณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม กลุม่ /งาน งานพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ผลการประเมินระดับคณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม ขั้นการวิเคราะห์หลกั สตู ร P การพัฒนาหลักสตู ร 2566 (Curriculum Analysis) Plan D (Curriculum Development) Do การประเมินหลกั สตู ร A C ข้นั การนำหลกั สูตรไปใช้ (Curriculum Evaluate) (Curriculum Implement) Act Check แผนภาพวงจรคณุ ภาพ PDCA พฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาโดยการนำวงจรคุณภาพ PDCA (Plan-Do-Check-Act) หรือท่ี เรียกว่าวงจรเดมิง (Deming Cycle) มาใช้ จึงทําให้หลักสูตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา มีการ บรหิ ารจัดการท่ีเป็นระบบและสามารถ ตรวจสอบ แก้ไข และปรบั ปรงุ หรอื พฒั นาหลกั สูตร ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ และทันยคุ ทันสมยั มากยงิ่ ขน้ึ การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan) เป็นขั้นตอนของการตรวจสอบหลักสูตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ท่ีละส่วนในแต่ละ องค์ประกอบของหลักสูตร เพ่ือดูให้แน่ใจว่าแต่ละส่วนของหลักสตู รครบถ้วน เหมาะสม หรือยังมีส่วนใดบกพร่อง
P a g e | 121 อยู่ เพื่อจะแก้ไขให้ครบถ้วน เหมาะสม และสอดคล้องกันย่ิงขึ้น เป็นการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร นอกจากน้ียังมีการแต่งตั้งคณะกรรมการการวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อตรวจสอบหลักสูตร แยกทีละส่วนเพื่อการ เตรียมการสอน และการประเมินผลการเรยี นใหม้ คี ุณภาพ การปฏิบตั ติ ามแผนทวี่ างไว้ (Do) เป็นขั้นการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) คือการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนเตรียม อุดมศกึ ษาพฒั นาการ รชั ดา ทม่ี ีอยู่แล้วให้ดีข้ึนกว่าเดิม โดยมีการพัฒนาหลักสูตรห้องเรียนพิเศษเพ่ิมเติมจำนวน 2 หลักสูตร ซ่ึงโรงเรียนมีการดำเนินการอย่างเป็นกระบวนการและเป็นข้ันตอน โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนนิ งานพัฒนาปรับปรงุ หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษาพฒั นาการ รัชดา ปีการศกึ ษา 2565 ข้ึน นอกจากน้ีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ยังมีการปรับปรุงรายพัฒนารายวิชาในแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ใหม้ ีคุณภาพทันยุคสมัยยิง่ ข้นึ มกี ารนำผลการสำรวจอาชีพในอนาคตของผเู้ รียนมาพัฒนาแผนการเรียน ของผเู้ รยี นได้อย่างเต็มศักยภาพ การตรวจสอบผลทไ่ี ดร้ บั จากการปฏิบตั งิ านตามแผนทว่ี างไว้ (Check) เป็นขั้นการนำหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implement) โดยครูและบุคลากรทางการศึกษาการนำ หลักสูตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา พุทธศักราช 2565 ไปใช้เป็นแนวทางในการจดั การเรียนการ สอนในสภาพจรงิ และสอดคล้องกับสถานการณ์ การปฏบิ ตั ิการแก้ไข ถา้ ไม่ได้ตามเป้าหมายเพือ่ ตอ่ ยอดการปรบั ปรงุ (Act) ขั้นตอนการประเมินหลักสูตรของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา โดยการแต่งตั้ง คณะกรรมการประเมินผลการใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยผ้มู สี ่วนเก่ียวข้องกับหลักสูตรและครูผู้สอนรว่ มประเมิน เพอื่ ตรวจสอบความสำเรจ็ ของหลกั สูตร เพือ่ นำผลการประเมิน ไปปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสูตรต่อไป ผลการประเมนิ (จุดเดน่ ) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา มีหลกั สูตรสถานศึกษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล และพัฒนา ผ้เู รียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก ท่ีประกอบดว้ ยโครงสรา้ ง และองคป์ ระกอบของหลกั สตู ร ครบถ้วน สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของผ้เู รียน และท้องถน่ิ ผ้บู ริหาร ครูและผูป้ กครอง ตลอดจน ชุมชนมีสว่ นร่วมในการจัดทำหลกั สตู ร โดยมีองค์ประกอบครบถ้วนถูกต้องสมบูรณ์ ได้แก่ วิสัยทัศน์ จุดหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างเวลา เรียนคำอธิบายรายวิชา แนวทางการดำเนินการ จัดการเรียนรู้การวัดและประเมนิ ผล หลกั สูตรผ่านความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติครอบคลุมทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีระบบการนิเทศติดตามการใช้หลักสูตร มีหลักสูตรท่ีหลากหลาย
P a g e | 122 สนองตอบต่อความต้องการ ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทุกรายวิชา มีโอกาสลงมือปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือ สถานการณ์จำลอง มีการติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา นำข้อมูลผลการประเมินไปทบทวน ปรบั ปรงุ พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาตอ่ ไปได้ จุดทคี่ วรพฒั นา ศกึ ษาขอ้ มูลบรบิ ททอ้ งถนิ่ และพฒั นาหลกั สูตรทอ้ งถ่นิ ของโรงเรียนเตรียมพฒั นาการ รัชดา ให้เปน็ รูปธรรม ชดั เจนมากยง่ิ ข้นึ ผลการดำเนินงานตวั ช้วี ัดที่ 2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ คา่ เป้าหมายระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม กลุ่ม/งาน งานพัฒนาบคุ ลากรและเสรมิ สรา้ งประสทิ ธภิ าพ การปฏบิ ตั ิราชการ ผลการประเมินระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม กระบวนการพฒั นา (PDCA) การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan)
P a g e | 123 การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา กำหนดโครงการและกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาครูและ บคุ ลากรให้มีการพัฒนาการจัดการเรียนรู้สร้างสรรคส์ ื่อนวัตกรรม เพ่ือพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ทางวชิ าชีพ ใหต้ รงตามความต้องการของครูและโรงเรียน การปฏิบัติตามแผนท่วี างไว้ (Do) โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษาพฒั นาการ รชั ดา ส่งเสรมิ ครูทุกคนเขา้ ร่วมประชมุ อบรม สมั มนา และจัดใหม้ ี ชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี ในแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้อย่างต่อเน่อื ง ใหค้ รูมีเทคนิค กระบวนการเรยี นการสอน ท่หี ลากหลายและมีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ การตรวจสอบผลท่ีไดร้ บั จากการปฏบิ ัตงิ านตามแผนที่วางไว้ (Check) โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษาพัฒนาการ รัชดา ไดด้ ำเนินงานตามโครงการและกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพครูและ บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพจากการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้รับการอบรมตรงตามหลักสูตร สง่ เสริมการจดั ทำผลงานทางวิชาการมีการขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC “ชุมชนการเรยี นรูว้ ิชาชีพ” สู่สถานศึกษา และส่งเสริมให้ครูและบุคลากร รับการอบรมพัฒนาตนเอง สอดคล้องกับ หน้าท่ีท่ีปฏิบัติ และเข้ารับการอบรม พัฒนาตามนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมไปถึงการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครู และ บุคลากรทางการศึกษาได้เล่ือนวทิ ยฐานะให้สงู ขึ้นเมือ่ ถงึ กำหนด อีกทัง้ โรงเรียนยงั ไดส้ นับสนุนให้ครูทุกคนได้จัดทำ แผนพฒั นาตนเองของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา (ID PLAN) การปฏบิ ัตกิ ารแก้ไข ถ้าไมไ่ ด้ตามเปา้ หมายเพือ่ ตอ่ ยอดการปรบั ปรุง (Act) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา มีระบบการนิเทศ ติดตาม และการปรับปรุงพัฒนาผลการ ดำเนินการที่เหมาะสม โดยมุ่งเน้นการประเมินเพ่ือการพัฒนาด้วยระบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินท่ี ดำเนินการอยา่ งต่อเน่ือง สถานศึกษามีการพัฒนาบคุ ลากรในสถานศึกษาให้มคี วามพร้อมในการจดั การศึกษา โดย การส่งเสรมิ ให้เข้าร่วมการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง รวมทั้งในสถานศึกษายังมีการจัดอบรม ประชุมเพ่ือพัฒนา บุคลากรเป็นประจำรวมท้ังส่งเสริมให้บุคลากรท่ีได้รับการพัฒนาจากหน่วยงานต่างๆ ขยายผลการอบรม ประชุม สัมมนาให้บุคลากรอื่น ๆ ในสถานศึกษารับทราบ
P a g e | 124 จดุ เด่น 1. มีแผนปฏบิ ัติการประจำปี มีความสอดคล้องกบั การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มคี วามรู้ ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่ง 2. โรงเรียนมกี ารนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม และประเมินผลพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา จุดทีค่ วรพฒั นา จดั กจิ กรรมพฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี ให้ตรงตามความตอ้ งการของครูและ โรงเรยี นมากขึ้น ภาพการขอมวี ิทยฐานะหรือขอเลอื่ นวิทยฐานะ ตำแหนง่ ครู
P a g e | 125 รายงานผลการดำเนนิ งานตัวชวี้ ดั ที่ 2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ ออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ ค่าเปา้ หมายระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม กลมุ่ /งาน งานอาคารสถานที่และส่ิงแวดลอ้ ม ผลการประเมินระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม งานอาคารสถานที่และส่ิงแวดล้อม มีความรับผิดชอบสถานท่ี ภูมิทัศน์ ความปลอดภัย การดูแลอาคาร ห้องเรียน ห้องน้ำ พร้อมกับการวางมาตรการประหยัดพลังงาน การจัดทำแผนปฏิบัติงานด้านการซ่อมแซม ปรับปรุง บำรุงรักษา ด้านสาธารณูปโภค ด้านความสะอาด ระบบการจัดและจองสถานท่ีการใช้งานการ ดูแล ภูมิทัศน์ ดำเนินงานตามนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนกลยุทธ์ สนับสนุนการดำเนินกิจกรรม/โครงการ สามารถให้บริการแก่ครู นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา และผู้ที่มาติดต่อราชการกับโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ รัชดา กระบวนการพัฒนา (PDCA) การวางแผน (Plan) โดยกำหนดนโยบาย ประชุม ระดมแนวคดิ และดลุ ยพินจิ ของบคุ คลในโรงเรยี น โดย “การร่วมคิด ร่วมทำ” เพอ่ื สรา้ งความรู้สกึ ของการมสี ว่ นรว่ มของบุคลากรในโรงเรยี น โดยเน้นใหท้ กุ คนมคี วามรู้สึกของความเป็นเจา้ ของ การปฏบิ ัตติ ามแผนทวี่ างไว้ (Do) จัดสภาพแวดลอ้ มทางวิชาการ การจดั บรรยากาศการเรียนการสอนทัง้ ในและนอกห้องเรียน ตลอดจนการ จัดบริการเพื่อส่งเสริม สนับสนุนทางวิชาการต่างๆ ท่ีจะทำให้นักเรียนได้รับความรู้ ประสบการณ์ให้มากท่ีสุด ภายใต้บรรยากาศที่มี ชีวิตชีวา แจ่มใส มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีความสุขในการเรียนรู้ มีบรรยากาศการ บริหารจดั การในกล่มุ งานทีเ่ ปน็ กัลยาณมิตร การตรวจสอบผลทีไ่ ด้รบั จากการปฏบิ ัติงานตามแผนทว่ี างไว้ (Check) ประชุมและแจ้งให้บุคลากรในโรงเรียนมีส่วนร่วม มีการนำเสนอข้อมูลจากการสำรวจสภาพปัจจุบัน มากำหนดเป็นนโยบาย ดำเนินการแก้ปญั หาและพฒั นางานของโรงเรียน การมอบหมายงานหรอื การสั่งการ เป็นไป ตามสายการบังคับบัญชา เหมาะสมกบั ความสามารถ ไมเ่ กินกำลัง มอบหมายงานแล้วตดิ ตาม ดแู ล ชว่ ยเหลือและ มีการสอบถาม ดแู ลความเหนด็ เหน่อื ย ยกย่องชมเชย มกี ารขวญั กำลังใจ
P a g e | 126 การปฏิบัตกิ ารแกไ้ ข ถ้าไม่ได้ตามเป้าหมายเพื่อตอ่ ยอดการปรับปรงุ (Act) สถานศึกษาส่งเสริมการสร้างความตระหนักให้กับครูและบุคลากร รวมท้ังผู้เรียนมีส่วนร่วมในการดูแล รกั ษา พัฒนาและปรับปรุงด้านอาคารสถานทแ่ี ละระบบสาธารณูปโภคใหม้ คี วามพรอ้ มทง้ั ด้านการใช้งานและรกั ษา ความปลอดภัยตามาตรฐาน สภาพแวดล้อมสวยงาม สะอาด ร่มรื่น เอ้ือต่อการเรียนรู้สามารถใช้งานได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ ผลการดำเนนิ งาน ผู้บรหิ าร บุคลากร ครู นักเรียน ตลอดจนบุคคลภายนอก มีความประทับใจในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ รัชดา สามารถปฏิบัติหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ และปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ อันเกิดจาก สภาพแวดล้อมและอาคารสถานท่ีท้ังภายในและภายนอกอาคาร มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม มีป้าย นิเทศแนะนำการปฏิบัติงานต่างๆ มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้รวมถึงมีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ภายในโรงเรียนใหม้ ีระบบสารสนเทศเพียงพอต่อการใชง้ าน ให้สามารถศึกษาคน้ คว้า จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศได้ ตลอดเวลา ทนั ต่อเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ส่งผลให้ผูเ้ รยี นมสี ุขภาพกาย สขุ ภาพจิตทดี่ ีส่งผลต่อ การเรยี นรูท้ ี่ดี จดุ เด่น ความสามารถในการบริหารงานอาคารสถานทีข่ องโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา จนส่งผลดี ต่อการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียน และโรงเรียนมีวัสดุอุปกรณ์ ส่ิงอำนวยความสะดวก ระบบความปลอดภั ย ประจำอาคารเพียงพอ มีการประหยัดพลังงาน มีแหล่งเรียนรู้ใกล้โรงเรียน เช่น ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เป็นต้น ตลอดจนสามารถพัฒนางานด้านระบบสาธารณปู โภคอย่างเพียงพอ โดยมชี ุมชนและบุคลากรภายนอกเข้า มามีสว่ นร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมของโรงเรยี น จุดควรพัฒนา สภาพอาคารเรียน ห้องเรียน และระบบสาธารณูปโภคในโรงเรียนบางสว่ นมีการใชง้ านมานานและใช้งาน อยู่ตลอดเวลาจึงชำรดุ ซึง่ ยากต่อการซอ่ มบำรงุ ในทนั ทแี ละงบประมาณยังมีไมเ่ พียงพอ
P a g e | 127 ผลการดำเนินงานตามตัวช้ีวัดท่ี 2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้ ระดบั คา่ เปา้ หมายยอดเยีย่ ม กลมุ่ /งาน งานเทคโนโลยแี ละโสตทศั นศึกษา ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม กระบวนการพฒั นา (PDCA) การวางแผนการดำเนินงาน (Plan) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา มีการวางแผนเก่ียวกับการสนับสนุนการบริหารจัดการ และ การจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนในช่วงการจัดการเรียนรู้แบบ Hybrid และการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 100% โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือสำคัญในการดำเนินงานต่าง ๆ ท้ังความพร้อมท้ังโครงสร้างพ้ืนฐานของ ระบบสารสนเทศ (Hardware) และระบบฐานข้อมูล หรือโปรแกรม ประยุกต์ (Software) ไว้บริการในส่วนงาน ต่าง ๆ ของโรงเรยี น เชน่ ห้องถ่ายทอดสดของโรงเรียน การปฏิบัตติ ามแผนท่ีวางไว้ (Do) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รชั ดา พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ สนบั สนนุ การบรหิ าร จัดการและจัดการเรียนรู้ให้กับห้องเรียนทุก ๆ ห้อง มีวัสดุอุปกรณ์ ที่พร้อมต่อการจัดการเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็น โปรเจคเตอร์ ระบบเสียง มีสัญญาณอินเทอร์เน็ต Wi-Fi เพ่ือให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าหาความรู้และสอดรับกับการจัด การเรียนการสอนรูปแบบ Online ผ่าน Google Classroom, Google Meet, Zoom, Line มีระบบการบันทึก เวลาเข้าโรงเรียน การใชง้ านหอ้ งสมดุ ออนไลน์ มคี อมพวิ เตอรท์ ่ีเพียงพอตอ่ การจัดการเรยี นรู้ มีห้องศูนย์ปฏิบัตกิ าร ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่จี ัดให้นักเรียน ไดศ้ ึกษาค้นคว้าอยา่ งเพียงพอ ทง้ั น้ีระบบสารสนเทศท่ีโรงเรยี น จัดซ้ือมา เพื่อใช้งาน หรือใช้โปรแกรม ซึ่งจัดเตรียมให้หน่วยงานต่าง ๆ ใช้ ได้แก่ ระบบรับสมัครนักเรียน เว็บไซต์โรงเรียน เว็บเพจ Facebook ระบบการส่งคะแนน ระบบการบริหารจัดการทางด้านธุรการ การบริหารงานบุคคล มี 2 ระบบ คือการบรหิ ารงานบุคลากร และการบรหิ ารงานนักเรยี น การตรวจสอบผลทีไ่ ด้รับจากการปฏบิ ตั ิงานตามแผนที่วางไว้ (Check) ประชมุ และแจ้งบุคลากรในโรงเรยี น เก่ียวกบั ความตอ้ งการการใช้ระบบเทคโนโลยี เพ่ือจัดกิจกรรมตา่ งๆ ตามโครงการ/กิจกรรมท่ีจดั ขนึ้ กำกบั ติดตาม และประเมินผลการใช้ระบบเทคโนโลยี
P a g e | 128 การปฏบิ ตั กิ ารแกไ้ ข ถา้ ไม่ได้ตามเปา้ หมายเพ่อื ตอ่ ยอดการปรับปรงุ (Act) การต่อยอดพัฒนาอินเตอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) อย่างท่ัวถึงทุกบรเิ วณภายในโรงเรียน เพ่ือการจดั การเรียน การสอน การค้นคว้าข้อมูลนอกห้องเรียน และระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตท่ีมีความเสถียร ทำให้นักเรียน ครู สามารถใช้อินเตอร์เน็ตค้นคว้าหา ความรู้ พัฒนาองค์ความรู้ของนักเรียนให้สูงข้ึน และไร้ขีดจำกัดเร่ืองเวลาและ สถานท่ี ➢ จุดเดน่ โรงเรียนได้นำเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลอย่างทั่วถึงและเป็นระบบ ส่งผลให้การ บริหารจัดการข้อมูลมีประสิทธภิ าพ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การถา่ ยทอดสอดในห้องดิจิทัล ทำให้เกิดผลความพงึ พอใจ ในการใช้บริการอยู่ในระดับสูง ➢ จดุ ควรพฒั นา - หลักฐานประกอบการประเมิน โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ รชั ดา มีการสนับสนุนการบริหารจัดการ และการจดั การเรยี นรูข้ อง โรงเรียน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินงานต่าง ๆ มีความ พร้อมทั้งโครงสร้าง พ้ืนฐานของระบบสารสนเทศ (Hardware) และระบบฐานข้อมูล หรือโปรแกรม ประยุกต์ (Software) ไว้บริการ สว่ นงานตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น เช่น ➢ ระบบรับสมัครนกั เรียน ➢ เวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น : www.tupr.ac.th
P a g e | 129 ➢ เพจ Facebook : Triamudomsuksapattanakarn Ratchada School ➢ ระบบการส่งคะแนน ➢ ระบบการบรหิ ารจัดการทางด้านธุรการ ➢ การบริหารงานบุคคล มี 2 ระบบ คือการบรหิ ารงานบคุ ลากร และการบรหิ ารงานนักเรยี น
P a g e | 130 ผลสรุปมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ จุดเดน่ โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการ รัชดา มีระบบการบริหารจัดการทด่ี ี ชดั เจน เปน็ ระบบ ตรวจสอบได้ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ และมีภาวะผู้นำในการบริหารงานทุกกลุ่มงาน มีการกระจายอำนาจออกเป็นกลุ่มบริหาร 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีรองผู้อำนวยการและผู้ช่วยรองผู้อำนวยการ ดูแลรับผิดชอบ การแต่งต้ังคณะกรรมการ ดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรมตา่ ง ๆ และมีการประชุม ปรึกษาหารอื กำกบั ติดตามอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะ โรงเรยี นดำเนินงานโดยเน้นการมีส่วนร่วมจากฝา่ ยบรหิ าร ครู นกั เรยี น ผู้ปกครอง และชมุ ชน ทั้งภาครัฐและเอกชน มกี ารระดมทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษา และเงินบริจาคทำให้โรงเรียนสามารถจดั กิจกรรมเพอื่ ตอบสนองความต้องการ ของผู้เรียนและพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพ มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจำปีท่สี อดคล้องกับผลการจดั การศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา และ นโยบายของหนว่ ยงานต้นสังกดั สถานศึกษากำกับ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง และมี เครือข่ายความร่วมมือในการรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษา หลักสูตรสถานศกึ ษาเทียบเคียงมาตรฐานสากล และ พัฒนาผู้เรียนให้มศี ักยภาพเป็นพลโลก มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีความรูค้ วามเชย่ี วชาญตาม มาตรฐานตำแหน่ง โดยมีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเป็นระยะ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ท้ังนโ้ี รงเรียนเตรียมอดุ มศึกษาพัฒนาการ รชั ดา ไดร้ บั รางวัลจากหน่วยงานทางการศึกษาซึง่ แสดงถึง ศักยภาพของสถานศกึ ษาและวิธีปฏบิ ตั ิที่เป็นเลิศสามารถเป็นตัวอย่างให้กับสถานศกึ ษาอ่นื ได้ จดุ ควรพฒั นา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒ นาการ รัชดา ควรมีการพัฒ นาเกี่ยวกับกระบวนการบริหาร และการจัดการของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ดงั ต่อไปน้ี 1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มี ความเขม้ แข็ง มสี ่วนรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา และการขบั เคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา
P a g e | 131 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ระดับคณุ ภาพ : ยอดเย่ียม กระบวนการพัฒนา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา ดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน เปน็ สำคัญโดยการดำเนนิ งาน/กิจกรรมอย่างหลากหลายคำนึงจึงความแตกต่างระหวา่ งผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนา กระบวนการงานหลกั สูตร มีการประชุมปฏิบัติการเพ่ือปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ปจั จุบัน จดั ทำคู่มือการบูรณาการภาระงาน ช้ินงาน ระหวา่ งกลมุ่ สาระการเรียนรู้และรายวชิ า ซ่ึงบรู ณาการหลาย วิชาร่วมกัน มีการติดตามและตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจน ประเมินผลโดยเน้นการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของ หลักสูตรสถานศกึ ษาการดำเนินงานของโครงการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเพ่ือการพัฒนาต่อไปโรงเรียนสนับสนุนให้ นกั เรยี นได้แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เช่น การเข้าร่วมแขง่ ขันกีฬา ดนตรีและศิลปะ และการเข้าร่วมแข่งขันทกั ษะ ทางวิชาการในยุค New Normal โดยโรงเรียนมผี ลงานด้านภาษาไทย ภาษาญี่ป่นุ ภาษาจีน รางวลั ด้านกฬี า ดนตรี และศิลปะหลายประเภท โรงเรียนกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่สี อดคลอ้ งกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนนุ ให้ ครูออกแบกระบวนการจัดการเรียนรู้ท้ังแบบ Online/On Site และรูปแบบ Hybrid เน้นการประเมินผลที่ หลากหลายคำนึงถึงความแตกตา่ งของผู้เรียนเป็นสำคัญและจัดการเรียนการสอนทีส่ ร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมี สว่ นร่วม จัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นทักษะการคดิ และลงมือปฏิบัติ เช่น การจัดการเรียนรู้ดว้ ยโครงงาน IS การ เรียนผา่ นระบบ Google Classroom การมอบหมายงานให้นักเรยี นดำเนินการทำรว่ มกัน ครูมีการใช้ส่ือการเรยี น การสอน นวัตกรรม และเทคโนโลยี มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนท่ีใช้ในการจัดการ เรียนการสอนในกิจกรรมการนเิ ทศการศึกษาโดยผูบ้ รหิ าร จนไปถงึ ได้ให้ครนู ำผลงานคลปิ การจดั การเรียนการสอน ออนไลน์ของตนเองเขา้ รว่ มประกวดคลิปการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ยอดเย่ียม ส่งเสรมิ ครทู ุกคนใหม้ ีการทำ วิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เร่ือง และได้รับการตรวจให้คำแนะนำ โดยอาจารย์มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญ และมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถทางด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือการพัฒนาตนเองและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยมีการอบรม ประชุม เพ่ิมความรู้อย่าง ต่อเนื่องในรูปแบบออนไลน์ ครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนโดยใช้เคร่ืองมือ วิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับนักเรียน ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนและนำผลมาพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ กระบวนการวิจัย การประชุม PLC ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาและแก้ไขปัญหาในด้านการเรียนการ สอน ครมู ีการบริหารจดั การชัน้ เรยี นเชิงบวกเพ่ือให้นักเรยี นรกั ท่จี ะเรียนรู้ และอยู่รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ
P a g e | 132 ผลการดำเนนิ งานตามตวั ช้ีวัดที่ 3.1 จัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ ระดับคา่ เปา้ หมาย 82.00 กลุ่ม/งาน สำนกั งานกล่มุ บรหิ ารวิชาการ ผลทไี่ ด้ 94.35 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม กระบวนการพัฒนา (PDCA) การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan) ในปีการศึกษาน้ี สถานการณ์รูปแบบการจัดการเรียนการสอนได้กลับมาอยู่ในห้องเรียนปกติ ดังนั้น ประเด็นที่ควรตระหนักถึงคือ การเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนที่ต้องพัฒนาท้ังผู้เรียนและ ครผู ู้สอนใหเ้ กดิ กจิ กรรมการสร้างความคนุ้ เคย และสรา้ งสถานการณก์ ารเรียนร้รู ่วมกนั ดังน้ันให้ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ในรายวิชาออกแบบการจัดการเรียนรู้ ท่ีให้ผู้เรียนได้มีโอกาส ปฏิสัมพันธก์ ันมากขึ้น รวมไปถงึ การพัฒนากจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ที่สามารถ นําไปใชไ้ ด้ เป็นประโยชนต์ ่อผู้เรียน
P a g e | 133 จึงเป็นส่ิงท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความใฝ่รู้อยากเรียนรู้ จึงได้มีการประชุมวางแผนการจัดการเรียนการสอนใน รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อส่งเสริมให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนา สมรรถนะผู้เรียนสร้างความรู้ด้วย ตนเอง มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้แบบรวมเชื่อมโยงความรู้ ทักษะ และ คณุ ลกั ษณะผู้เรียนเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ยการลงมือปฏิบัติจรงิ รวมไปถึงการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) การปฏบิ ตั ติ ามแผนที่วางไว้ (Do) เริ่มดำเนินกิจกรรมประชุมวางแผนการเตรียมความพร้อมในห้องเรียนท้ังครูผู้สอนและนักเรียน ด้าน ครผู ู้สอนเน้นการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) รวมไปถึงการพัฒนา รูปแบบกิจกรรมสง่ เสริมรายวิชาที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน รวมไปถึงการ ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพครผู ูส้ อนในการอบรมดา้ นการจัดการเรยี นการสอน ด้านนักเรียน สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นได้ มีโอกาสนำส่ิงที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ผ่านกิจกรรมส่งเสริมรายวิชา กิจกรรมการประกวดแข่งขันท้ังภายในและ ภายนอก การตรวจสอบผลที่ได้รบั จากการปฏิบัตงิ านตามแผนท่วี างไว้ (Check) ใช้กระบวนการนิเทศภายในสถานศกึ ษา คณะผบู้ ริหารและหัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้เมื่อได้มีสว่ นร่วมใน การประเมินกระบวนการการจัดการเรียนการสอนในด้านต่างๆของครูตามแบบประเมินที่กำหนด (แบบประเมิน นิเทศ) พร้อมทั้งให้ผู้สอนรายงานผลการนิเทศการจัดการเรียนรู้รายบุคคลเพื่อมาสรุปผลรวมและประเมินระดับ คณุ ภาพ อกี ท้ังยงั สามารถนำผลประเมินทไ่ี ดไ้ ปปรับจดุ ด้อยพัฒนาจุดเด่นของตนเองในแตล่ ะด้านทีส่ ่งผลใหผ้ ูเ้ รยี นมี ระดับผลสัมฤทธิ์รายวิชาที่สูงข้ึน (อ้างอิงจากมาตรฐานที่ 1 ข้อท่ี 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา) รวมไปถึงการท่ีครนู ำผลพัฒนาตนเองไปตอ่ ยอดการพัฒนา มีโอกาสนำสื่อและนวัตกรรมกระบวนการ จัดการเรียนการสอน ได้เข้าร่วมการแข่งขันการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาของตนเองเพื่อเป็นการสร้าง แรงจงู ใจความภาคภูมใิ จในการพฒั นาตนเองต่อไป ส่วนของผู้เรียน นักเรียนเม่ือได้มีส่วนร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการทั้งภายในและภายนอกต่างๆ สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นมคี วามเชื่อม่ันในตนเอง กล้าแสดงออกในทางท่ีเหมาะสม และเป็นการเรยี นรู้ผ่านกิจกรรมสง่ เสริม ศักยภาพผเู้ รยี นจากการลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ การปฏบิ ัติการแก้ไข ถ้าไม่ได้ตามเปา้ หมายเพอื่ ตอ่ ยอดการปรบั ปรุง (Act) ถ้าผลการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ จะย้อนกลับไปสู่การวางแผนที่จุดเริ่มต้นอีกคร้ัง เพ่ือปรับปรุงซ่อมเสริม แก้ไขจุดด้อย ส่งเสริมกำลังใจและให้โอกาสครูในการพัฒนาปรับปรุงตนเองรวมไปถึงการ วางแผนการส่งเสริมพัฒนาครูการอบรมครูในเรื่องที่ควรส่งเสริม และการวิเคราะห์ผลพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษาในแตล่ ะรายวชิ าเพือ่ แก้ไขพัฒนาให้ตรงจุดท่คี วรพัฒนา
P a g e | 134 จดุ เด่น การที่ครูผู้สอนท่ีเนน้ การจัดการเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวิตได้ จะมีการสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนท่ีได้รับการนิเทศจากการมีส่วนร่วมของผู้บริหารและ หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ ทีไ่ ด้สังเกตการณ์ประจักษ์จริงในห้องเรยี น ได้รับข้อเสนอแนะ การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ และผู้สอนได้มีความกระตือรือร้นตนเองท่ีจะพัฒนาการจัดการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรมอย่างสม่ำเสมอ ตลอดปีการศึกษาจนนำไปสู่การการนำผลงานสื่อและนวัตกรรมของตนเองไปประกวดภายนอก และสะท้อนผล กลับทีด่ ีแกผ่ เู้ รียนท่ีมีผลสมั ฤทธท์ิ ่มี ีคา่ เป้าหมายเพม่ิ สงู ข้ึน ผู้เรยี นเม่ือได้มีโอกาสเข้าร่วมการแข่งขนั ทกั ษะทางวชิ าการดา้ นต่าง ๆ เพื่อพฒั นาศักยภาพของตนเองแล้ว ทำให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาจุดเดน่ และเลือกตามความถนัดของตนเอง นำไปสู่ถึงการเลือกศึกษาต่อในสาขาวิชาท่ี ตนเองมีความสามารถในอนาคตต่อไปได้ ผ้สู อนและผูเ้ รียนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนร้ใู นระหวา่ งทป่ี ฏบิ ัตกิ จิ กรรมร่วมกัน ท่ีออกแบบกจิ กรรมการ จดั การเรียนรู้เชิงรุก ท่ีเนน้ ให้ผูเ้ รียนไดล้ งมือปฏิบัติจรงิ เมอื่ นกั เรียนประสบผลสำเร็จ ทำให้เกดิ เจตคตทิ ด่ี ีและสร้าง ความภาคภูมใิ จของตนเอง จุดที่ควรพฒั นา ควรเพิ่มเติมในส่วนของการท่ีให้ครูสังเกตจุดที่ควรพัฒนาตนเอง และเน้นการสร้างการแลกเปลี่ยนการ เรียนรบู้ ูรณาการกับสาระรายวิชาอ่ืน รวมไปถึงการสร้างองค์ความรู้บรู ณาการหนว่ ยการเรียนกับสาระรายวิชาอ่ืน รวมไปถึงพฒั นาวเิ คราะห์ผเู้ รยี นรายบคุ คลเพ่ือพฒั นาผู้เรียนทม่ี คี วามแตกต่างและออกแบบการจดั การเรียนรู้ท่เี น้น ความแตกต่างของผู้เรียนเป็นสำคัญ ผลการประเมินนิเทศครดู า้ นการจดั การเรียนการสอนภายในสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 สรุปผลการประเมิ นนิ เทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ กลยทุ ธการเรยี นรู้ สอ่ื /นวตั กรรม 2299..583944.24 3300..344422.10 2390..531049.27 2390..372322.94 3300..345405.59 2299..358325.59 3300..302402.11 2390..350306.56 330.1.553006.00
P a g e | 135 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565 สรุปผลการประเมิ นนิ เทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ กลยทุ ธการเรยี นรู้ สอ่ื /นวตั กรรม 330.1.633734.80 3300..353554.70 3300..463644.17 3300..003064.53 3300..243324.12 2289..813512.63 2390..380290.89 3300..243244.06 239.0.000304.00 รายชอื่ ครูท่ไี ด้รบั รางวลั การประกวดคัดเลอื กหนว่ ยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) ทีเ่ ปน็ แบบอย่าง ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้ และปลาย ระดับเขตพืน้ ท่ีการศึกษา สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 2 ลำดบั ที่ ช่อื -นามสกลุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รางวัลที่ได้รบั 1 นายธีระพงศ์ บัวทมุ คณติ ศาสตร์ รางวลั ชนะเลศิ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2 นางสรุ สั ดา ทนงศกั ดิช์ ัยกุล ภาษาไทย รางวลั ชนะเลิศ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3 นางสาวณัฏฐณิชา รตั นประทมุ ศลิ ปะ รางวลั รองชนะเลิศ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น 4 นางสาวภทั ธพร โคสาสุ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน (แนะแนว) รางวัลรองชนะเลิศ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 5 นางสาววิไลวรรณ กล่นิ ขจร ภาษาไทย รางวลั รองชนะเลศิ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 6 นางสาวรชั นีกร รอดเกล้ยี ง ภาษาตา่ งประเทศ รางวลั รองชนะเลศิ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 7 นางสาวสริ ิณัฐ เวชกามา สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รางวัลรองชนะเลิศ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
P a g e | 136 การประกวดแผนการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รุก Active Learning ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนและระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ในโครงการพฒั นาบคุ ลากรโรงเรยี นในเครอื เตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสู่ความเป็นเลิศ คร้ังท่ี 8 ปีการศกึ ษา 2565 ลำดับที่ ชอ่ื -นามสกลุ กล่มุ สาระการเรียนรู้ รางวลั ที่ได้รบั สุขศึกษาและพลศกึ ษา รางวลั ชนะเลิศ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 1 นายจาตุรนต์ มหากนก รางวลั ชนะเลศิ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาษาไทย 2 นางสรุ สั ดา ทนงศักดิ์ชยั กุล สรุปผลการเข้ารว่ มแขง่ ขนั โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ รชั ดา สพม. กรุงเทพมหานคร เขต 2 งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียนระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา คร้งั ที่ 70 ปีการศกึ ษา 2565 สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 2 ณ สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 2 ระหว่าง วันที่ 6-17 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ.2565 สรปุ ผลการเข้ารว่ มแข่งขนั จำนวน เหรียญทอง 42 เหรียญเงิน 21 เหรยี ญทองแดง 11 เข้าร่วมการแขง่ ขัน 11 รวม 85 สรปุ ผลการแข่งขนั โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการ รชั ดา งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ครงั้ ท่ี 70 ปีการศกึ ษา 2565 เหรยี ญทองแดง เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั 13% 13% เหรยี ญทอง 49% เหรยี ญเงนิ 25% เหรยี ญทอง เหรยี ญเงนิ เหรยี ญทองแดง เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั
P a g e | 137 สรปุ ผลการเขา้ ร่วมแขง่ ขนั โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการ รัชดา สพม. กรุงเทพมหานคร เขต 2 งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ระดับชาติ ภาคกลางและภาคตะวันออก คร้งั ที่ 70 ปกี ารศกึ ษา 2565 สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา ณ จังหวดั ราชบุรี ระหวา่ ง วนั ท่ี 25 - 27 มกราคม พ.ศ.2566 สรุปผลการเข้ารว่ มแข่งขนั จำนวน เหรียญทอง 3 เหรียญเงิน 2 เหรียญทองแดง 2 เข้ารว่ มการแข่งขัน 1 รวม 8 สรปุ ผลการแขง่ ขนั โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการ รชั ดา งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นระดบั ระดบั ชาติ ภาคกลางและภาคตะวนั ออก ครงั้ ท่ี 70 ปีการศกึ ษา 2565 เหรยี ญเงนิ เหรยี ญทองแดง เขา้ ร่วมการแขง่ ขนั 4% 4% 2% เหรยี ญทอง 90% เหรยี ญทอง เหรยี ญเงนิ เหรยี ญทองแดง เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั
P a g e | 138 ผลการดำเนนิ งานตามตัวช้ีวดั ที่ 3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรูท้ เ่ี อือ้ ต่อการเรยี นรู้ ระดบั คา่ เปา้ หมาย 82.00 กลุม่ /งาน งานพฒั นาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี ผลที่ได้ 94.24 ระดับคุณภาพ ยอดเยีย่ ม กระบวนการพฒั นา (PDCA) การวางแผนการดำเนินงาน (Plan) ในช่วงสถานการณ์การจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา ได้มีการประชุมและวางแผนกำหนดให้การจัดการ เรยี นการสอนในรูปแบบออนไลน์ โดยกำหนดใหค้ รูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ไดว้ างแผนกระบวนการจัดการเรยี นการ สอนของตนเองที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นตัวช้ีวัดท่ีจำเป็นและสำคัญ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลที่มี ความพรอ้ มของผเู้ รียนในการเข้าเรียนออนไลน์ท่ีแตกต่างกนั เป็นประเดน็ ทา้ ทายที่ครจู ัดการเรียนการสอนอย่างไร ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในช้ันเรียนและผ่านกระบวนการเรียนรู้ท่ีทำให้ผู้เรียนสามารถนำส่ิงที่ได้จากการเรียนรู้มี ประโยชนแ์ ละนำไปใช้ไดจ้ รงิ จนนำไปสู่ขั้นตอนของการประชุมเพ่ือวางแผนกำกบั ตดิ ตามการจดั การเรียนการสอน ตามสถานการณ์ โดยคณะผ้บู ริหารและหัวหนา้ กลุ่มสาระฯ โดยกำหนดปฏิทินกิจกรรมเพอ่ื ให้ผบู้ ริหารและหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มีส่วนร่วมในการเข้าสังเกตช้ันเรียนออนไลน์และประเมินกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู ตามทกี่ ำหนด การปฏิบัตติ ามแผนทีว่ างไว้ (Do) ครูใช้สอื่ และเทคโนโลยที ี่ช่วยพัฒนาการเรียนร้ขู องผู้เรียน ตอบสนองความต้องการของผู้เรยี น โดยนำสื่อ มาประกอบกิจกรรมการเรยี นร้ใู ห้ผู้เรยี นเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน และสามารถดึงดูดความสนใจ ซ่ึงเป็นสว่ นสนับสนุน ให้ผู้เรยี นเรียนร้ไู ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพมากยิง่ ขึ้น นอกจากน้ียังสามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศรปู แบบต่าง ๆ มา ช่วยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีนักเรียน จำเป็นต้องปรบั ตวั ในการเรียนออนไลน์ที่บ้าน โดยโรงเรียนมกี ารส่งเสริมสนับสนุนใหค้ รูผูส้ อนใช้สื่อการเรียนรู้ตาม กิจกรรมเพชร ต.อ.พ.ร. ปีการศึกษา 2564 ครดู ีศรเี ตรียมพัฒน์ รชั ดา (ดา้ นวิชาการ) ในหวั ขอ้ การประกวดคลิปการ จัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ในรปู แบบการจัดการเรียนการ สอนในรูปแบบออนไลน์ หรือรูปแบบการจดั การเรียนการสอน Hybrid ซึง่ เป็นการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรโู้ ดยใช้ เทคโนโลยเี ป็นสอ่ื ครูจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้สือ่ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้โดยประเมนิ จาก ร้อยละของครูที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนใช้สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และใช้ส่ือ เทคโนโลยีในการจดั กจิ กรรมเพอื่ สรา้ งบรรยากาศในชัน้ เรียน online ที่หลากหลายให้นา่ สนใจมากยงิ่ ข้ึน
P a g e | 139 การตรวจสอบผลทไ่ี ดร้ ับจากการปฏบิ ัตงิ านตามแผนท่วี างไว้ (Check) คณะผู้บริหารและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้เม่ือได้มีส่วนร่วมในการประเมินกระบวนการการจัดการ เรียนการสอนในด้านต่าง ๆ ของครูตามแบบประเมินที่กำหนด (แบบประเมินนิเทศ) เรียบร้อยแล้ว พร้อมทั้งให้ ผู้สอนรายงานผลการนิเทศการจัดการเรียนรู้รายบุคคลเพ่ือมาสรุปผลรวมและประเมินระดับคุณภาพ อีกท้ังยัง สามารถนำผลประเมินท่ีไดไ้ ปปรับจุดดอ้ ยพัฒนาจุดเด่นของตนเองในแต่ละดา้ นทสี่ ่งผลให้ผเู้ รียนมีระดบั ผลสัมฤทธิ์ รายวชิ าทีส่ ูงข้นึ (อา้ งอิงจากมาตรฐานท่ี 1 ข้อท่ี 5 มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา) การปฏบิ ัตกิ ารแก้ไข ถ้าไม่ได้ตามเปา้ หมายเพื่อตอ่ ยอดการปรบั ปรุง (Act) ถ้าไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ก็จะย้อนกลับไปสู่การวางแผนที่จุดเร่ิมต้น วางแผนอีกครั้งเพ่ือ ปรับปรงุ ซอ่ มเสริม แกไ้ ขจุดดอ้ ย เพอ่ื ใหก้ ำลงั ใจและโอกาสครใู นการพฒั นาปรบั ปรุงตนเองหรอื นำไปสกู่ ระบวนการ ของชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ได้มีแลกเปล่ียนการเรยี นรขู้ องผู้สอนท่านอืน่ เพอ่ื นำมาปรับประยุกต์ใช้ ของตนเองได้ รวมไปถึงการวิเคราะหผ์ ลพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาในแต่ละรายวิชา ➢ จุดเด่น ครูผู้สอนที่เน้นการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ือออนไลน์จากเว็บไซด์ต่าง ๆ มาช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของ นักเรียน รวมถึงเทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ออนไลน์จากเพจของครู กลุ่มสาระฯ และเพจโรงเรียน มีส่วนช่วย พฒั นาการเรียนรู้ของนักเรียน ทง้ั นไ้ี ด้ส่งเสริมให้ครผู ลิตสอื่ โดยมีกิจกรรมเพชร ต.อ.พ.ร. ปกี ารศึกษา 2564 ครูดีศรี เตรียมพัฒน์ รัชดา (ด้านวิชาการ) ในหัวข้อการประกวดคลิปการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ หรือรูปแบบการ จัดการเรียนการสอน Hybrid ส่งเสริมให้ครูผลิตส่ือออนไลน์มากข้ึน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นไปตามคา่ เป้าหมายของสถานศึกษา ➢ จุดทีค่ วรพัฒนา -
P a g e | 140 ตาราง แสดงผลการแบบประเมนิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และส่อื /นวัตกรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ผลการประเมนิ สือ่ /นวตั กรรม 96.87 ระดบั คณุ ภาพ ภาษาไทย 95.60 ดมี าก คณิตศาสตร์ 95.25 ดีมาก วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 94.59 ดีมาก ภาษาตา่ งประเทศ 94.77 ดีมาก สงั คมศกึ ษา 90.59 ดีมาก 92.78 ดมี าก ศลิ ปะ 94.72 ดมี าก สุขศกึ ษาและพลศึกษา 93.00 ดีมาก 94.24 ดมี าก การงานอาชีพ ดีมาก กลมุ่ งานแนะแนว สรุปผลการประเมิน ผลการแบบประเมนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และสอ่ื /นวัตกรรม 98 96 94 92 90 88 86 กลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ สงั คมศึกษา ศลิ ปะ สขุ ศกึ ษาและพละศกึ ษา การงานอาชีพ แนะแนว
P a g e | 141 รปู ภาพการจัดการเรียนการสอนโดยใชส้ ือ่ /นวตั กรรม
P a g e | 142 ผลการดำเนนิ งานามตวั ชว้ี ัดที่ 3.3 การบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวก ระดบั คา่ เป้าหมาย 82.00 กลุ่ม/งาน งานนิเทศการศึกษา ผลท่ีได้ 93.92 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม กระบวนการพัฒนา (PDCA) การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan) กำหนดนโยบายและค่าเป้าหมาย ประชุม วางแผน เพ่ือจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการ จัดการเรียนรู้ เพ่ือสร้างบรรยากาศในการเรียนให้ผู้เรียนมีความอยากรู้อยากเรียน และกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการ เรยี นด้วยตนเองท่ีหลากหลาย การปฏบิ ัติตามแผนทว่ี างไว้ (Do) ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ โดยครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ปฏิบัติต่อนักเรียนทุกคนใน ห้องอย่างทว่ั ถงึ และเท่าเทยี มกัน ให้คำปรกึ ษา ควบคุมดูแล ติดตามการเข้าชั้นเรยี น และให้คำปรึกษากับนักเรยี น ท่ีมีปัญหาด้านการเรียน ให้ความเอาใจใส่ อีกทั้งเสริมแรงเชิงบวกให้นักเรียนมีความอยากรู้อยากเรียน ใช้กลยุทธ์ รูปแบบ เทคนิคการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ ออกแบบการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย และสร้าง บรรยากาศในช้ันเรยี นที่กระตุน้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรียน การตรวจสอบผลทไ่ี ด้รับจากการปฏบิ ตั งิ านตามแผนทวี่ างไว้ (Check) 1. นิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ด้านกลยุทธ์/รูปแบบ/เทคนิค การจดั กจิ กรรมการเรยี นรขู้ องครู 2. นำผลการประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น/จุดท่ีควรพัฒนา เพ่ือนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนา กิจกรรม และการบริหารจดั การชัน้ เรยี นเชิงบวกใหม้ ีคุณภาพมากข้ึน การปฏบิ ตั ิการแกไ้ ข ถา้ ไม่ได้ตามเปา้ หมายเพ่ือตอ่ ยอดการปรบั ปรงุ (Act) 1. นำผลสะท้อนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มาใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนากิจกรรมอย่าง ต่อเน่ือง ปรบั เปล่ียนรู้แบบการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พ่อื ใหน้ กั เรยี นเกิดความสนใจ ใหค้ วามรวมมือและสนุกสนาน กับการเรียนรู้
P a g e | 143 ➢ จุดเดน่ มีการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย น่าสนใจ ปรับเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมของ สถานการณ์ปัจจบุ ัน เช่น มีการนำแอปพลิเคชันท่ีทันสมัย และส่ือออนไลน์ที่กำลังได้รบั ความนิยมเข้ามามีส่วนใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้นักเรยี นมีความสนใจ มคี วามสนกุ สนานในการเรียน และทำให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในกจิ กรรมตา่ งๆอยา่ งทัว่ ถงึ และมีความสุข ➢ จุดที่ควรพฒั นา ควรมีการพัฒนากลยุทธก์ ารจัดการเรียนรู้เชิงบวกในรูปแบบออนไลน์ทหี่ ลากหลายมากยิ่งข้ึน เพอื่ กระตุ้น ใหเ้ กดิ การปฏสิ ัมพันธใ์ นช้นั เรียน ใหน้ ักเรียนสามารถสร้างองคค์ วามรู้ตา่ ง ๆ ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์ แผนภมู ิแสดงการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก แผนภมู ิแสดงการบริหารจดั การชนั้ เรียนของ 8 กลมุ่ 100.00 94.16 94.95 93.69 94.19 94.96 92.13 94.09 94.18 92.97 80.00 60.00 40.00 20.00 0.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ สงั คมศกึ ษา ศลิ ปะ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา การงานอาชพี กลมุ่ งานแนะแนว
P a g e | 144 ร่องรอย/หลักฐาน ภาพการจดั กิจกรรมการจัดการเรยี นร้เู ชงิ บวก
P a g e | 145 ผลการดำเนินงานตวั ช้ีวัดท่ี 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น ระดบั ค่าเป้าหมาย 82.00 กล่มุ /งาน งานวจิ ยั เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ผลทีไ่ ด้ 82.50 ภายในสถานศกึ ษา ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม กระบวนการพัฒนา (PDCA) การวางแผนการดำเนินงาน (Plan) - แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งานจัดการประกวดผลงานวิจยั ในช้นั เรยี น - ประชมุ ช้ีแจงคณะกรรมการกลุ่มบริหารวิชาการ การปฏบิ ตั ติ ามแผนท่วี างไว้ (Do) - จัดซื้อวัสดุ - อุปกรณ์งานวิจัยฯ ให้กับครูในแต่ละกลุ่มสาระฯ เพ่ือให้ครูมีวัสดุ - อุปกรณ์ไว้สำหรับ จัดทำผลงานวจิ ัยในชั้นเรียน - รวบรวมผลงานวิจยั ในชัน้ เรยี นของคณุ ครูในแตล่ ะกลมุ่ สาระฯ ทีส่ ง่ เขา้ ร่วมกจิ กรรม - ดำเนินนำส่งผลงานวิจัยในช้ันเรียนของคุณครูให้คณะกรรมการตัดสินผลงานวิจัยในชั้นเรียน เพอ่ื ให้คณะกรรมการไดป้ ระเมนิ ผลงานวจิ ัย การตรวจสอบผลท่ไี ดร้ บั จากการปฏิบัตงิ านตามแผนทว่ี างไว้ (Check) - รบั คนื ผลงานวิจยั ในชั้นเรียนของคณุ ครจู ากคณะกรรมการแต่ละทา่ น - ประมวลผลการประเมนิ ผลงานวิจยั ในช้นั เรยี นของคณุ ครูในแต่ละกลุม่ สาระฯ - ดำเนินการรายงานผลและประกาศผลการประกวดผลงานวิจยั ในช้ันเรยี น - ดำเนินการมอบโล่รางวัลสำหรับครูท่ีได้รับรางวัลชนะเลิศ รางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี 1 และรางวัล รองชนะเลศิ อันดับที่ 2 พรอ้ มเกียรตบิ ตั ร และมอบเกียรติบตั รให้กบั ครทู ี่ไดร้ ับรางวลั ชมเชย การปฏิบตั ิการแก้ไข ถ้าไมไ่ ด้ตามเป้าหมายเพือ่ ต่อยอดการปรบั ปรุง (Act) - รายงานผลการดำเนินงานและนำผลมาปรบั ปรุงในการจัดกิจกรรมครง้ั ต่อไป จุดเด่น - ครูมีความรู้ความสามารถในการผลิตผลงานวิจัยในชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาผเู้ รียน อย่างเป็นระบบและมีแรงจูงในในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สูงข้ึน ทั้งจากผลงานวิจัยในชั้นเรียนที่ครู ส่งเข้าร่วมกิจกรรมการประกวดผลงานวิจัยในช้ันเรียนและผลงานวิจัยของครูในแต่ละกลุ่มสาระ ฯ ถือเป็นการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185