Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน้าปกนอกสร้างพระ(3)

หน้าปกนอกสร้างพระ(3)

Published by Suppakorn Boss, 2021-09-10 08:48:14

Description: หน้าปกนอกสร้างพระ(3)

Search

Read the Text Version

หนงั สอื ทร่ี ะลกึ การจดั สร้างพระพุทธชนิ ราชจาลองประจาหน่วย เนอื่ งในโอกาสครบรอบ ๘๔ ปี ตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก

หนงั สอื ทรี่ ะลกึ การจดั สร้างการจดั สร้างพระพุทธชนิ ราชจาลองประจาหนว่ ยตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก เนอื่ งในโอกาสครบรอบ ๘๔ ปี ตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก “จดั พมิ พเ์ พอ่ื ถวายเป็นพทุ ธบูชา ธรรมบชู า สังฆบชู า” พมิ พ์คร้ังแรก : เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวนพมิ พ์ : เล่ม เรียบเรียงโดย :คณะกรรมการจดั สร้างพระพุทธชินราชจาลองประจาหน่วยตารวจภูธรจงั หวดั พิษณุโลก เนื่องในโอกาสครบรอบ ๘๔ ปี ตารวจภูธรจงั หวดั พิษณุโลก จดั พมิ พ์โดย:ตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก สงวนสิทธ์ิ:หา้ มคดั ลอก ตดั ตอน เปล่ียนแปลง แกไ้ ข ปรับปรุงขอ้ ความใด ๆ ท้งั สิ้น หรือ นาไปพิมพจ์ าหน่าย หากท่านประสงคจ์ ะพิมพแ์ จกเป็นธรรมทานโปรดติดต่อ ตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก ข้อมูลทำงบรรณำนุกรม: เอกสารจดั สร้างพระพุทธชินราชจาลองประจาหน่วยตารวจภูธรจงั หวดั พิษณุโลก เนื่องในโอกาสครบรอบ ๘๔ ปี ตารวจภูธรจงั หวดั พิษณุโลก หนงั สือประวตั ิหลวงพอ่ พระพุทธชิราช พิมพท์ ่ี: โฟกสั ปริ้น อาเภอเมือง จงั หวดั พษิ ณุโลก

หนงั สอื ทรี่ ะลกึ การจดั สร้างพระพุทธชนิ ราชจาลอง ประจาหนว่ ยตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก เนอื่ งในโอกาสครบรอบ ๘๔ ปี ตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก

คาปรารภ พระพทุ ธชินราชไดร้ ับการยกย่องใหเ้ ป็นหนึ่งในประติมากรรมพุทธศลิ ป์เป็นพระพทุ ธรูปปางมาร วชิ ยั ใช้ชา่ งจากเมอื งศรสี ชั นาลยั และเมืองหริภญุ ชัย หล่อทองสมั ฤทธ์ิ “พระพุทธชนิ ราช” ทีว่ ิจิตรงดงามตาม ศลิ ปะสโุ ขทัย คือ เส้นรอบนอกพระวรกายอ่อนชอ้ ย ชายผ้าสังฆาฏิแยกเป็นเขีย้ วตะขาบ พระพกั ตร์เอบิ อม่ิ คอ่ นข้างกลม พระขนงโก่ง พระเกตุมาลาเป็นรูปเปลวเพลงิ มีลกั ษณะพิเศษเรียกว่าทฆี งคุลี คอื ปลายน้ิวพระ หตั ถ์ท้งั ส่ีนว้ิ ยาวเสมอกัน ซ้มุ เรอื นแก้วสรา้ งจากไม้แกะสลักในสมยั อยธุ ยา แกะสลักเป็นตัวมกร ลักษณะลำตัว คลา้ ยมังกร มีงวงคล้ายช้าง อยูต่ รงปลายซุ้ม และมลี ำตวั เหรา (คลา้ ยจระเข้) กลางซุ้ม และมีทา้ วเวสสุวรรณ และอาฬวกยักษ์ เทพอสุราปกปอ้ งอยู่สองตน ตำรวจภธู รจังหวัดพษิ ณโุ ลก มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน ถึง ๘๔ ปี มีการยา้ ยสถานท่ที ำการหลาย คร้งั จนถงึ สถานที่ปัจจบุ ันคือ เลขท่ี ๒๓๔ หมู่ ๕ ตำบลหวั รอ อำเภอเมือง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ต้งั แต่ ปี ๒๕๕๘ เป็นตน้ มาแลว้ แตย่ งั ไมม่ ีพระพทุ ธรูปประจำหน่วยของตำรวจภธู รจงั หวัดพิษณุโลก คณะกรรมการจัดสรา้ งพระ พทุ ธชนิ ราชซ่ึงประกอบไปด้วยหลายหน่วย อาทิ คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบริหารงานตำรวจ จงั หวดั พิษณุโลก ผบู้ ังคบั บัญชา หวั หนา้ สถานีทุกแหง่ ในสงั กัด จึงมคี วามประสงคเ์ พ่อื เป็นศิริมงคลและเคารพ บชู าเป็นขวัญกำลังใจให้กับกำลงั พลในหน่วยตำรวจภูธรจงั หวดั พิษณโุ ลก จงึ นับเป็นบุญกุศลอนั ย่งิ ใหญท่ ่ผี มได้มโี อกาสเป็นส่วนหน่งึ ในการสรา้ งพระประธานประจำหนว่ ยใน คร้งั นเี้ นือ่ งในโอกาสมาดำรงตำแหน่งผู้บงั คับการตำรวจภธู รจงั หวัดพษิ ณุโลกและครบรอบ ๘๔ ปขี อง ตำรวจภธู รจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ในโอกาสอนั เปน็ มงคลนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและพระพุทธานภุ าพแหง่ พระพทุ ธชิน ราชจงดลบนั ดาลให้คณะทำงาน ทง้ั ผูเ้ กยี่ วข้อง ทุกท่านและครอบครวั ตลอดจนพทุ ธศาสนกิ ชนผู้จติ ศรทั ธา ประสบแตค่ วามสุขความเจริญด้วยจตุรพธิ พรชยั แคลว้ คลาดปราศจากอนั ตรายทง้ั ปวง พลตำรวจตรี ( ธวัช วงค์สงา่ ) ผู้บังคับการตำรวจภธู รจังหวดั พษิ ณโุ ลก

คำนำ พระพุทธชินราช เป็นพุทธศิลป์ในสมัยกรุงสุโขทัย หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ปางมารวิชัยประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกหรือ พระมหาธรรมราชาลิไทย พระมหากษตั รยิ ์แห่งกรุงสโุ ขทัย ทรงโปรดให้จดั งานข้นึ ในปีพุทธศักราช ๑๘๙๘ นบั วา่ เป็นปฏิมากรรมท่ีมีพุทธ ลักษณะงดงามที่สุดในโลก ทั้งยังมีความศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์เป็นที่อัศจรรย์มาแต่บรรพกาล ปวงชน ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศต่างเลือ่ มใสศรัทธามาจนถึงปจั จุบัน เนื่องในโอกาสที่ตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลกได้ก่อตั้งมาครบรอบ ๘๔ ปี ยังไม่มีองค์พระประธาน ประจำหน่วยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตำรวจจังหวัดพิษณุโลก (กต.ตร.จังหวัด พิษณุโลก) จึงมีมติเมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๖๔ จัดสร้างพระพุทธชินราชจำลอง ขนาดหน้าตัก ๒๙ น้ิว ประดิษฐานเป็นองค์พระประธานประจำหน่วย เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจและเคารพบูชาประจำตระกูล ขนาดหน้าตัก ๙.๙ นิ้ว ๕.๙ นิ้ว เหรียญด้านหน้าพระพุทธชินราชด้านหลัง สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ ด้านหลังพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ขึ้นอีกส่วนหนึ่งด้วย โดยประกอบพิธีเททองหล่อพระเมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๔ พิธีพุทธาภิเษกเมื่อวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก และอัญเชิญมาประดษิ ฐาน ณ หอพระบรเิ วณหน้าท่ที ำการตำรวจภูธรจงั หวัดพษิ ณุโลก เม่ือวนั ท่ี ในโอกาสอันเป็นมหามงคลอย่างยิ่งน้ี คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตำรวจ จงั หวดั พษิ ณุโลก (กต.ตร.จงั หวดั พิษณุโลก) จงึ ได้จัดทำหนงั สือท่รี ะลึกเล่มนี้ขึ้นไว้เพ่ือเป็นอนุสรณ์แห่งความดีท่ี ทา่ นผูม้ อี ุปการคุณทุกทา่ นทุกฝ่ายได้อุทิศแรงกายแรงใจและแรงศรัทธาในบวรพุทธศาสนาร่วมบริจาคปัจจัยใน การจัดสร้างพระพุทธชินราชจำลองและหนังสือที่ระลึกนี้จนสำเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยอานุภาพแห่งบุญกุศลทีท่ กุ ท่านได้ร่วมทำบุญในครั้งประวัติศาสตร์นี้ ขออำนาจแห่งคุฯพระศรีรัตรตรัยและส่ิงศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากล โลกบรรดามแี ละพทุ ธานภุ าพแห่งพระพุทธชนิ ราช จงดลบนั ดาลประทานพรใหท้ ่านประสบความสขุ ความเจริญ ด้วยจตุรพิธพรชัยอันมี อายุ วรรณะ สุขะ พละ เป็นต้น กอปรด้วยปฏิภาณธนสารสมบัติยิ่งๆขึ้นไปด้วยเทอญ คณะกรรมการการตรวจสอบและติดตาม การบริหารงานตำรวจจังหวัดพิษณุโลก (กต.ตร.จงั หวัดพษิ ณโุ ลก) กนั ยายน ๒๕๖๔

สารบญั ประวัติพระพุทธชินราช ประวตั ิพ่อขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ ประวตั ิสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ประวัตติ ำรวจภูธรจังหวัดพษิ ณโุ ลก วัตปุ ระสงค์ในการสร้างพระประธานประจำหน่วย ประมวลภาพการบวงสรวง พระพุทธชินราช พ่อขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช รายนามพระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนต์ ในพธิ ีเททองหล่อพระพุทธชินราชจำลอง ภาพพธิ ีเททอง สร้างพระพทุ ธชินราชจำลอง คำบชู าพระพทุ ธชนิ ราช รายนามพระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนต์ ในพธิ ีพุทธาภเิ ษก ภาพพระสงฆเ์ จริญพระพทุ ธมนต์ ในพธิ พี ทุ ธาภเิ ษก รายนามพระสงฆผ์ ทู้ รงวิทยาคุณ นั่งปรก ในพิธีพุทธภิเษก ภาพพระสงฆผ์ ทู้ รงวิทยาคุณ น่งั ปรกอธิฐานจติ พระพทุ ธชินราชจำลอง ๒๙ น้ิว ประจำหนว่ ยตำรวจภูธรจงั หวัดพษิ ณโุ ลก รายนามพระสงฆผ์ ู้จารกึ จารอักขระในแผ่น ทอง นาก เงนิ ภาพพระสงฆผ์ ู้ทรงจารึกจารอักขระในแผ่น ทอง นาก เงิน ภาพแผ่นทอง ทอง นาก เงิน ท่ีพระสงฆเ์ มตตาจารอักขระและประสาทวิทยาคณุ ในการสร้างวัตถมุ งคล ภาพพระพทุ ธรปู พระพทุ ธชนิ ราช ขนาด ๙.๙ นวิ้ ,ขนาด ๕.๙ นว้ิ เหรยี ญพระพุทธชนิ ราช องคส์ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เหรียญพระพุทธชนิ ราช พอ่ ขุนศรอี นิ ทราทติ ย์ ตวั อยา่ งหุน่ ข้ีผึ้ง พระพุทธชนิ ราช ประจำหนว่ ย ๒๙ น้ิว ตวั อย่างหุน่ ขผี้ ึง้ พระพุทธชินราช ประจำหน่วย ๙.๙ นวิ้ ตวั อย่างหุน่ ขี้ผ้ึง พระพทุ ธชนิ ราช ประจำหนว่ ย ๕.๙ น้ิว ตวั อยา่ งใบโบชัวร์ในการจัดสร้างพระพุทธชนิ ราช ภาคผนวก คำส่งั แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานจัดสรา้ งพระพทุ ธรูป

ประวตั ิพระพุทธชินราช พระพทุ ธชินราช ประดษิ ฐานอยู่ ณ วหิ ารด้านตะวันตก ในวัดพระศรรี ตั นมหาธาตุ วรมหาวิหาร จงั หวดั พษิ ณโุ ลก เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั ขนาดใหญ่หลอ่ ดว้ ยทองสัมฤทธิ์ ตำนานการสรา้ ง พระพทุ ธชินราช ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดี สันนิษฐานวา่ สรา้ งข้ึนในปี พ.ศ. 1900 ตรงกับรัชสมัยพระ มหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) รชั กาลที่ ๕ แห่งราชวงคพ์ ระรว่ ง พระมหากษตั ริยแ์ ห่งกรงุ สุโขทยั พระพทุ ธรปู ที่ สรา้ งคราวเดียวกนั มี ๓ องค์ คือพระพุทธชนิ ราช พระพุทธชนิ สีห์ แล พระศรีศาสดา พระพุทธชนิ ราช พระพุทธรปู หล่อทั้ง ๓ องค์ มีขนาดต่างกัน คอื พระพุทธชินราช หนา้ ตักกว้าง ๕ ศอก ๑ คืบ ๕ น้วิ พระพุทธ ชนิ สีห์ หน้าตกั กว้าง ๔ ศอกคืบ ๔ นว้ิ พระศรศี าสดา หน้าตักกว้าง ๕ ศอก ๑ คบื ๖ นว้ิ พระพุทธชนิ ราช ได้รบั การยอมรบั วา่ เป็นพระพุทธรูปท่ีมีพุทธลักษณะงดงามท่ีสดุ องคห์ น่งึ และยงั เปน็ พระพุทธรูปท่ีนิยมจำลองกนั มาก ท่สี ุดในประเทศไทย นอกจากน้ียังเปน็ พระพทุ ธรปู ที่ประชาชนชาวไทย ศรทั ธา และนยิ มเดนิ ทางมากราบไหว้ มากทสี่ ดุ องคห์ นึ่งดว้ ย พระพทุ ธชนิ ราช ไมป่ รากฏหลักฐานแนช่ ดั ว่าสรา้ งในสมัยใด คงมีแต่พงศาวดารเหนือ ซ่งึ เป็นเอกสารที่ เล่าถงึ ตำนานเมืองเหนือเรอ่ื งตา่ ง ๆ สมยั กรงุ ศรีอยุธยา ถกู เรียบเรยี งข้ึนใหม่โดยพระวิเชียรปรชี า (นอ้ ย) ในปี พ.ศ. 2350 ทอ่ี า้ งถงึ กษัตรยิ ์เชียงแสนพระนามพระเจ้าศรีธรรมไตรปฎิ กเปน็ ผู้สร้าง พร้อมกับการสร้างเมอื ง พษิ ณโุ ลกและพระพุทธรูปอีก 2 องคค์ ือพระพุทธชนิ สหี ์และพระศรศี าสดา พ.ศ. 2409 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัวได้มีพระราชนิพนธ์เพ่ิมเตมิ เกีย่ วกบั ประวัตกิ าร สร้างพระพทุ ธชนิ ราช พระพุทธชินสีห์ และพระศรีศาสดา ในช่อื \"ตำนานพระพุทธชินราช พระพุทธชนิ ศรี และ พระศรศี าสดา\" ในหนังสือวชิรญาณวเิ ศษ วา่ ”แลเป็นอันมากก็ลงใจเหน็ ว่า พระพุทธชนิ ราช พระพุทธชินสีห์ ๒ องค์น้ีงดงามนัก ไม่มีพระพุทธรปู น้อยใหญท่ ี่ใหน ๆ ใหมเ่ ก่างดงามไปดกี ว่าน้ีได้เห็นจะเป็นของทีเ่ ทพยดาเข้าสงิ ช่าง ฤาเนรมิตเป็นมนษุ ย์มาชว่ ยสรา้ งชว่ ยทำเปน็ แน”่ โดยใชพ้ งศาวดารเหนือในการอา้ งองิ จงึ ทำให้มีเน้ือหา หลักคล้ายคลึงกัน แต่เพิ่มเติมการสรา้ งพระเหลอื เข้าไป และมกี ารระบศุ ักราชในการสร้างพระพทุ ธรูปทั้ง 3 องค์

ไวด้ ังนี้ พระพุทธชนิ สีห์และพระศรศี าสดาหล่อในปี พ.ศ. 1498 และพระพุทธชนิ ราชหล่อขึ้นในปี พ.ศ. 1500 (หย่อนอยู่ 7 วัน) พ.ศ. 2423 ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระ ยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ได้ทรงแต่งตำนานการสรา้ งพระพุทธชนิ ราชข้นึ อกี สำนวนหนึ่ง ชื่อ \"พงษาวดารเหนือ : เป็นลิลติ เรื่องนิทานพระรว่ ง แลนิทานพระเจ้าธรรมไตรปิฎก นทิ านพระชนิ ศรี พระชินราช พระศาสดา\" ซงึ มี เนอ้ื เรอ่ื งเชน่ เดยี วกับพงศาวดารเหนอื และพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั แต่เพ่ิม ความสัมพันธร์ ะหวา่ งพระบรมราชจักรวี งศก์ บั พระพทุ ธชนิ ราชเขา้ ไปดว้ ย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ได้มีพระดำริเก่ียวกับประวัตกิ ารสรา้ งพระพุทธ ชินราชจากหลักฐานทางพุทธศลิ ปน์ ำมาเปรยี บเทยี บกับพงศาวดารเหนอื ว่าพระพทุ ธชินราช ถกู สร้างขน้ึ ในสมยั สโุ ขทยั เนือ่ งจากพทุ ธศลิ ป์อย่างพระพทุ ธรูปสโุ ขทยั ระคนกับพุทธศลิ ปเ์ ชียงแสนแต่มีพัฒนาการไปกวา่ พระพทุ ธรูปทีม่ ีอยเู่ ดิม และช่างผูส้ รา้ งพระพุทธชนิ ราชกับพระพุทธชนิ สีหน์ ั้นเป็นช่างเดียวกนั หากแตพ่ ระศรี ศาสดาเป็นช่างอน่ื จากลักษณะประติมากรรมของพระพุทธรปู ทงั้ ๓ องค์ท่ีปรากฏ แต่จะสร้างพรอ้ มกนั ท้ัง 3 องคห์ รือไมน่ น้ั ไม่ทราบแนช่ ัด และเม่ือพจิ ารณาช่วงเวลาการสรา้ งแลว้ ทรงคาดวา่ พระพุทธรูปทั้ง 3 องคน์ ่าจะ สร้างในรัชสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี 1 ในปี พ.ศ. 1900 มใิ ชพ่ ระเจ้าศรธี รรมไตรปฎิ ก โดยประทานเหตผุ ล วา่ \"พระเจา้ แผน่ ดินซ่ึงปรากฏพระเกียรติในเร่ืองพระไตรปิฎกนั้นมแี ต่พระองคเ์ ดียวคอื พระมหาธรรมราชาลิ ไทย...พระมหาธรรมราชาน้ีเองท่ีพงศาวดารเหนอื เรยี กว่า พระเจา้ ศรีธรรมไตรปิฎก\" นอกจากนี้ยงั มีการสันนษิ ฐานเก่ียวกับประวัติการสร้างพระพุทธชนิ ราชวา่ น่าจะถูกสร้างขึ้นในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาโดยพิชญา สุม่ จินดา ซ่งึ ไดก้ ำหนดอายเุ วลาของพระพุทธชินราชข้นึ ใหม่จากพทุ ธลกั ษณะขององค์ พระพุทธรปู จากรปู แบบของเรอื นแกว้ โดยเทียบเคยี งกบั ลวดลายบนซุ้มเรือนแก้วทวี่ ัดพระบรมธาตุ จังหวัด นครศรีธรรมราช อายเุ วลาของลวดลายดังกลา่ วอาจกำหนดได้ในช่วงสมยั อยธุ ยาตอนปลาย และจาก สถาปัตยกรรมของพระวหิ าร ในรชั สมัยของสมเด็จพระนารายณม์ หาราช (พ.ศ. 2199-2232) อยา่ งไรกต็ ามความเหน็ ท่ีได้รับการยอมรับมากท่สี ดุ ณ ขณะนคี้ ือความเหน็ ในแนวทางเดียวกับสมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ท่เี ชอื่ วา่ พระพทุ ธรปู ทั้ง 3 องค์น้ีถกู สรา้ งขึน้ ในราว พ.ศ. 1900 ในรัชสมยั ของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลไิ ทย) หมายเหต:ุ ซมุ้ เรอื นแกว้ รูปหล่ออาฬวกยกั ษ์และทา้ วเวสสุวัณเปน็ ประติมากรรมที่สร้างขึ้นคนละยุคกับ องค์พระโดยเชื่อว่านา่ จะสร้างข้ึนในสมัยอยุธยาโดยสงั เกตจากลักษณะลวดลายและลักษณะทางสถาปตั ยกรรม นอกจากน้ยี ังมีการบูรณะพระพทุ ธชินราชโดยการเพ่มิ อณุ าโลมบริเวณพระนลาฏในสมัยหลงั (คาดว่านา่ จะทำ ข้ึนในสมยั อยุธยา เน่ืองจากไม่ปรากฏหลกั ฐานการบูรณะเพิ่มเตมิ ) ลกั ษณะทางพุทธศลิ ป์ พระเกศรศั มียาวเปน็ เปลวเพลงิ พระเกศาขดเป็นก้นหอยขนาดใหญ่ วงพระพักตรค์ ่อนข้างกลมไมย่ าวรี เหมอื นผลมะตูมเชน่ พระพุทธรูปสมัยสโุ ขทัยหมวดใหญ่ มีพระอุณาโลมผลกิ อยรู่ ะหว่างพระขนง พระวรกาย อวบอว้ นมีสังฆายาวปลายหยกั เปน็ เขี้ยวตะขาบฝงั ดว้ ยแกว้ นวิ้ พระหตั ถท์ ้ังสยี่ าวเสมอกนั (ทฆี งคุลี) ฝ่าพระ บาทแบนราบค่อนข้างแคบเม่ือเทยี บกบั พระพุทธรปู สมัยสโุ ขทัยหมวดใหญ่ สน้ พระบาทยาว มรี ูปอาฬวกยักษ์ และรูปทา้ วเวสสวุ ณั หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์เฝ้าอยู่ท่ีพระเพลาเบ้อื งขวาและซ้ายขององคต์ ามลำดบั มีซมุ้ เรือนแก้ว และสลักด้วยไม้สักลงรกั ปิดทองประดบั เบื้องพระปฤษฎางคป์ ราณตี อ่อนช้อยช่วยเน้นใหพ้ ระวรกายของพระ พทุ ธชนิ ราชมีความงดงามยิง่ ขึ้น

การจัดหมวดหมู่ พระพุทธชนิ ราช ถกู จดั ให้อยู่ในพระพทุ ธรปู หมวดพระพุทธชินราช (พระพุทธรูปสกลุ ช่างเมืองพิษณโุ ลก ซงึ่ มีลกั ษณะตา่ งจากหมวดใหญ่เล็กน้อย คือพระพักตร์ท่ีอวบอ้วนมากกว่าและทสี่ ำคัญคือการทำปลายน้ิวพระ หัตถ์ทงั้ 4 ยาวเสมอกนั ซงึ่ เป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธรูปหมวดน้)ี ถือเปน็ 1 ใน 4 หมวดของ พระพุทธรปู สมยั สุโขทยั ทีม่ า:หนังสอื นครสรสวงสองแคว เมอื งพระพิศณโุ ลกย์ องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั พิษณุโลก :วกิ พิ ิเดีย สารานกุ รมเสรี พระพทุ ธชินราช

ประวตั ิ พอ่ ขุนศรอี นิ ทราทติ ย์ พ่อขุนศรอี ินทราทติ ย์ หรือพระนามเต็ม กมรเตงอัญศรีอนิ ทรบดนิ ทราทิตย์ พระนามเดิม \"พ่อขนุ บาง กลางหาว\" เป็นปฐมกษัตรยิ ์แห่งราชวงศพ์ ระรว่ ง ตามประวัติศาสตรไ์ ทย ทรงครองราชย์ตั้งแต่ พ.ศ. 1781 ตราบจนเสด็จสวรรคตเมือ่ พ.ศ. 1811 สำหรบั พระนามแรก คือ พ่อขนุ บางกลางหาว นนั้ เป็นพระนามดงั้ เดิมเม่ือครั้งเป็น เจ้าเมืองบาง ยาง เป็นทีย่ อมรบั กันโดยทั่วไปวา่ พ่อขนุ บางกลางหาวเป็น พระนามสมยั เปน็ เจ้าเมืองบางยาง โดยแท้จรงิ พระนามทส่ี องน้ัน เป็นพระนามแบบทางการตามอยา่ งราชประเพณีเขมร เปน็ พระนามทรงใช้เมอื่ เข้ารบั พระราชพธิ บี รมราชาภิเษกแล้ว พระนาม \"ศรีอนิ ทราทติ ย\"์ มกี ล่าวไวอ้ ยูใ่ นศลิ าจารกึ หลักท่ี 2 วดั ศรชี ุมวา่ \"ศรี อนิ ทรปตินทราทิตย\" ซ่ึงเป็นพระนามเกยี รติยศที่พระเจา้ แผน่ ดินเขมรแตโ่ บราณสถาปนาให้แก่พ่อขนุ ผาเมือง องคร์ ัชทายาทผู้ครองเชลยี งสกุ โขไทในราชวงศศ์ รนี าวนำถม ตอ่ มาภายหลังพ่อขุนผาเมอื งทรงยกใหแ้ ก่พระ สหายพ่อขนุ บางกลางหาวแทน พอ่ ขุนศรีอินทราทิตย์ เม่อื คร้งั ยงั เป็นพ่อขุนบางกลางหาวไดร้ ว่ มมือกบั พอ่ ขุนผาเมือง เจา้ เมืองราดแหง่ ราชวงศศ์ รนี าวนำถุม รวมกำลงั พลกนั กระทำรัฐประหารขอมสบาดโขลญลำพง โดยพ่อขุนบางกลางหาวตีเมือง ศรสี ัชนาลัยและเมอื งบางขลังได้ และยกท้งั สองเมืองให้พอ่ ขุนผาเมือง ส่วนพอ่ ขนุ ผาเมืองตีเมอื งสโุ ขทยั ได้ ก็ได้ มอบเมืองสุโขทัยให้พ่อขุนบางกลางหาว พรอ้ มพระขรรคช์ ยั ศรีและพระนาม \"ศรีอินทรบดนิ ทราทติ ย\"์ ซง่ึ ได้ นำมาใชเ้ ปน็ พระนาม ภายหลังไดค้ ลายเปน็ ศรีอินทราทิตย์ การเข้ามาครองสุโขทยั ของพระองค์ ส่งผลให้ ราชวงศ์พระรว่ งเข้ามามีอทิ ธิพลในเขตนครสโุ ขทยั เพ่ิมมากขน้ึ และได้แผ่ขยายดนิ แดนกว้างขวางมากออกไป แตเ่ ขตแดนเมอื งสรลวงสองแคว กย็ ังคงเป็นฐานกำลังของราชวงศศ์ รนี าวนำถุมอยู่

ในกลางรชั สมัย ทรงมสี งครามกบั ขนุ สามชน เจ้าเมืองฉอด ทรงชนชา้ งกับขนุ สามชน แต่ไพรพ่ ลของ พระองค์ ได้เตลิดหนดี งั คำในศิลาจารึกว่า \"ไพร่ฟา้ หนา้ ใสพ่อกู หนญี ญ่ายพา่ ยจแจน๋ \"(หนี-ยอ-ยา่ ย-พา่ ย-จอ- แจ้น) ขณะนนั้ พระโอรสองคเ์ ลก็ (รามราช) มีพระปรชี าสามารถ ได้ขบั ช้างแซงขน้ึ ไปชนช้างชนะขนุ สามชน ภายหลงั จงึ ทรงเฉลิมพระนามพระโอรสวา่ รามคำแหง ในยุคประวตั ศิ าสตรช์ าตินยิ ม มีคตหิ น่งึ ที่เชื่อกันว่า พระองค์ทรงเปน็ ผูน้ ำชาวสยามตอ่ สกู้ ับอิทธพิ ลขอม ในสุวรรณภมู ิ ทรงไดช้ ยั ชนะและประกาศอิสรภาพตงั้ ราชอาณาจกั รสุโขทยั ข้ึน และทรงเป็นปฐมกษตั รยิ แ์ ห่ง ราชอาณาจักรไทย แตภ่ ายหลัง คตดิ ังกล่าวไดร้ ับการพิสูจน์แล้ววา่ ไมจ่ ริง เพราะพระองค์ไมไ่ ดเ้ ปน็ ปฐมกษตั ริย์ อกี ท้ังยังมีพ่อขนุ ศรีนาวนำถุม ครองสโุ ขทยั อยกู่ ่อนแล้ว ท่มี า:หนังสือพ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ (พ่อขนุ บางกลางทา่ ว) พระปฐมบรมกษตั ริยผ์ ู้สรา้ งชาตไิ ทย สำนักงานประชาสมั พันธ์ จงั หวดั พษิ ณุโลก พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ๒๕๕๓ :วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประวตั สิ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ \"พระองคด์ ำ\" เปน็ พระราชโอรสในสมเด็จ พระมหาธรรมราชาธิราชและพระวสิ ทุ ธกิ ษัตรยี ์(พระราชธดิ าของสมเดจ็ พระศรีสรุ โิ ยทัยและสมเดจ็ พระมหาจัก พรรด)ิ์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อ พ.ศ. 2098 ทพี่ ระราชวังจนั ทน์ เมืองพิษณโุ ลก มีพระเชษฐภคินีคอื ”พระ สุพรรณกลั ยา” มีพระอนชุ าคือ”สมเด็จพระเอกาทศรถ (พระองค์ขาว) ทรงเปน็ พระราชนัดดาของสมเดจ็ พระ ศรสี รุ ิโยทัย พระนามของพระองค์ปรากฏในลายลักษณ์อักษรหลายฉบับเชน่ พระนเรศ วรราชาธิราช พระนเรสส องคด์ ำ จงึ ไม่สามารถสรปุ ได้ว่าพระนาม”นเรศวร” ไดม้ าจากท่ีใดมีการสันนิษฐานเบ้ืองต้นวา่ นา่ จะเพี้ยนมาจาก” สมเด็จพระนเรศวรราชาธริ าช”มาเป็นพระนเรศวร ราชาธริ าช เสด็จขน้ึ ครองราชยเ์ ม่ือวนั ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 ศริ ิรวมครองราชสมบตั ิ 15 ปี เสด็จสวรรคตเม่อื วนั ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2148 สิริพระ ชนมพรรษา ๕๐ พรรษา สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เปน็ พระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชา และพระวิสุทธกิ ษัตรยิ ์ พระ ราชธดิ าของสมเดจ็ พระมหาจักพรรดิ์และสมเดจ็ พระศรีสรุ โิ ยทัย เสดจ็ พระราขสมภพเม่อื ปี พ.ศ.๒๐๙๘ ที่ พระราชวังจนั ทร์ เมืองพิษณุโลก ในขณะทรงพระเยาว์ ทรงใชช้ วี ิตอย่ใู นพระราชวังจันทร์ เมอื งพิษณโุ ลก จนกระทั่งพระเจา้ บุเรงนองยกทัพ มาตีเมืองพิษณโุ ลกในสงครามช้างเผือก สมเด็จพระมหาธรรมราชาธริ าช เจ้าเมอื งพิษณุโลกยอมอ่อนน้อมต่อ หงษ์สาวดี จงึ ทำให้พษิ ณุโลกต้องแปรสภาพเปน็ ประเทศราชของ หงส์สาวดี ไมข่ น้ึ ต่องกรงุ ศรอี ยุธยา พระเจ้า บเุ รงนองทรงขอพระเนศวรไปเปน็ องคป์ ระกันท่หี งส์สาวดีปี พ.ศ. ๒๑๐๗ ทำใหพ้ ระองค์ตอ้ งจากบา้ นเกดิ เมอื ง นอนตงั้ แต่มีพระชนมายุเพียง ๙ พรรษา ราชการสงครามในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงหลั่งทักษโิ ณทกตัดสมั พนั ธไ์ มตรีกับหงษสาวดีและ กวาดตอ้ นครวั ไทย(จิตรกรรมฝาผนงั วัดสุวรรณดาราม จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา) พระองคไ์ ด้นิมนต์มหาเถรคนั ฉ่องและพระสงฆ์มาเป็นสักขีพยาน ทรงแจง้ คนทง้ั ปวงที่มาชุมนุม ณ ทีน่ น้ั ทราบวา่ พระเจา้ หงส์สาวดคี ิด ประทษุ รา้ ยตอ่ พระองค์ จากน้นั พระองค์ไดห้ ลัง่ นำ้ ลงสแู่ ผ่นดนิ ดว้ ยสวุ รรณภิงคาร(พระน้ำเต้าทองคำ) ประกาศ แก่เทพดา ฟา้ ดิน วา่ “ ดว้ ยพระเจ้าหงษ์สาวดี มิได้อยู่ครองสุจริตมติ รภาพอนั ขัตตริ าชประเพณี เสยี สามัคครี ส ธรรม ประพฤติพาลทจุ รติ คดิ จะทำอันตรายแก่เรา ตัง้ แตน่ ้เี ปน็ ต้นไป กรุงศรอี ยุธยาขาดไมตรีกบั หงส์สาวดี มิได้

เป็นมิตรรว่ มสุวรรณภูมิปฐพีเดยี วกันดุจดังดงั แต่ก่อนสบื ไป” เป็นเหตกุ ารณท์ ย่ี ่ิงใหญ่และสำคัญยง่ิ ของชาตไิ ทย พระองค์ได้กู้อสิ รภาพของไทยจากการเสยี กรุงศรีอยธุ ยาคร้ังแรก และได้ทรงแผ่อำนาจของราชอาณาจกั รไทย อย่างกวา้ งใหญ่ไพศาล นับตั้งแต่ประเทศพมา่ ตอนใต้ท้ังหมด นั่นคือ จากฝ่งั มหาสมุทรอินเดยี ทางดา้ นตะวันตก ไปจนถงึ ฝง่ั มหาสมุทรแปซิฟิกทางดา้ นตะวนั ออก ทางดา้ นทิศใตต้ ลอดไปถงึ แหลมมลายู ทางดา้ นทศิ เหนือก็ถึง ฝั่งแม่น้ำโขงโดยตลอด และยงั รวมไปถงึ รัฐไทใหญบ่ างรฐั ในปี พ.ศ.๒๑๓๕ พระมหาอุปราชา นำทัพทหารสองแสนส่หี ม่ืนคนมาตกี รุงศรีอยธุ ยาหมายจะชนะศึก ในครงั้ นี้ สมเด็จพระนเรศวรทรงทราบ จึงทรงเตรยี มไพรพ่ ล กำลังหนงึ่ แสนคนเดนิ ทางออกบา้ นป่าโมกไป สุพรรณบรุ ี ข้ามน้ำตรงทา่ ท้าวอู่ทอง และตั้งค่ายตรงบริเวณหนองสาหรา่ ย วนั จันทรแ์ รม ๒ ค่ำ เดอื นยี่ ปมี ะโรง สมเดจ็ พระนเรศวรและสมเดจ็ พระเอกาทศรศทรงเครื่องพิชยั ยทุ ธ สมเดจ็ พระนเรศวร ทรงช้างนามว่า “เจา้ พระไชยยานุภาพ”สมเด็จพระเอกาทศรศ ทรงช้างนามวา่ “พระเจา้ ปราบไตรจกั ร” ขณะในทำศึกชา้ งทรงของสองพระองค์ถลำเข้ามาถึงกลางกองทัพ ตกอย่ใู นวงล้อม แตด่ ้วยปฎิ พาลไหวพริบของสมเดจ็ พระนเรศวร จงึ ไดต้ รสั เชิญพระมหาอุปราชา วา่ “เจ้าพเ่ี ราจะยืนอยทู่ ำไมในร่มไมเ้ ลา่ เชิญออกมาทำยทุ ธหตั ถดี ้วยกัน ใหเ้ ป็นเกียรติยศไว้ในแผน่ ดนิ เถดิ ภายภาคหน้าไปไม่มีพระเจา้ แผน่ ดินไดย้ ุทธ หัตถีกันแล้ว”ในการทำยธุ หัตถสี มเด็จพระนเรศวรทรงฟันด้วยพระแสงคอง้าวถกู พระมหาอุปราชาเขา้ ท่ีอังวะสะ ขวา สนิ พระชนม์อยู่บนคอช้าง ตัง้ แต่สมเดจ็ พระนเรศวรประกาศอิสรภาพเป็นตน้ มา หงสาวดไี ดเ้ พียรส่งกองทพั เข้ามาหลายครงั้ แต่ก็ ถกู กองทัพกรงุ ศรีอยธุ ยาตแี ตกพ่ายไปทุกคร้ัง เมื่อสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาเสด็จสวรรคตเมอื่ ปี พ.ศ. 2133 พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองราชยเ์ มือ่ วันอาทิตย์ท่ี 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 เมื่อพระชนมายุได้ 35 พรรษา ทรง พระนามวา่ สมเด็จพระนเรศวร หรือ สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ที่ 2 และโปรดเกล้าฯ ให้พระเอกาทศรถ พระอนุชา ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช แต่มีศักดเ์ิ สมอพระมหากษัตริย์อีกพระองค์ สมเด็จพระนเรศวร กับสมเด็จพระเอกาทศรถ เสดจ็ ยกกองทพั ออกจากพระนคร เมื่อวนั พฤหสั บดี แรม 8 ค่ำ เดือนย่ี ปมี ะโรง พ.ศ. 2148 เสด็จโดยกระบวนเรือจากพระตำหนักป่าโมก แลว้ เสด็จข้นึ บนทีต่ ำบล เอก ราชไปตัง้ ทัพชัย ณ ตำบลพระหล่อ แลว้ ยกกองทัพบกไปทางเมืองกำแพงเพชรสู่เมืองเชียงใหม่ ครนั้ เสดจ็ ถงึ เมืองเชยี งใหม่ก็หยุดพกั จัดกระบวนทพั อย่หู น่งึ เดือน แล้วให้กองทัพสมเดจ็ พระเอกาทศรถยกไปทางเมอื งฝาง สว่ นกองทัพหลวงยกไปทางเมืองหางหลวง ครนั้ เสดจ็ ถึงเมืองหางแล้วกใ็ ห้ตั้งคา่ ยหลวงประทบั อย่ทู ท่ี ุ่งแก้ว สมเด็จพระนเรศวรทรงพระประชวรเปน็ หวั ระลอก (ฝ)ี ขึ้นท่ีพระพักตร์ แล้วกลายเป็นบาดทะพษิ พระอาการ หนัก จึงโปรดใหข้ ้าหลวงรบี ไปเชิญเสด็จสมเด็จพระเอกาทศรถมาเฝ้า สมเดจ็ พระเอกาทศรถเสดจ็ ฯ มาถงึ ได้ 3 วนั สมเด็จพระนเรศวรกเ็ สดจ็ สวรรคต เมอ่ื วันจันทร์ ขน้ึ 8 คำ่ เดอื น 6 ปีมะเส็ง ตรงกับวันท่ี 25 เมษายน พ.ศ. 2148 สิริพระชนมพรรษา 49 พรรษาเศษ ดำรงราชสมบตั ิ 14 ปีเศษ สมเดจ็ พระเอกาทศรถจึงได้อัญเชิญพระ บรมศพกลับกรงุ ศรอี ยุธยา ทีม่ า:หนังสือ มหาราชผู้ทรงกอบก้เู อกราช กองทพั ภาคท่ี ๓ (พระราชประวตั ิ) พิมพค์ รัง้ ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๘ :วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช

ประวตั ติ ำรวจภธู รจงั หวัดพิษณุโลก นบั ต้ังแตร่ ัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ ๕ ปฏิรปู ระบบ ราชการให้ทนั สมยั ท่ัวประเทศ มีการจดั การปกครองหัวเมืองต่าง ๆ แบบเทศาภบิ าลเพือ่ สรา้ งเอกภาพ ทางการปกครอง และรักษาเอกราชของชาติใหพ้ ้นจากภยั คกุ คามของประเทศทางตะวันตกที่แผอ่ ทิ ธิพล เข้ามา มณฑลเทศาภบิ าลเริม่ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๓๕ เปน็ หนว่ ยราชการส่วนภมู ภิ าคที่รวมเมืองใกล้เคียงเข้า ด้วยกัน มีขา้ หลวงเทศาภิบาลเปน็ หวั หน้า ในด้านกิจการตำรวจ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั ทรงพัฒนากิจการตำรวจไปส่มู ณฑลตา่ ง ๆ ท่ัวราชอาณาจกั รด้วยเริ่มต้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ (ร.ศ.๑๑๖) โดยมีพระราชดำริว่า “กิจการทีไ่ ด้ทำอยู่ในหวั เมืองมณฑลต่าง ๆ น้ันยังไมเ่ ป็นที่เกรงขามแก่ พวกนักเลงปล้นสะดมและยังไมเ่ หมาะกับสมยั ของบ้านเมอื ง”เพือ่ จะให้ความปลอดภยั และสงบสุขแก่ อาณาประชาราษฎรจ์ ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยจดั ต้ังกองตำรวจภธู ร ในหวั เมอื งมณฑลต่าง ๆ ขึ้น กิจการตำรวจภูธรได้ขยายขึ้นตามลำดับโดยคอ่ ยๆครอบคลุมเขตพื้นที่ รกั ษาความสงบเรียบร้อยในหวั เมืองใหม้ ีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ โดยในปี พ.ศ. ๒๔๔๔ จดั ตง้ั กอง ตำรวจภูธรมณฑลพิษณโุ ลก ขึน้ พร้อมกับ นครศรธี รรมราช และ ปตั ตานี นับเป็นจุดกำเนิดของกอง ตำรวจภธู รมณฑลพิษณุโลก สอดคล้องกบั หลักฐานลายพระราชหตั ถเลขา พระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ ๕ เนือ่ งในพระราชวโรกาส เสดจ็ เลียบมณฑลฝา่ ยเหนอื เม่อื พ.ศ. ๒๔๔๔ ตอนหนง่ึ ข้อความว่า “..เวลาเช้า ๒ โมงเศษลงเรอื ลอ่ งลงไปขึน้ ทีห่ น้าตลาด..ตอนปลายไปใกล้ ถึงโรงสุรา เปน็ โรงคนเช่าอยไู่ มไ่ ด้ค้าขาย...และดโู รงสรุ าแล้ว กลบั ขนึ้ มาดูโรงเรยี นแผนที่ มีเรอื นครูฝรั่ง หลงั หนึ่ง..ออกจากนั้นไปผ่านหนา้ บ้านเจ้าพนักงาน ปา่ ไม้และทีพ่ ักตำรวจภูธรซึ่งยังไม่ได้ทำข้ึนใหม่ เป็น แตอ่ าศยั ที่ดนิ อยู่ ...” ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ มีมหาอำมาตย์ตรีพระยาเพ็ชรปาณี ดำรงตำแหนง่ สมุหเทศาภิบาลมณฑล พิษณโุ ลก และมีพระยากัลยาณวฒั นวิศษิ ฐ์ เปน็ ผู้ว่าราชการจงั หวดั นายพนั ตำรวจโทพระสท้านไตรภพ (มากมาย มุสิลกั ษณ์) ผู้บงั คับการตำรวจภธู ร และนายร้อยตำรวจเอกคณุ คำแหงสิงหนาท(อ่ัน ไชย นิพฒั น)์ ผู้บังคบั กองตำรวจภธู ร และ มพี ันตำรวจตรหี ลวงฤทธิ์สรไกร เปน็ ผู้บังคบั บัญชา(ผกู้ ำกบั การ ตำรวจภูธรจงั หวัดพิษณโุ ลก) เปน็ คนแรก

เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ กรมตำรวจได้ทำการกอ่ สร้างอาคารที่ทำการตำรวจข้ึนบนถนนบรมไตร โลกนาถ เปน็ อาคารตกึ ๔ ช้ัน ช้ันล่างสุด เป็นสถานีตำรวจภธู รอำเภอเมืองพิษณุโลก ช้ันทีส่ อง เป็นกอง กำกบั การตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก ช้ันที่สาม เปน็ ทีท่ ำการ ศปร. พตท.๖ ช้ันทีส่ ี่ เปน็ สถานทีเ่ ก็บ เอกสารและวัสดุสิ่งของของทางราชการ ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้อนุมัตใิ ห้ย้ายที่ทำการตำรวจภูธรภาค ๖ ไปยงั ทีท่ ำการปจั จุบนั ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จงั หวัดพิษณโุ ลก ตำรวจภธู รจังหวัดพิษณุโลก จงึ ย้ายจากช้ัน ๒ อาคารเดิมมาอยู่ ณ อาคารตำรวจภูธรภาค ๖ เดิมที่ย้ายออกไป จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๕ สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ จงึ ได้อนุมตั ิงบประมาณจำนวน ๓๐ ล้านบาท ทำการก่อสร้างทีท่ ำการ ตำรวจภูธรจงั หวดั พิษณโุ ลก ปัจจุบันเลขที่ ๒๓๔ หมู่ ๕ ตำบลหวั รอ อำเภอเมอื ง จังหวดั พิษณโุ ลก เนื้อ ที่ ๗ ไร่ ๑ งาน ๑๒ ตารางวา สร้างเมื่อ ๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ เสร็จเมื่อ ๑๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ และ ย้ายจากทีท่ ำการเดิมมาเมื่อปี ๒๕๕๗ มาจนถึงปจั จุบัน (ย่อจากบนั ทึกของ พล.ต.ต.วีระสมพร อยู่ศรีสกุล อ้างอิง หนังสอื ๑๑๑ ปี ตำรวจภูธรภาค ๕ และเอกสารบรรยายสรปุ สภ.อ.เมอื งพิษณโุ ลก เนื่องในโอกาส คณะจเรตำรวจมาตรวจราชการ เมื่อ ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๑)

วตั ถุประสงค์ ในการสร้างพระประธานประจาหนว่ ย เพอ่ื เป็นทร่ี ะลกึ ในวาระครบรอบ ๘๔ ปี ตารวจภูธร จงั หวดั พษิ ณุโลก เป็นทยี่ ดึ เหนยี่ วจติ ใจและเคารพสกั การะของ ขา้ ราชการตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลกและประชาชน ทว่ั ไป เพอ่ื เป็นการจดั หารายไดจ้ ดั ตงั้ กองทุนสวสั ดกิ าร ช่วยเหลอื ขา้ ราชการตารวจ ตารวจภธู รจงั หวดั พษิ ณุโลก เพอ่ื เกดิ ขวญั และ กาลงั ใจในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่นการรกั ษาความปลอดภยั ใน ชวี ติ และทรพั ย์สนิ ของประชาชน

พิธขี ออนุญาตจดั สรา้ ง พระพุทธชินราชจำลอง ณ วดั พระศรรี ัตนมหาธาตวุ รมหาวิหาร จังหวัดพษิ ณุโลก วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔ แรม ๓ คำ่ เดือน ๘







เม่ือวนั พฤหสั บดีท่ี 27 พฤษภาคม ๒๕64 แรม ๓ ค่ำเดือน ๘ พลตำรวจรตรธี วชั วงศ์สง่า ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลกพิษณุโลก เป็นประธาน พร้อมด้วย คุณอรชุกร วงศ์สง่า ประธาน แม่บ้านตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก,หัวหน้าสถานีตำรวจภูธร ผู้ กำกับการฝ่ายอำนวยการพิษณุโลก และ คณะกรรมการตรวจและติดตามการบริหารงานตำรวจจังหวัด พษิ ณโุ ลก โดย ดร.สมไทย วงษเ์ จริญ บณั ฑิตผู้ทำพธิ ีการ ร่วมพิธีบวงสรวงขออนุญาต จดั สร้างพระพุทธชินราช จำลอง หน้าตัก 29 นิ้ว เพื่อประดิษฐาน ณ หอพระหน้าที่ทำการ ตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก เหรียญ ด้านหนา้ พระพุทธชนิ ราช ด้านหลังสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช และ ดา้ นหนา้ พระพทุ ธชินราช ด้านหลังพ่อขุน ศรอี ินทราทติ ย์ เนอ่ื งในโอกาสที่ ตำรวจภธู รจังหวดั พิษณุโลก ก่อต้ังมาเปน็ ระยะเวลา 84 ปี โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหเ้ ป็นศนู ยร์ วมจิตใจและเป็นที่สักการะบชู าของขา้ ราชการตำรวจ ในจงั หวัดพษิ ณุโลก ตลอดจนประชาชน ท่วั ไป ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร, ศาลพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ หน่วยพัฒนาการทหาร เคลอ่ื นท่ี 34 (โรงทอเดมิ ) และ ศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช พระราชวงั จนั ทน์ จังหวัดพิษณุโลก

พธิ บี วงสรวงพ่อขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ ณ ศาลพ่อขุนศรีอนิ ทราทติ ย์ ณ หนว่ ยพัฒนาการทหารเคลอ่ื นที่ 34 จังหวดั พษิ ณโุ ลก วนั ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔







พิธบี วงสรวง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ พระราชวงั จันทน์ จังหวดั พษิ ณุโลก วนั ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔







พระพุทธิวงศมุนี (บำรุง ฐานุตตโร) เจ้าอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เมตตาอนุญาต ให้จัดสรา้ งพระพทุ ธชนิ ราชจำลอง รนุ่ ๘๔ ปี ตำรวจภูธร จังหวดั พษิ ณโุ ลก และเมตตาใหใ้ ชส้ ถานที่ วดั พระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวหิ าร ในพิธีเททอง วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔ และ พีธีพุทธาภเิ ษก ในวันท่ี ๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔

พธิ เีททอง หล่อพระ สร้างพระพุทธชนิ ราชจาลอง ในวนั ท่ี ๒๗ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔ ณ วัดพระศรรี ัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวดั พษิ ณโุ ลก พระพุทธวิ งศมุนี (เจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร) ประธานฝ่ ายสงฆ์ พลตารวจตรธี วชั วงศ์สงา่ ผูบ้ งั คบั การตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก ประธานฝ่ ายฆราวาส ดร.สมไทย วงษ์เจริญ บณั ฑิตผูท้ ำพธิ ีพรำหมณ์

พระสงฆท์ รงสมณศักด์ิ นงั่ ปรกอธิฐานจิต พธิ เี ททองหลอ่ พระพุทธชนิ ราช พระเทพสทิ ธาคม(หลวงปู่สาย กติ ติปาโล) พระรตั นโมล(ี หลวงพอ่ ไพรนิ ทร์) เจ้าอาวาสวดั ท่าไม้แดง อาเภอเมอื ง จงั หวดั ตาก พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร อาเภอเมอื ง จงั หวดั พษิ ณุโลก หลวงพอ่ ยนต์ ฐิตสำโร วัดหลำ่ ยหนองหมี พระครบู ำสมหุ ์วรฉัตร สุจิตโต เจ้ำอำวำสวัดปำกเหมือง อำเภอวชิรบำรมี จังหวัดพจิ ิตร อำเภอสำรภี จังหวัดเชียงใหม่ พระพศิ ำลญำณวงศ์ (หลวงป่ ทู องดี อนีโฆ) หลวงพอ่ ฉลวย วัดเมมสวุ รรณำรำมตำบลท่ำช้ำง วัดใหมป่ ลำยหว้ ย อำเภอ สำมง่ำม จังหวัดพจิ ิตร อำเภอพรมพริ ำม จ.พษิ ณโุ ลก

รายนามพระสงฆท์ รงสมณศกั ดิ์ จานวน ๙ รปู เจรญิ พระพุทธมนต์ธมั มจกั รกปั วตั นสูตร ในพธิ เี ททองหลอ่ พระพุทธชนิ ราชจาลอง ร่นุ ๘๔ ปี ตารวจภธู รจงั หวดั พษิ ณุโลก ณ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร อาเภอเมอื งพษิ ณุโลก จงั หวดั พษิ ณุโลก วนั อาทติ ย์ท่ี ๒๗ มถิ ุนายน พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ***************** ๑. พระสุธรรมมุนี รองเจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร ๒. พระมหาจกั รกฤช ปญฺญาธโร ผูช้ ว่ ยเจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร ๓. พระครูปญั ญารตั นาทร ผูช้ ่วยเจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร ๔. พระครรู ตั นเสนาภมิ ุข ผูช้ ่วยเจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร ๕. พนะครูกติ ตริ ตั นานุกุล ผูช้ ว่ ยเจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร ๖. พระมหาธนศกั ดิ์ จนิ ฺตกวี ผูช้ ว่ ยเจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร ๗. พระครปู ลดั เถรานุวตั ร ผูช้ ่วยเจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร ๘. พระครวู นิ ยั ธรสงิ ห์ ปภากโร เลขานุการรองเจา้ คณะอาเภอเมอื งพษิ ณุโลก ๙. พระหมาราศี รตโน ผูช้ ่วยเลขานุการรองเจา้ คณะอาเภอเมอื งพษิ ณุโลก

ภาพจาลอง ในพธิ เี ททองหล่อพระพุทธชนิ ราช ๘๔ ปี ตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก ณ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร จงั หวดั พษิ ณุโลก วนั ที่ ๒๗ มถิ ุนายน ๒๕๖๔

พธิ เี ททองหล่อพระพุทธชนิ ราช ๘๔ ปี ตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก ณ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร จงั หวดั พษิ ณุโลก วนั ที่ ๒๗ มถิ ุนายน ๒๕๖๔







พระสงฆท์ รงสมณศกั ดน์ิ ง่ั ปรกอธษิ ฐานจติ พธิ เี ททองหลอ่ พระพุทธชนิ ราชจาลอง



พธิ เี ททองหล่อพระพุทธชนิ ราชจาลอง ๘๔ ปี ตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก ณ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร จงั หวดั พษิ ณุโลก วนั ที่ ๒๗ มถิ ุนายน ๒๕๖๔



วันที่ 27 มิถุนายน.๒๕64 เวลา 07.29 น. นายรณชัย จิตรวิเศษ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตำรวจจังหวัดพิษณุโลก, พลตำรวจตรี ธวัช วงศ์ สง่า ผู้บังคับการพิษณุโลก รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลกทุกท่าน คุณอรชุกร วงศ์สง่า ประธาน แม่บา้ นตำรวจภูธรหวดั พษิ ณโุ ลก,พลเอก ดร.ศริ ิ ทวิ ะพันธ์ อดตี แมท่ ัพภาค ๓ นาวาอากาศเอกภาณวุ ัตร เรือง ประยูร ผู้บังคับการกองบิน ๔๖ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิษณุโลก, คุณสุวิมล เกียรติ ศรีบุรินทร์ วัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลก, ประชาสัมพันธ์จังหวัดพิษณุโลก, นายมนชัยต์ วิวัฒ์ธนาฒย์ นายก องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั พิษณุโลก, นายแพทย์ไกรสขุ เพชระบูรณนิ สาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก , ดร.เปรม ฤดี ชามพูนท นายกเทศเทศมนตรีเทศบาลนครพิษณุโลก ,พลตำรวจโทวสันต์ วัสสานนท์ อดีต ผู้บัญชาการ ตำรวจภูธรภาค ๖ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชุมพล เสมาขันธ์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม พล.ต.ต.ธรรมนูญ เพชรบุรีกุล อดีตผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก คณะกรรมการตรวจสอบและ ติดตามการบริหารงานตำรวจจังหวัดพิษณุโลก ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงาน ของสถานีตำรวจในสังกัดตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก นักเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่น ๔๕ ข้าราชการตำรวจ ตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก ผู้กำกับการ กองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก หัวหน้าสถานี ตำรวจในสังกัดตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก พร้อมผู้มีเกียรติได้ร่วมกิจกรรม พิธีเจริญพระพุทธมนต์ พิธี บวงสรวงเทวดาบชู าฤกษ์ เททองหลอ่ พระพทุ ธชนิ ราชจำลอง รนุ่ 84 ปี ตำรวจภธู รจงั หวัดพิษณุโลก ในเวลา ๐๙.๐๙ นาฬกิ า และถวายผ้าป่า ณ วดั พระศรรี ัตนมหาธาตวุ รมหาวหิ าร มีพุทธศาสนิกชนผูม้ ีจิตศรทั ธา เข้า ร่วมพิธี ภายใต้มาตรการป้องกัน D-M-H-T-T ป้องกันเชอื้ โควดิ -19 อย่างเครง่ ครดั โดยมี พระพทุ ธิวงศมุนี เจ้าอาวาสวัดพระศรรี ัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร เปน็ ประธานฝ่ายสงฆ์ พลตำรวจตรีธวัช วงศ์สง่า ผบู้ ังคบั การตำรวจภูธรจงั หวดั พิษณุโลก เปน็ ประธานฝา่ ยฆราวาส และ ดร.สมไทย วงษ์เจริญ บณั ฑิตผู้ทำหน้าทพี่ ิธีพราหมณ์

พธิ พี ุทธาภเิษก พระพุทธชนิ ราชจาลองร่นุ ๘๔ ปี ตารวจภธู รจงั หวดั พษิ ณุโลก ณ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร จงั หวดั พษิ ณุโลก วนั ที่ ๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔ พระพุทธวิ งศมุนี เจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร ประธานฝ่ ายสงฆ์ พลตารวจตรี ธวชั วงศ์สง่า ผูบ้ งั คบั การตารวจภธู รจงั หวดั พษิ ณุโลก ประธานฝ่ ายฆราวาส ดร.สมไทย วงษ์เจรญิ บณั ฑติ ผูท้ าพธิ พี ราหมณ์

รายนามพระสงฆผ์ ูท้ รงสมณศกั ดน์ิ ง่ั ปรกอธฐิ านจติ พธิ พี ุทธาภเิษก พระพุทธชนิ ราชจาลองร่นุ ๘๔ ปี ตารวจภธู รจงั หวดั พษิ ณุโลก ณ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร จงั หวดั พษิ ณุโลก วนั ท่ี ๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔ ๑.พระเทพสทิ ธาคม(หลวงปู่สาย กติ ฺตปิ าโล) วดั ท่าไมแ้ ดง อาเภอเมอื ง จงั หวดั ตาก ๒.พระรตั นโมล(ี หลวงพอ่ ไพรนิ ทร์) วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหาร อาเภอเมอื ง จงั หวดั พษิ ณุโลก ๓.พระพศิ าลญาณวงศ์(หลวงปู่ทองดี อนโีฆ) วดั ใหมป่ ลายห้วย อาเภอสามงา่ ม จงั หวดั พจิ ติ ร ๔.พระอาจารยโ์ รจนศ์ กั ด์ิ เพชรทองทวคี ูณ(หลวงพอ่ ฉลวย) วดั เมมสุวรรณาราม อาเภอพรหมพริ าม จงั หวดั พษิ ณุโลก ๕.พระครูวมิ ลปุญญาภรณ์(หลวงพอ่ พมิ พ์ ผลปุญโญ) วดั พฤษวนั อาเภอบางบุญานาก จงั หวดั พจิ ติ ร ๖.พระครนู วิ ฐิ มณวี งศ์(หลวงพอ่ สะอาด) วดั เขา้ แก้ว อาเภอพยุหครี ี จงั หวดั นครสวรรค์ ๗.พระครูพนิ จิ สลี คุณ (หลวงพอ่ สนม อุ่นใจ)วดั ท้ายน้า อาเภอโพทะเล จงั หวดั พจิ ติ ร ๘.พระครพู สิ ุทธวิ รากร(หลวงพอ่ วทิ ยา)วดั บางคลาน จงั หวดั พจิ ติ ร ๙.พระครูโกวทิ พฒั นาทร (หลวงพอ่ แดง )วดั บางทราย อาเภอเมอื ง จงั หวดั พษิ ณุโลก ๑๐. พระครูอนิ ทวรวชิ ยั (หลวงพอ่ ชนะ อาคมแกว้ ) วดั บงึ พระ อาเภอเมอื ง จงั หวดั พษิ ณุโลก

พระสงฆ์ทรงสมณศกั ดน์ิ งั่ ปรกอธฐิ านจติ พธิ พี ุทธาภเิษก พระพุทธชนิ ราชจาลองร่นุ ๘๔ ปี ตารวจภูธรจงั หวดั พษิ ณุโลก ณ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร จงั หวดั พษิ ณุโลก วนั ที่ ๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔ พระเทพสิทธาคม พระรัตนโมลี(หลวงพ่อไพรินทร์) พระพศิ าลญาณวงศ์(หลวงปู่ทองด)ี (หลวงปู่สาย กติ ตปิ าโล) วดั พระศรรี ตั นมหาธาตูวรมหาวหิ าร จ.พษิ ณุโลก วดั ใหม่ปลายหว้ ย อ.สามงา่ ม จงพจิ ติ ร วัดท่าไม้แดง อ.เมือง จ.ตาก พระอาจารย์โรจนศกั ด(์ิ หลวงพอ่ ฉลวย)พระครูวมิ ลปุญญาภรณ(์ หลวงพอ่ พมิ พ์ ผลปุญโญ)พระครูนวิ ฐิ มณวี งศ์(หลวงพอ่ สะอาด วดั เมมสุวรรณาราม จ.พษิ ณุโลก วดั พฤกษะวนั องบางบุญนาก จ.พจิ ติ ร วดั เขาแก้ว อ.พยุหะครี ี จ.นครสวรรค์ พระครูพนิ จิ สลี คุณ(หลวงพอ่ สนมอุ่นใจ) พระครูพสิ ุทธวิ รากร(หลวงพอ่ วทิ ยา) พระครโู กวทิ พฒั นาทร (หลวงพอ่ แดง )วดั บางทราย วดั ทา้ ยน้า อ.โพทะเล จ.พจิ ติ ร วดั บางคลาน อ.โพทะเล จ.พจิ ติ ร(วดั บางทราย) อ.เมอื ง จงั หวดั พษิ ณุโลก

พระครอู นิ ทวรวชิ ยั (หลวงพอ่ ชนะ อาคมแกว้ ) วดั บงึ พระ อ.เมอื ง จ.พษิ ณุโลก

รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศกั ดิ์เจรญิ พระพุทธมนตพ์ ิธีพุทธาภิเษก พระพุทธชินราชจำลองรุ่น ๘๔ ปี ตำรวจภูธรจังหวัดพิษณโุ ลก ณ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวิหารจงั หวดั พิษณุโลก วนั ที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ ๑. พระราชรัตนสุธี เจา้ คณะจังหวัดพิษณโุ ลก ๒. พระครูปัญญารตั นาทร เจา้ คณะอำเภอเมืองพิษณโุ ลก ๓. พระครกู ิตติรตั นานกุ ุล เจ้าคณะตำบลในเมือง เขต 1 ๔. พระมหาจักรกฤช ปญญฺ าธโร ผชู้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดพระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร ๕. พระครูรตั นสารสารทร ผูช้ ่วยเจ้าอาวาสวัดพระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร ๖. พระครปู ิยรัตนานุวตั ร ผ้ชู ่วยเจ้าอาวาสวัดพระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร ๗. พระครปู ลัดเถรานวุ ัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระศรีรตั นมหาธาตวุ รมหาวิหาร ๘. พระครูธรรมธรสุบรรณ จณฺทสวุ ณฺโณ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารวัดพระศรีรัตนมหาธาตวุ รมหาวิหาร ๙. พระมหาสมพงษ์ กิตฺติภทโฺ ท วัดพระศรรี ัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร พระพิธีกรรม สวดคาถาพทุ ธาภิเษก ๔ รปู ๑.พระครูรตั นสารสาทร ผู้ช่วยเจา้ อาวาสวัดพระศรีรตั นมหาธาตวุ รมหาวิหาร ๒.พระครูรัตนสุตาภรณ์ ผ้ชู ว่ ยเจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตวุ รมหาวิหาร ๓.พระมหาธนศกั ดิ์ จนิ ฺตกวี ผู้ชว่ ยเจา้ อาวาสวดั พระศรรี ตั นมหาธาตวุ รมหาวิหาร ๔.พระครูมนญู จนั ทสาร เจ้าอาวาสวดั เขือ่ นขนั ธ์ อำเภอเมือง จงั หวัดพิษณโุ ลก

พิธีบวงสรวง พระพทุ ธชินราช ณ วดั พระศรรี ัตนมหาธาตวุ รมหาวิหาร จงั หวัดพิษณโุ ลก วนั ที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook