Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทยไทย

ใบความรู้โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทยไทย

Published by กศน อําเภอทับคล้อ, 2021-06-13 14:59:49

Description: ใบความรู้โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทยไทย

Search

Read the Text Version

ขน้ั ตอนการศกึ ษาวธิ ที างประวตั ศิ าสตร์ เนอ้ื หา เดิมที สุโขทัย เป็นสถานีการคา้ ของแควน้ ละโว้ (ลวรฐั ) ของอาณาจกั รขอม บนเสน้ ทางการคา้ ผ่านคาบสมุทรระหว่างอา่ วเมาะตะ มะ กับเขตทร่ี าบลมุ่ แม่น้าโขงตอนกลาง (ประเทศลาว) คาดวา่ เรม่ิ ตั้งเปน็ สถานกี ารคา้ ในราวพทุ ธศักราช ๑๗๐๐ในรชั สมยั ของพระยาธรรมกิ ราช กษตั รยิ ์ละโว้ โดยมีพอ่ ขนุ ศรนี าวน้าถมเป็นผปู้ กครองและดแู ลกจิ การภายในเมอื งสุโขทยั และศรสี ัชนาลยั ต่อมาเมือ่ พอ่ ขุนศรนี าวน้าถม สวรรคต ขอมสบาดโขลญล้าพง ซงึ่ เปน็ คลา้ ยๆกับผตู้ รวจราชการจากลวรัฐ เข้าท้าการยึดอ้านาจการปกครองสุโขทัย จงึ ส่งผลให้ พอ่ ขนุ ผา เมือง (พระราชโอรสของพอ่ ขุนศรนี าวน้าถม) เจา้ เมืองราดและพอ่ ขนุ บางกลางหาว เจา้ เมอื งบางยาง ตดั สนิ พระทัยจะยดึ ดินแดนคนื การชิง เอาอ้านาจจากผคู้ รองเดมิ คอื อาณาจักรขอมเมอื่ ปี ๑๗๘๑ และสถาปนาเอกราชให้กรุงสโุ ขทยั ข้ึนเปน็ ราชธานีของชาวไทยโดยไม่ข้ึนตรงกับรัฐ ใด พ่อขุนผาเมือง กก็ ลบั ยกเมอื งสโุ ขทัย ใหพ้ อ่ ขุนบางกลางหาวครอง พร้อมท้งั พระแสงขรรคช์ ัยศรี และพระนามกา้ มรเตงอัญศรี อนิ ทรบดินทราทติ ย์ ซ่งึ ๗ ทรงพระราชทานให้พ่อขุนผาเมืองกอ่ นหนา้ นี้ โดยคาดว่า เหตผุ ลคอื พอ่ ขนุ ผาเมือง มีพระนางสิขรเทวพี ระมเหสี (ราชธิดาของพระเจา้ ชัยวรมันท่ี ๗) ซึง่ พระองคเ์ กรงวา่ ชาวสโุ ขทยั จะไม่ยอมรบั แตก่ ก็ ลัวว่าทางขอมจะไมไ่ ว้ใจจึงมอบพระนามพระราชทาน และพระแสงขรรค์ชัยศรี ขึน้ บรมราชาภิเษกพอ่ ขนุ บางกลางหาว ใหเ้ ปน็ กษตั รยิ ์ เพื่อเปน็ การตบตาราชส้านกั ขอม ตวั อยา่ ง SCAN ME

การสถาปนากรงุ สโุ ขทยั ตวั อยา่ ง SCAN ME หลังจากมีการสถาปนาอาณาจกั รสุโขทัยข้นึ เปน็ ราชธานี และ มพี ่อขุนศรีอนิ ทราทติ ย์ เปน็ ปฐมกษัตรยิ ์แลว้ พระองค์ทรงดูแลพระ ราชอาณาจกั ร และบ้ารงุ ราษฎรเปน็ อยา่ งดพี ระมหากษัตริยพ์ ระองค์ที่ สาม พอ่ ขนุ รามค้าแหงมหาราช ทรงพระปรีชาสามารถทั้งในด้าน นริ กุ ตศิ าสตร์ การปกครอง กฎหมาย วศิ วกรรม ศาสนา ความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งประเทศ เปน็ ต้น ผลงานของพระองคท์ ป่ี รากฏให้เห็น อาทิ ศลิ าจารึก ประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั ตวั อยา่ ง SCAN ME ด้านการปกครอง ด้านการปกครองสามารถแยกกลา่ วเป็น ๒ แนว ดงั นี้ ในแนวราบ จดั การปกครองแบบพ่อปกครองลูก กล่าวคือผ้ปู กครองจะมี ความใกลช้ ดิ กบั ประชาชน ให้ความเป็นกนั เองและความยตุ ธิ รรมกับ ประชาชน ในแนวดงิ่ ไดม้ กี ารจดั ระบบการปกครองข้ึนเปน็ ๔ ชนช้นั คอื พอ่ ขนุ เปน็ ชนชั้นผ้ปู กครอง อาจเรียกชอ่ื อยา่ งอ่ืน เช่น เจา้ เมือง พระมหาธรรม ราชา หากมโี อรสก็จะเรยี ก \"ลูกเจา้ \" ลกุ ขุน เป็นขา้ ราชบริพาร ขา้ ราชการทีม่ ี ตา้ แหนง่ หน้าทช่ี ่วงปกครองเมอื งหลวง หัวเมืองใหญน่ อ้ ย และภายในราช ส้านัก เปน็ กลมุ่ คนทใี่ กลช้ ิดและไดร้ ับการไว้วางใจจากเจ้าเมอื งใหป้ ฏบิ ตั ิ หน้าที่บ้าบดั ทุกขบ์ ้ารงุ สขุ แกไ่ พรฟ่ าู ไพร่หรือสามญั ชน ได้แกร่ าษฎรทว่ั ไปที่ อยใู่ นราชอาณาจกั ร (ไพร่ฟา้ ) ทาส

ประวตั ศิ าสตรส์ มยั อยธุ ยา การสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยา กรุงศรีอยุธยาก่อก้าเนิดขึ้นเป็น ราชธานีในปี พ.ศ.๑๘๙๓ แต่มีข้อถกเถียงกันมากว่า การถือก้าเนิดของกรุง ศรี อยุธยานน้ั มไิ ดเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งปัจจบุ ันทนั ด่วนเสยี ทีเดยี ว มหี ลกั ฐานว่าก่อนที่พระเจ้าอู่ทองจะสร้างเมืองขึ้นที่ต้าบลหนอง โสน บริเวณนเี้ คยมผี คู้ นอาศัยมากอ่ นแลว้ วดั ส้าคัญอย่างวัดมเหยงค์ วัดอโยธยา และวัดใหญ่ชัยมงคล ล้วนเป็นวัดเก่าที่มีมาก่อน สรา้ งกรุงศรี อยุธยาทั้งสิ้น โดยเฉพาะท่ีวัดพนัญเชิง วัดท่ีประดิษฐาน หลวงพ่อโต พระ พุทธรูปปูนป้ันขนาดใหญ่แบบอู่ทอง พงศาวดารเก่าระบุว่า สร้างขึ้นก่อน การสร้างพระนครศรีอยุธยาถึง ๒๖ ปี วัดเหล่านี้ ตั้งอยู่ตามแนวฝั่งตะวันออกของแม่ น้าปุาสัก นอก เกาะเมืองอยุธยาที่มีการขุดพบคูเมืองเก่าด้วย ท้าให้เช่ือกันว่าบริเวณนี้น่า จะเป็นเมืองเก่าท่ีมีชื่ออยู่ในศิลา จารกึ กรุงสุโขทัยว่า อโยธยาศรรี ามเทพ นครอโยธยาศรรี ามเทพนคร ปรากฏชอื่ เป็นเมืองแฝดละโว้อโยธยา มาต้ังแต่ช่วงราว ปี พ.ศ.๑๗๐๐ เปน็ ตน้ มา ครั้นกอ่ นปี พ.ศ.๑๙๐๐ พระเจา้ อู่ ทองซงึ่ ครองเมืองอโยธยาอยู่ก็ทรงอภิเษกสมรสกับพระราชธิดา ของ กษัตริย์ทางฝุายสุพรรณภูมิ ซ่ึงครองความเป็นใหญ่อยู่อีกฟากหนึ่งของแม่ น้าเจ้าพระยา อโยธยาและสุพรรณภูมิจึง รวมตัวกนั ขึน้ โดยอาศยั ความ สัมพันธ์ทางเครือญาติ ตวั อยา่ ง SCAN ME

ประวตั ศิ าสตรส์ มัยธนบรุ ี การสถาปนากรงุ ธนบรุ ี กรุงธนบุรี เป็นราชธานีของไทย ในชว่ ง พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕ มที ่ตี ง้ั ณ ฝั่งตะวนั ตกของแมน่ ้าเจ้าพระยา ที่เมอื ง ธนบุรีเดมิ หลงั จากกรงุ ศรอี ยุธยาตอ้ งเสียแกพ่ มา่ เม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๐ แล้ว สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราชก็ไดท้ รงสถาปนาราช ธานแี หง่ ใหม่ขึน้ พระราชทานนามว่า\"กรุงธนบรุ ศี รีมหาสมุทร\" เม่ือจุลศักราช ๑๑๓๐ ปชี วด สมั ฤทธศิ ก ตรงกบั พ.ศ. ๒๓๑๐ จวบจนถงึ พ.ศ. ๒๓๒๕ นับเปน็ เวลาแหง่ ราชธานเี พียง ๑๕ ปเี ท่าน้นั ชมุ นมุ และ กอ่ นท่จี ะสถาปนากรุงธนบุรี ตวั อยา่ ง SCAN ME ประวตั พิ ระเจา้ ตากสนิ มหาราช ตวั อยา่ ง SCAN ME พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช หรือ สมเดจ็ พระเจ้ากรงุ ธนบรุ ี (พ.ศ. ๒๒๗๗ - พ.ศ. ๒๓๒๕ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๑๑ - พ.ศ. ๒๓๒๕) เป็นพระมหากษัตริย์พระองคเ์ ดียวแหง่ กรุงธนบรุ ี และเปน็ พระมหากษัตรยิ ์พระองคเ์ ดยี วแหง่ สยามประเทศที่มาจากเช้อื สายจีน มี พระนามเดมิ ว่า สนิ พระองค์เปน็ โอรสของพระบรมราชชนก ไหฮอง และ พระบรมราชชนนี นกเอ้ยี ง เสด็จพระราชสมภพในวนั อาทิตย์ เดอื น ๕ ข้นึ ๑๕ ค้่า ปีขาล จุลศกั ราช ๑๐๙๖ เวลาประมาณ ๕ โมงเช้า ตรงกับ วนั ที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๒๗๗

ประวตั ศิ าสตรส์ มัยรตั นโกสนิ ทร์ การสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ กรุงรัตนโกสินทร์ หรือ \"กรงุ เทพมหานคร\" เปน็ ราชธานขี องไทย ตง้ั อยทู่ างตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา ตรงข้ามกับทตี่ ั้งของ กรงุ ธนบุรี โดยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาู จฬุ าโลก ได้ เสด็จข้นึ ครองราชสมบัติ เมอื่ วันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ และทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระนครขน้ึ โดยทา้ พิธีตง้ั เสาหลักเมืองของพระนครใหม่ เมอ่ื วันอาทิตย์ เดอื น ๖ ข้นึ ๑๐ ค่้า เวลายา้่ รงุ่ แลว้ ๔๕ นาที ตรงกบั วนั ท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ ท้งั น้ี ไดพ้ ระราชทานนามของพระนคร ว่า \"กรงุ เทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์มหินทรายุทธยา มหา ดลิ กภพ นพรตั นร์ าชธานีบรุ รี มย์ อดุ มราชนิเวศนม์ หาสถาน อม รพิมารอวตารสถติ สักกะทตั ติยะ วิษณุกรรมประสิทธ\"ิ์ แปลวา่ พระนครอนั กวา้ งใหญด่ ุจเทพนคร เปน็ ท่สี ถิตยข์ องพระแก้ว มรกต เปน็ พระมหานครท่ีไมม่ ใี ครรบชนะ มีความงามอนั มนั่ คง และเจริญยงิ่ เปน็ เมืองหลวงท่ีบรบิ ูรณไ์ ปดว้ ยแกว้ เปราะนา่ รนื่ รมยย์ งิ่ พระราชนิเวศนใ์ หญ่โตมากมาย เหตกุ ารณส์ า้ คญั สงครามเกา้ ทพั สถานท่นี เี้ คยเปน็ สมรภมู ิการรบระหวา่ งกองทัพของ ไทยในสมยั ของ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาู จฬุ า โลกมหาราช แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ และกองทัพพระ เจ้าปดงุ กษัตรยิ ์พม่าในพม่า เม่ือปี พ.ศ. 2328 โดย กองทัพไทยซง่ึ มเี พียง 4 กองทัพ ได้ต้านทานการบุก และตดั การลา้ เลยี งเสบียงอาหาร รวมถึงกระสนุ ปืน ใหญ่ของฝุายทัพพม่า โดยใชเ้ วลาท้งั สืน้ 10 เดือน กว่า สงครามจะยุติลง โดยทัพไทยเปน็ ฝาุ ยชนะ และรกั ษา เอกราชของชาติไวไ้ ด้ สงครามครง้ั นีม้ ชี ื่อเรยี กว่า “สงคราม 9 ทัพ”

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาจกั รบี รมนาถฯ พระพทุ ธยอดฟาู จุฬาโลกมหาราช เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ รชั กาลที่ ๑ แหง่ ราชจกั รวี งศ์ (พ.ศ. ๒๒๗๙ - พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒ ) เสดจ็ พระบรม ราชสมภพเมอื่ วันพุธ เดือน ๔ แรม ๕ ค่้า ปมี ะโรงอฐั ศก เวลา ๓ ยาม ตรงกับวนั ท่ี ๒๐ มีนาคม พทุ ธศักราช ๒๒๗๙ พระราชกรณยี กจิ ทสี่ า้ คญั ทางด้านศาสนา โปรดให้สังคายนาพระไตรปิฎก พ.ศ. 2331 และจารฉบับทองประดิษฐานไว้ในหอพระมณเฑียรธรรม วัด พระศรีรตั นศาสดาราม นอกจากน้ยี ังทรงสรา้ งและบูรณปฏสิ ังขรณ์พระอารามและพระพุทธรู ตา่ งๆ เปน็ อนั มาก ทางด้านวรรณคดแี ละศลิ ปกรรม ทรงฟื้นฟูวรรณคดไี ทยซึ่งเส่อื มโทรมต้งั แตก่ รงุ ศรีอยุธยาแตกให้ กลับคนื ดอี ีกวาระหนื่ง ทรงส่งเสริมและอปุ ถัมภ์กวใี นราชส้านัก บทพระราชนิพนธ์ท่สี า้ คญั เช่น บทละคร เรื่องรามเกยี รต์ิ เป็นต้น งานทางด้าน ศิลปกรรมนัน้ เปน็ ผลเนือ่ งมาจากการท่ีทรงบูรณะปฏสิ ังขรณ์และสร้าง พระอารามเป็นจ้านวนมาก เป็นการเปิดโอกาสให้ ชา่ งฝีมอื ด้านต่างๆ มงี านทา้ และไดผ้ ลิตงานฝีมือช้ินเอกไว้ เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.1

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัยเปน็ พระมหากษตั รยิ ์รชั กาลที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๕๖๗ ครองราชย์ ๑๕ ปี พระชนมายุ ๕๘ พรรษาเสดจ็ พระราชสมภพ เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ พระนามเดมิ ว่า ฉิม เปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช ก่อนขึน้ ครองราชย์ทรงดา้ รงพระยศเป็น เจ้าฟูา กรมหลวงอศิ รสนุ ทร ต้าแหน่งพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระองค์มีความสามารถทางอักษรศาสตรเ์ ปน็ อย่างดี ทรงรว่ มนพิ นธว์ รรณคดี กบั สมเดจ็ พระราชบิดาไว้หลายเรือ่ ง ไดแ้ ก่ อุณรุท รามเกียรติ์ อิเหนา และดาหลัง ซ่ึง เรียกวา่ พระราชนิพนธใ์ นรัชกาลท่ี ๑ พระราชกรณยี กจิ ทส่ี า้ คญั ทา้ นบุ า้ รุงศิลปวฒั นธรรมของชาตพิ ระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ทรงมพี ระอัจฉรยิ ภาพในงานศิลปะหลายสาขา ท้งั ทางดา้ นประติมากรรม ดา้ นการดนตรี แตท่ โี่ ดด เดน่ ทส่ี ดุ เห็นจะเป็นในดา้ นวรรณคดี จนอาจเรียกได้วา่ ยุคน้ีเปน็ ยุคทอง ของวรรณคดีไทยสมยั กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ละครรา้ รุ่งเรืองถึงขีดสดุ ด้วยพระองคท์ รงเปน็ กวีเอก และทรงพระราชนิพนธ์ วรรณคดไี ว้หลายเล่มด้วยกัน เชน่ รามเกยี รติ์ตอนลักสีดา วานรถวายพล พเิ ภกสวามภิ ักด์ิ สดี าลุยไฟ นอกจากน้ียังมีพระราช นพิ นธ์เรอื่ งอิเหนาท่ีได้รับการยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรในสมยั รัชกาลท่ี ๖ เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.2

พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ อยหู่ วั เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ รชั กาลท่ี ๓ ครองราชย์ ๒๖ ปี (พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๙๔) พระชนมายุ ๖๔ พรรษาเสด็จพระราชสมภพ เมื่อวนั ท่ี ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๓๓๐ มพี ระนามเดมิ ว่า พระองค์เจา้ ทับ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดา เรยี บ ก่อนขนึ้ ครองราชยท์ รงด้ารงพระยศเปน็ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ ไดท้ รงเคยว่าราชการ มาหลายตา้ แหน่ง เชน่ กรมทา่ (กระทรวงการตา่ งประเทศ) กรมพระคลงั มหาสมบัติ กรมต้ารวจ และผ้วู ่าความในศาลฎีกา ในรชั สมัยของพระองค์ พระราชกรณยี กจิ ทสี่ า้ คญั ทรงทา้ นบุ า้ รงุ ประเทศใหเ้ จรญิ รุ่งเรืองทุกด้าน เช่น ดา้ นเศรษฐกิจ โปรดใหป้ รบั ปรุงการค้าขายกับต่างประเทศ และ ระเบียบวธิ ีการเกบ็ ภาษีอากรต่างๆ ด้านความมั่นคง โปรดให้สรา้ งปูอมปราการตามหัวเมอื งส้าคัญและ ตามชายฝั่งทะเล ตลอดจนต่อเรือรบเรือก้าป่ันไวใ้ ชใ้ นราชการเปน็ จ้านวนมาก โปรดใหม้ ีการปราบปราม ผกู้ ่อความไมส่ งบตอ่ แผ่นดินอย่าง เดด็ ขาด เปน็ ตน้ ว่า การปราบปรามเวยี งจันทน์ ญวน และหัวเมอื งปักษ์ ใต้ ทั้งยังทรงยกฐานะหมบู่ ้านต่างๆ ขนึ้ เปน็ เมืองเพือ่ ขยายความเจรญิ ในการปกครอง ด้านศาสนา ทรง บ้าเพ็ญพระราชกุศลเป็นนิจ ทรงบรู ณะปฏสิ ังขรณ์พระอารามเป็นจ้านวน มาก โปรดใหม้ ีการสอนพระ ปรยิ ตั ิธรรมแกพ่ ระภกิ ษุ และโปรดให้จารึกสรรพต้าราตา่ งๆ 8 หมวดบนแผ่นศิลา ประดับไว้ ณ ศาลาราย ในวดั พระเชตพุ นฯ เพ่ือเผยแพร่ความรูแ้ ก่ประชาชน เสมือนเป็นมหาวทิ ยาลยั แหง่ แรกของประเทศ เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.3

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เปน็ พระมหากษตั รยิ ์รัชกาลที่ ๔ ครองราชย์ ๑๖ ปี ( พ.ศ. ๒๓๙๔ – ๒๔๑๑ ) พระชมมายุ ๖๖ พรรษา เสดจ็ พระราชสมภพเมื่อวันท่ี ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั และสมเดจ็ พระศรสี ุริเยนทราบรมราชินี มีพระ นามเดิมวา่ เจา้ ฟูามหามาลา เมือ่ พระชนมายุได้ ๙ พรรษา ไดร้ ับสถาปนาเป็นเจ้าฟาู มงกุฎ มพี ระราชอนุชาร่วมพระราช มารดา คอื เจา้ ฟาู จุฬามณี ซงึ่ ตอ่ มาได้รบั สถาปนาเป็น พระบาทสมเด็จพระป่นิ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว เมอื่ พระชนมายไุ ด้ ๒๑ พรรษา ได้ออกผนวชตามประเพณีและอยู่ในเพศบรรพชิต ตลอดรชั สมยั รัชกาลที่ ๓ เม่อื รัชกาลท่ี ๓ สวรรคต จึงได้ลาสิกขา มาขึน้ ครองราชย์สมบตั ิ พระราชกรณยี กจิ ทสี่ า้ คญั ทรงท้านบุ า้ รงุ ประเทศชาติ ใหเ้ จริญรุ่งเรอื งในทุกๆ ดา้ น ทรง เปน็ พระมหากษตั รยิ ผ์ เู้ ร่ิมศกั ราชการ ตดิ ต่อกับนานา อารยประเทศ ทงั้ ปวงอย่างจริงจงั ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการ ทีป่ ระเทศต่างๆ สง่ คณะทูตเขา้ มาเจรญิ สมั พันธไมตรี และติดต่อ ค้าขาย และพระองค์ได้ทรงแตง่ คณะทตู ออกไปเจริญสัมพันธไมตรีตอบแทนหลายครง้ั เช่น องั กฤษ ฝรั่งเศส สหรฐั อเมรกิ า โปรตเุ กส เดน มาร์ค ฯลฯ ทรงสนบั สนนุ ให้มี การศึกษาศลิ ปวิทยาการใหมๆ่ เช่น วิชาการต่อเรือใบ เรอื กลไฟ เรือรบ การ ฝึกทหารอย่างยโุ รป การยกเลิกธรรมเนียมที่ลา้ สมยั บางประการ เช่น ประเพณกี ารเข้าเฝูาใหใ้ สเ่ สือ้ เขา้ เฝูา การให้ประชาชน เฝาู แหนรบั เสด็จตลอดระยะรายทางเสด็จได้ ฯลฯ พระปรีชาสามารถสว่ นพระ องค์ที่สา้ คัญอกี ประการหน่ึงคือ วชิ าการด้าน โหราศาสตร์ และดาราศาสตร์ ทรงสามารถค้านวณระยะเวลา การเกดิ สุริยุปราคาได้อยา่ งแม่นยา้ ดังไดเ้ สดจ็ พระราชด้าเนิน พรอ้ มพระราชอาคันตุกะท้ังปวง ไปชม สรุ ยิ ปุ ราคาทีห่ วา้ กอ ประจวบคีรขี ันธ์ เมือ่ พ.ศ. 2411 เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.4

พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เปน็ พระมหากษตั รยิ ์รชั กาลท่ี ๕ ครองราชย์ ๔๒ ปี (พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓) พระชนมายุ ๕๘ พรรษาเสด็จพระราชสมภพเม่ือวันท่ี ๒๐ กนั ยายน พ.ศ.๒๓๙๖ มีพระนามเดิมวา่ เจา้ ฟูาจุฬาลงกรณ์ เปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว และสมเดจ็ พระเทพศิรนิ ท รามาตย์ ก่อนขึน้ ครองราชยท์ รงดา้ รงพระยศเป็น กรมขุนพินติ ประชานาถ พระองค์ได้ทรงสร้างความเจริญรุง่ เรืองใหแ้ ก่ ประเทศนานัปการ ทรงบริหารประเทศก้าวหน้าทดั เทยี มนานาอารยประเทศ ทรงประกาศเลิกทาส ปรบั ปรงุ ระบบการศาล ตงั้ กระทรวงยตุ ธิ รรม ปรบั ปรงุ กฎหมายตา่ ง ๆ สง่ เสริมการศึกษาอย่างกวา้ งขวางในหม่ปู ระชาชนทวั่ ไป ต้ังกระทรวงธรรม การ ตั้งโรงเรียนฝึกหดั ครู สง่ นักเรียนไทยไปศึกษาในยุโรป สรา้ งการรถไฟ โดยทรงเปดิ เส้นทางเดนิ รถไฟสายกรุงเทพ ฯ ถงึ นครราชสมี า เม่ือวันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๒๑ สรา้ งโรงไฟฟูา จัดใหม้ ีการเดนิ รถรางข้ึนในกรุงเทพ ฯ จัดต้งั การ ไปรษณีย์ โทรเลข เมือ่ พ.ศ. ๒๔๒๑ สรา้ งระบบการประปาฯลฯ พระราชกรณยี กจิ ทสี่ า้ คญั ทรงเลกิ ทาส พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว มพี ระราชหฤทัยอันเต็มเปยี่ มไปด้วยพระมหากรุณาธิ คุณแก่พสกนกิ ร อยา่ งหาท่สี ุดมไิ ด้ ทรงเหน็ การณไ์ กล และตระหนักในความเจริญรงุ่ เรืองและสนั ตสิ ุข ของบ้านเมอื ง การเปลีย่ นแปลงต่างๆ จะเป็นผลสา้ เรจ็ ไดต้ ้องท้าใหค้ นไทยไดเ้ ปน็ ไท ไม่มที าสอีกต่อไป พระองค์จงึ ได้ทรงดา้ เนินการเลิกทาสโดยมิให้ กระทบกระเทอื นถึงเจ้าของทาสและทาส ดว้ ยพระราช หฤทยั แน่วแนแ่ ละทรงพระราชอุตสาหะอยา่ งย่งิ เปน็ เวลาถึง ๓๐ ปี กท็ รงเลกิ ทาสส้าเร็จลงตามพระราช ปณธิ านท่ีได้ทรงต้ังไว้ การเสดจ็ ประพาสตน้ เหตุการณ์ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ว่าพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว ทรงใฝุพระทยั ในทุกข์สขุ ของอาณา ประชาราษฎรค์ อื การเสดจ็ ประพาสตน้ เปน็ การเสดจ็ ไปเพ่ือสา้ ราญพระราชอิริยาบถอย่างง่ายๆ โดยไมใ่ ห้มีท้องตราสัง่ หัว เมืองจดั ท้าที่ประทบั แรม เม่ือพอพระราชหฤทยั จะประทับท่ีใดกป็ ระทบั ท่ีน้ัน บางครง้ั ก็ทรงเรอื เลก็ หรือเสดจ็ โดยสารรถไฟ ไป โดยมใิ ห้ใครรจู้ ักพระองค์ ทา้ ใหไ้ ดป้ ระทับปะปนในหมู่ ราษฎร ทรงทราบทุกขส์ ุขของราษฎรจากปากราษฎรโดยตรง ท้า ใหไ้ ด้ทรงแก้ไขปัดเปุาความทุกขย์ ากให้ ราษฎรของพระองค์ได้ผลโดยตรง เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.5

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เป็นพระมหากษตั ริยร์ ชั กาลที่ ๖ ครองราชย์ ๑๖ ปี (พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘) พระชนมายุ ๔๖ พรรษาเสด็จพระราชสมภพ เมอื่ วันท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ มพี ระนามเดิมวา่ สมเดจ็ เจา้ ฟาู มหาวชิราวธุ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ -เจา้ อยหู่ วั และ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชนิ ีนาถ ได้รับสถาปนาเป็นสมเดจ็ เจ้าฟูา กรมขนุ เทพทวาราวดี เมอ่ื พระชนมายุได้ ๘ พรรษา เมอื่ พระชนมายุได้ ๑๑ พรรษา ไดเ้ สด็จไปศกึ ษาวชิ าการที่ประเทศองั กฤษ ทรงศกึ ษาในมหาวิทยาลยั ออกซ์ฟอร์ด และศึกษา วิชาการทหารบก ท่โี รงเรยี นนายรอ้ ยแซนดเ์ ฮสิ ต์ ไดร้ บั สถาปนาเป็นสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชสยามมงกฎุ ราชกุมาร เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๓๗ พระราชกรณยี กจิ ทส่ี า้ คญั ด้านการเศรษฐกิจ จดั ตั้งธนาคารออมสนิ ข้ึน เพอื่ ใหป้ ระชาชนรู้จักออมทรัพย์ และเช่อื มั่นในสถาบนั การเงิน เน่อื งจากมี ธนาคารพาณชิ ย์เอกชนท่ีฉ้อโกง และต้องล้มละลายปิดกจิ การ ทา้ ให้ผู้ฝากเงนิ ได้รบั ความเสยี หายอยู่เสมอ - ใช้พระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ซอื้ ห้นุ ของ ธนาคารสยามกัมมาจล ทนุ จา้ กัด(ปัจจุบนั คือ ธนาคารไทยพาณชิ ย)์ ซ่ึงมีปัญหา การเงนิ ทา้ ให้ธนาคารของคนไทยแหง่ นีด้ ้ารงอยู่มาได้ ด้านการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ตัง้ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และวชิรพยาบาล เพ่อื รกั ษาพยาบาลประชาชนทเ่ี จ็บไข้ได้ปวุ ย - ทรงเปิดสถานเสาวภา เมอื่ วันที่ ๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๖๕ เพื่อผลิตวคั ซนี และเซรุ่ม เป็นประโยชน์ท้ังแก่ประชาชนชาวไทย และประเทศใกล้เคยี งอีกด้วย ด้านกจิ การเสอื ปาุ และลกู เสอื ทรงจดั ตัง้ กองเสือปุาเม่ือวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 และทรงจัดตงั้ กองลกู เสือกองแรกข้นึ ท่ีโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (วชริ าวธุ วทิ ยาลยั ในปจั จุบนั ) ดา้ นการฝกึ สอนระบอบประชาธิปไตย ทรงทดลองตง้ั \"เมืองมงั \" หลังพระต้าหนักจิตรลดาเดิม ทรงจดั ให้เมืองมัง มีระบอบการปกครองของตนเองตามวถิ ีทางประชาธิปไตย รวมถึงเมือง จา้ ลอง \"ดุสิตธานี\" ในพระราชวงั ดสุ ิต (ต่อมาทรงยา้ ยไปท่ีพระราชวังพญาไท) เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.6

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เป็นพระมหากษตั ริย์ รัชกาลท่ี ๗ ครองราชย์ ๙ ปี (พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๔๗๗) พระชนมายุ ๔๘ พรรษา เสด็จพระราชสมภพเมื่อวนั ที่ ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๓๖ มพี ระนามเดมิ ว่าสมเด็จเจา้ ฟาู ประชาธิปกศักดิเดชน์ เปน็ พระราชโอรสพระองคเ์ ลก็ ของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว และสมเดจ็ ศรพี ัชรินทราบรมราชนิ ีนาถ ได้รับสถาปนาเปน็ กรมขุนสโุ ขทัยธรรมราชา เมื่อพระชนมายุ ได้ ๑๒ พรรษา ไดเ้ สด็จไปศึกษาวชิ าการทหารบก ทป่ี ระเทศอังกฤษ และฝร่ังเศส สา้ เร็จการศกึ ษาแลว้ เสด็จกลับประเทศ ไทย เข้ารับราชการท่กี องพันทหารปืนใหญ่ ท่ี ๑ รักษาพระองค์ ในต้าแหน่งผ้บู งั คบั กองร้อย ตอ่ มาไดร้ ับราชการในต้าแหน่ง ผู้บงั คับการโรงเรียนนายร้อยทหารบกชนั้ ปฐม ปลดั กรมเสนาธกิ ารทหารบก ผู้บัญชาการกองพลทหารบกท่ี ๒ แล้วได้ทรง กรมเปน็ กรมหลวงสุโขทยั ธรรมราชา เสด็จขน้ึ ครองราชสมบัติ เมื่อวันท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ในช่วงเวลาที่ เศรษฐกิจของประเทศและของโลกกา้ ลังทรดุ หนัก อนั เปน็ ผลเน่ืองมาจากสงครามโลก ครง้ั ที่ ๑ ซ่ึงพระองค์ก็ไดท้ รงแกไ้ ข อยา่ งเตม็ พระกา้ ลังความสามารถจนประเทศไทย ได้รอดพ้นจากวิกฤติการณ์น้ันได้ พระราชกรณยี กจิ ทส่ี า้ คญั การศึกษา ทรงส่งเสรมิ การศึกษาของชาติทงั้ สว่ นรวมและส่วนพระองค์ โปรดใหส้ รา้ งหอพระสมุดส้าหรับพระนคร เพอื่ เปิด โอกาสให้ประชาชนเข้าศึกษาได้อยา่ งเสรี ทรงต้ังราชบณั ฑิตยสภา เพือ่ มีหนา้ ที่บริหารและเผยแพรว่ ชิ าการด้านวรรณคดี โบราณคดี และศิลปกรรม ในดา้ นวรรณกรรม โปรด ตราพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองวรรณกรรมและศลิ ปกรรมใน พ.ศ. 2475 พระราชทานเงนิ สว่ นพระองค์ เปน็ รางวลั แกผ่ ู้แต่งหนงั สือยอดเย่ยี ม และให้ทนุ นักเรยี นไปศึกษาวชิ าวทิ ยาศาสตรจ์ าก ตา่ งประเทศ การศาสนา ทรงปลูกฝงั เยาวชนใหม้ ีคุณธรรมดีงาม การสขุ าภบิ าลและสาธารณปู โภค โปรดให้ปรับปรงุ งานสขุ าภบิ าลทัว่ ราชอาณาจักรให้ทัดเทยี มอารยประเทศ ขยายการ สอื่ สารและการคมนาคม โปรดให้สรา้ งสถานีวิทยกุ ระจายเสยี งแห่งแรกใน ประเทศไทย ในสว่ นกิจการรถไฟ ขยายเสน้ ทาง รถทางทิศตะวันออกจากทางจงั หวดั ปราจนี บุรี จน กระทัง่ ถึงตอ่ เขตแดนเขมร ในปี พ.ศ. 2475 เป็นระยะเวลาที่กรุงเทพฯ เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.7

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหดิ ล เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ รชั กาลที่ ๘ ครองราชย์ ๑๓ ปี (พ.ศ.๒๔๗๗- ๒๔๘๙) พระชนมายุ ๒๑ พรรษาเสดจ็ พระราชสมภพ เมื่อ วนั ท่ี ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ณ เมอื งไฮเดลเบิรก์ ประเทศเยอรมัน ทรงเป็นพระราชโอรสองคท์ ส่ี องของสมเด็จพระมหติ ลาธิเบศร์ อดุลยเดช วิกรม บรมราชชนก และสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี เมอ่ื พระชนมายไุ ด้ ๓ เดอื น ไดต้ ามเสดจ็ พระบรมชนกนาถ และพระราชมารดา ไปประทับอยู่ ณ ประเทศฝรั่งเศสและสหรฐั อเมรกิ า จนพระชนมายุได้ ๓ พรรษา พระราชกรณยี กจิ ทสี่ า้ คญั การศาสนา พระองค์ได้ประกอบพิธีทรงปฏิญาณตนเปน็ พุทธมามกะ ท่ามกลางมณฑลสงฆใ์ นพระอุโบสถวดั พระศรรี ัตน ศาสดารามเม่ือวนั ที่ 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2481 นอกจากนี้ ยังเสดจ็ พระราชดา้ เนินไปทรงนมัสการพระพุทธรูปในพระ อารามทส่ี า้ คัญ เชน่ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดเบญจมบพติ รดสุ ติ วนารามราชวรวหิ าร วดั สระเกศราชวรมหาวิหาร วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวหิ าร วัดบวรนเิ วศวหิ ารราชวรวหิ าร การศึกษา เสดจ็ นวิ ัตพิ ระนครในครง้ั ที่ 2 พระองค์ทรงได้ประกอบพระราชกรณยี กจิ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การศึกษาของประเทศ โดยเสด็จพระราชด้าเนนิ ทอดพระเนตรกจิ การของหอสมุดแหง่ ชาติ รวมทั้ง เสด็จพระราชดา้ เนนิ ไปทรงเยี่ยมสถานศกึ ษา หลายแหง่ เชน่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์ ซ่งึ เปน็ โรงเรยี นท่ีทรงศึกษาขณะทรงพระเยาว์ นอกจากน้ี พระองค์ยังได้เสดจ็ พระราชด้าเนินพระราชทานปรญิ ญาบตั รเป็นครัง้ แรกของพระองค์ ณ หอประชมุ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย เมื่อวนั ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2489 เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.8

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช เปน็ พระมหากษตั รยิ ร์ ชั กาลท่ี ๙ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช เป็นพระมหากษตั ริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึน้ ครองราชยต์ ้งั แต่ ๙ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ จนถึง ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๕๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชเป็น พระโอรสองค์ท่ี ๓ ในสมเดจ็ เจา้ ฟูามหิดลอดลุ เดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก) และหมอ่ มสังวาล ตะละภฎั (ชกู ระมล) (สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี) ทรงมีพระนามขณะนนั้ ว่า พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าภมู ิพลอดลุ เดช ทรงมีพระเชษฐภคินีและสมเดจ็ พระบรมเชษฐาธริ าช ๒ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟาู กัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี พระราชกรณยี กจิ ทส่ี า้ คญั 9 พระราชกรณยี กจิ อันโดดเดน่ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดุลยเดช รชั กาลท่ี 9 1. โครงการแกลง้ ดนิ แก้ไขปัญหาดนิ เปรยี้ ว จะทา้ ดว้ ยการขังน้าไวใ้ นพ้ืนท่ี จนกระท่งั เกิดปฏกิ ิรยิ าทางเคมจี นท้าให้ดนิ เปร้ยี วจัด เม่อื ถงึ ท่สี ดุ แลว้ จะมีการระบายน้าออกแลว้ ปรบั สภาพดนิ ดว้ ยปนู ขาว จนกระท่ังสามารถใชด้ ินในการ เพาะปลูกได้ 2. โครงการปลกู หญา้ แฝก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลที่ 9 ไดท้ รงศกึ ษาเรื่องการใช้หญา้ แฝกในการอนุรักษ์ดนิ และน้าจากเอกสารของธนาคารโลก ที่นาย Richard Grimshaw ไดท้ ูลเกลา้ ฯ ถวาย และ พระองค์ได้พระราชทานพระราชดา้ ริเก่ยี วกับหญ้าแฝก โดยให้ทรงทดลองปลกู หญ้าแฝกเพื่อปอู งกันการพงั ทลาย ของดิน จนปัจจบุ ันมีหน่วยงานกว่า 50 หน่วยงาน ดา้ เนินงานสนองพระราชดา้ ริการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้า แฝก สง่ ผลใหก้ ารด้าเนนิ งานก้าวหนา้ มากขึน้ ตามล้าดับ 3. โครงการหนว่ ยแพทยพ์ ระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี 9 พระราชทาน โครงการแพทยห์ ลวงพระราชทาน เมอื่ ปี พ.ศ. 2510 โดยทีม่ ีการจัดเจ้าหน้าทีแ่ พทย์ พยาบาล เครือ่ งมือเครื่องใช้ เพอ่ื ตรวจรักษาราษฎรในถนิ่ ทุรกนั ดารโดยไม่คดิ มลู คา่ และอบรมหมอหมู่บา้ นเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของ ประชาชน 4. โครงการสารานุกรมไทยสา้ หรบั เยาวชน โครงการสารานกุ รมไทยสา้ หรบั เยาวชน ไดจ้ ดั ทา้ ข้นึ ตามพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 โดยจัดขึ้นเป็นรูปเลม่ และบางส่วนได้เผยแพร่ ออนไลน์ อนั รวบรวมเนือ้ หาจากหลายสาขาวิชา โดยทฉี่ บบั ปกติมที ั้งหมด 37 เล่ม และฉบับเสรมิ การเรียนรมู้ ี ทั้งหมด 20 เลม่ 5. ทนุ มลู นธิ อิ านนั ทมหิดล พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ 9 ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรด กระหม่อมพระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคจ์ ดั ตงั้ มูลนธิ ิอานนั ทมหิดล ในปี พ.ศ. 2502 เพ่อื ให้นิสิต นักศกึ ษาท่ีมผี ลการเรียนดเี ด่น ไดม้ ีโอกาสไปศึกษาหาความร้ชู ัน้ สงู ในตา่ งประเทศ และนา้ องค์ความรู้ที่ได้มาช่วย พฒั นาประเทศต่อไป

6. แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง : เกษตรทฤษฎใี หม่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้ พระราชทานแนวพระราชดา้ ริเร่อื งเกษตรทฤษฎใี หม่ โดยเป็นตวั อยา่ งการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในขั้นต้น โดย การท้าเกษตรทฤษฎีใหมน่ ้ี แบง่ ออกเปน็ 3 ขน้ั ได้แก่ ข้ันต้น คือ การแบ่งพ้ืนที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตรา 30-30- 30-10 เพ่ือขุดเป็นสระกักเก็บน้า 30% ปลกู ขา้ วในฤดูฝน 30% ปลูกไม้ผล ไม้ยนื ต้น พชื ผักสมนุ ไพร 30% และ เป็นทอ่ี ยู่อาศยั อกี 10% จากนัน้ จงึ เป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ข้ันท่ีสอง คือการให้เกษตรกรรวมกันในรปู แบบของกลุ่ม สหกรณ์ เพื่อด้าเนนิ การในด้านการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดกิ าร การศกึ ษา จากนน้ั จงึ เปน็ เกษตรทฤษฎี ใหม่ขน้ั ทส่ี าม คือการติดต่อประสานงาน จัดหาแหลง่ เงนิ ทุน เพ่อื ใชล้ งทุนพฒั นาคุณภาพชีวติ ต่อไป 7. โครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี 9 ได้พระราชทาน ทรัพยส์ ว่ นพระองคส์ รา้ งโครงการอันหลากหลายในโครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา ซ่งึ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื โครงการแบบไม่ใช่ธุรกจิ เพื่อพัฒนาประสิทธภิ าพการผลติ ทางการเกษตร และโครงการก่ึงธุรกิจ อาทิ โรงโคนม สวนจิตรลดา, โรงนมผงสวนดุสิต, น้าผึง้ สวนจิตรลดา เปน็ ตน้ 8. โครงการฝนหลวง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ทรงมพี ระราชด้ารสิ ่วนพระองค์ใน เร่อื งการจัดท้าฝนหลวง เพือ่ บรรเทาปัญหาขาดแคลนน้าในการเกษตร โดยมีการคน้ ควา้ ทดลองปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวง ขน้ึ ซง่ึ จะใชส้ ารเคมโี ปรยในท้องฟูา จนกระทั่งไอนา้ อมิ่ ตวั และกล่ันตวั ออกมากลายเปน็ เมด็ ฝน 9. กังหนั น้าชยั พฒั นา พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลท่ี 9 ไดม้ ีพระราชด้าริให้มูลนธิ ิชยั พฒั นา ดา้ เนนิ การวิจยั และพัฒนากังหนั น้าชัยพัฒนาขึ้น เพื่อบ้าบัดน้าเสยี ด้วยวิธีการเตมิ อากาศ ท้าใหน้ ้าเสียกลายเปน็ นา้ ดี และสามารถประยุกตใ์ ช้ในการอปุ โภคบรโิ ภคของประชาชน น้าเสียจากโรงงานอตุ สาหกรรม และเพิ่ม ออกซิเจนให้บ่อเพาะเลีย้ งสัตว์น้าทางการเกษตร เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.9

สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู เปน็ พระมหากษตั รยิ ร์ ชั กาลท่ี 10 แห่งราชวงศจ์ ักรี ภายหลังทรงมีพระราชด้ารสั ตอบรับคา้ กราบบงั คมทูลเชญิ ของสภานติ ิบัญญตั แิ ห่งชาติ เมื่อวนั ที่ 1 ธ.ค. 2559 ถงึ ปัจจบุ นั สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิต์ พระบรมราชินีนาถ เสดจ็ พระราชสมภพเมือ่ วนั จันทร์ที่ 28 ก.ค.2495 ณ พระท่นี ัง่ อัมพรสถาน พระราชวังดสุ ติ พระราชกรณยี กจิ ทส่ี า้ คญั ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ รฐั บาลไดน้ อ้ มเกล้าน้อมกระหมอ่ มถวายโรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราช 21 แหง่ ท่ัว ประเทศ พระองค์ก็ได้ทรงพระอตุ สาหะเสด็จฯ ไปทรงประกอบพธิ ีเปดิ โรงพยาบาลทุกแห่งและทรงเยี่ยมโรงพยาบาลอย่าง สม่้าเสมอ รวมท้งั พระราชทานพระราชทรัพยส์ นบั สนุนใหม้ ีอปุ กรณ์การแพทย์ เคร่ืองมอื เครอื่ งใช้ท่ีทนั สมยั ด้านการศกึ ษา ทรงพระกรุณาพระราชทานพระราชทรพั ยร์ ่วมสนับสนุนใหก้ รมสามญั ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ก่อตัง้ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาในถิน่ ทรุ กันดาร 6 แหง่ ทรงรับโรงเรยี นไว้ในพระราชปู ถัมภ์ พระราชทานวัสดุอปุ กรณ์การศึกษาท่ี ทันสมัย เช่น คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ วดิ ีทัศน์ และในดา้ นการอุดมศึกษา พระองคไ์ ด้ทรงพระกรุณาเสด็จฯ แทน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชไปพระราชทานปรญิ ญาบตั รแกบ่ ณั ฑิตของมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ ดา้ นสงั คมสงเคราะห์ สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ทรงพระกรณุ าหว่ งใยการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะเยาวชนที่ดอ้ ยโอกาส ได้เสด็จฯ ไปทรงเย่ยี มชมุ ชนแออัดของกรงุ เทพฯ หลายแห่ง เชน่ ชุมชน แออัดพระโขนง เขตคลองเตย เขตยานนาวา พระราชทานพระราชทรพั ย์สนบั สนนุ โครงการของชมุ ชน เช่น โครงการพัฒนา เดก็ เล็กท่ีขาดแคลน โครงการปราบปรามยาเสพติด ด้านการตา่ งประเทศ ทรงเสด็จพระราชด้าเนินแทนพระองคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงเยือนมิตรประเทศทว่ั ทกุ ทวปี เช่น ประเทศอิตาลี สาธารณรัฐประชาชนจีน ญป่ี นุ อหิ ร่าน เนปาล สาธารณรัฐสงั คมนยิ มประชาธปิ ไตยศรลี ังกา สาธารณรฐั เปรู ออสเตรเลีย สิงคโปร์ นอกจากจะมุ่งเจรญิ สมั พันธไมตรีแล้ว ยังทรงสนพระราชหฤทยั ในการทอดพระเนตรและศึกษากิจการตา่ งๆ ที่จะทรงน้าประโยชน์มาใชใ้ นการ พฒั นาประเทศไทย เช่น เสดจ็ ฯ ไปทรงเยยี่ มชมกจิ การทหาร ศิลปวัฒนธรรม อตุ สาหกรรมและความเปน็ อยู่ของประชาชน ด้านเกษตรกรรม ทรงบ้าเพ็ญพระราชกรณียกิจเพ่อื สง่ เสริมกจิ การด้านเกษตรกรรม เช่น เสดจ็ ฯ แทนพระองค์ในการพระ ราชพิธีพืชมงคล ด้านพระศาสนา ทรงเสดจ็ ฯ แทนพระองคไ์ ปปฏิบัตพิ ระราชกรณยี กจิ ทางศาสนาเปน็ ประจ้าสม่้าเสมอ เช่น ทรงเปล่ยี น เครอื่ งทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ตามฤดูกาล รวมถึงการเสด็จพระราชด้าเนินไปใน การพระราชทานถ้วยรางวัล การทดสอบการอญั เชญิ พระมหาคัมภีรอ์ ัลกรุ อ่านระดบั ประเทศ ดา้ นการกฬี า ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจ ท้ังในผแู้ ทนพระองคแ์ ละในสว่ นของพระองค์เอง เชน่ พระราชทานไฟพระฤกษ์ กฬี าเยาวชนแหง่ ชาติ พระราชทานพระราชวโรกาสให้นกั กีฬาไทยเขา้ เฝาู ทลู ละอองพระบาทรับพระราชทานรางวัลนักกฬี า ยอดเยีย่ ม

ดา้ นการทหาร ทรงสนพระราชหฤทัยในวิทยาการด้านการทหารมาตัง้ แตย่ งั ทรงพระเยาว์ นอกจากทรงรบั การศกึ ษาด้าน การทหารจากประเทศออสเตรเลียแล้ว ยงั ทรงพระวริ ยิ ะอุตสาหะเพิม่ พนู ความรู้และประสบการณ์อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะ ในด้านวิทยาการการบนิ ทรงรบั ราชการทหารมาโดยตลอดตั้งแตว่ นั ที่ 9 ม.ค.2518 และทรงด้ารงพระยศทางทหารของ 3 เหลา่ ทัพ คือ พล.อ. พล.ร.อ. พล.อ.อ. โดยทรงเขา้ ร่วมปฏิบัติการรบในการต่อต้านการกอ่ การร้ายในภาคเหนือและภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื รวมท้ังการคุ้มกนั พนื้ ที่ในบริเวณรอบค่ายผูอ้ พยพชาวกมั พชู า ทเี่ ขาลา้ น จ.ตราด อีกทั้งยงั เสด็จพระ ราชด้าเนินไปในพิธีการดา้ นทหาร อาทิ งานวนั ราชวัลลภ เหตกุ ารณส์ า้ คญั ร.10