Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือความหมายและประวัติของดนตรีสากล

หนังสือความหมายและประวัติของดนตรีสากล

Published by ธนดล คุ้มศิริ, 2022-08-26 16:50:58

Description: หนังสือความหมายและประวัติของดนตรีสากล

Search

Read the Text Version

ความหมายและประวัติของดนตรสี ากล นายธนดล ค้มุ ศิริ - ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย - โรงเรียนเขาย้อยวิทยา สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษมธั ยมศกึ เพชรบุรี สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

ความหมายและประวัตขิ องดนตรีสากล ดนตรเี ปน็ สง่ิ ทธ่ี รรมชาติให้มาพร้อม ๆ กับชวี ิตมนษุ ย์โดยที่มนุษย์เองไม่รู้ตัว ดนตรเี ป็นทั้งศาสตร์และศลิ ปอ์ ยา่ งหน่ึงที่ ชว่ ยใหม้ นุษยม์ คี วามสขุ สนกุ สนานรน่ื เริง ช่วยผอ่ นคลายความเครียดทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม ดนตรีเป็นเครื่องกล่อมเกลาจติ ใจ ของมนษุ ย์ใหม้ ีความเบิกบานหรรษาให้เกิดความสงบและพักผอ่ น กลา่ วคือในการดำรงชีพของมนุษยต์ ั้งแตเ่ กิดจนกระทง่ั ตาย ดนตรีมคี วามเกย่ี วข้องอยา่ งหลีกเล่ยี งไม่ได้ อาจสบื เนื่องมาจากความบันเทิงในรูปแบบต่าง ๆ โดยตรงหรอื อาจเกดิ จาก ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ความเช่อื เช่น เพลงกลอ่ มเดก็ เพลงประกอบในการทำงาน เพลงท่ีเกย่ี วข้องในงานพิธกี าร เพลงสวดถงึ พระผ้เู ปน็ เจา้ เป็นตน้ ดนตรเี ป็นศลิ ปะทอ่ี าศัยเสียงเพอ่ื เป็นสื่อในการถา่ ยทอดอารมณ์ความร้สู ึกตา่ ง ๆ ไปสู่ ผู้ฟังเป็นศลิ ปะท่งี ่ายต่อการสัมผสั กอ่ ใหเ้ กิดความสุข ความปลื้มปิติพึงพอใจใหแ้ ก่มนุษย์ได้ นอกจากน้ไี ด้มีนกั ปราชญ์ท่านหน่งึ ไดก้ ล่าวไว้วา่ “ดนตรีเป็นภาษาสากล ของมนุษยชาติ เกดิ ข้นึ จากธรรมชาตแิ ละมนุษยไ์ ด้นำมาดดั แปลงแก้ไขให้ประณีตงดงามไพเราะเม่อื ฟังดนตรีแล้วทำใหเ้ กดิ ความร้สู กึ นกึ คิดต่าง ๆ ” น้ันกเ็ ป็นเหตผุ ลหนงึ่ ที่ทำใหเ้ ราไดท้ ราบวา่ มนุษย์ไม่วา่ จะเปน็ ชนชาตใิ ดภาษาใดก็สามารถรบั รู้อรรถรส ของดนตรีได้โดยใชเ้ สียงเป็นสื่อได้เหมือนกนั มบี ุคคลจำนวนไม่น้อยทีต่ ง้ั คำถามวา่ “ดนตรีคืออะไร” แล้ว “ทำไมตอ้ งมดี นตร”ี คำวา่ “ดนตร”ี ในพจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใ้ ห้ความหมายไวว้ า่ “เสียงท่ปี ระกอบกันเปน็ ทำนองเพลง เครื่องบรรเลงซง่ึ มีเสียงดังทำให้รูส้ ึก เพลิดเพลนิ หรอื เกดิ อารมณ์รัก โศกหรอื รื่นเริง” จากความหมายขา้ งตน้ จงึ ทำใหเ้ ราได้ทราบคำตอบทีว่ า่ ทำไมต้องมีดนตรกี ็ เพราะวา่ ดนตรชี ว่ ยทำให้มนษุ ย์เรารสู้ ึกเพลดิ เพลนิ ได้

ความหมายของดนตรี คำวา่ “ดนตร”ี มีความหมายทีก่ วา้ งและหลากหลายมากนอกจากนีย้ ังมีการนำดนตรีไปใช้ประกอบในกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ี เราคุ้นเคยเช่น การใช้ประกอบในภาพยนต์ เนือ่ งจากดนตรีนนั้ สามารถนำไปเปน็ พืน้ ฐานในการสรา้ งอารมณล์ ักษณะต่าง ๆ ของ แต่ละฉากได้ พิธกี รรมทางศาสนาก็มกี ารนำดนตรเี ขา้ ไปมีส่วนรว่ มด้วยจึงทำให้มีความขลงั ความนา่ เช่ือถือ ความศรัทธา มี ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ นอกจากนี้ดนตรีบางประเภทถูกนำไปใชใ้ นการเผยแพรค่ วามเปน็ อนั หน่ึงอันเดียวกันของกลุ่มคนหรือเช้ือ ชาติ บางคร้ังมนุษย์เราใชด้ นตรีเปน็ เครื่องมือในการแยกประเภทของมนุษย์ออกเป็นกลุ่ม ๆ เช่น วัยร่นุ ในเมอื งกจ็ ะชอบฟงั เพลง ทีม่ ีจังหวะหรือทำนองสนุก ๆ คร้นื เครงความรักหวานซ้ึงสว่ นวัยรนุ่ ท่ีอยู่ในชนบทก็มักจะชอบฟังประเภทเพลงเพอ่ื ชีวิต เพลง ลกู ทุ่ง วัยหนมุ่ สาวกช็ อบเพลงทำนองออ่ นหวานทเ่ี กีย่ วกบั ความรัก สำหรบั ผ้ใู หญ่กม็ ักจะชอบฟงั เพลงทม่ี ีจังหวะหรอื ทำนองที่ฟงั สบาย ๆ และชอบฟังเพลงทีค่ ุ้นเคย มนษุ ย์เราใช้ดนตรเี ปน็ เคร่ืองกระตนุ้ ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่นการขบั รถ การเรยี น การวง่ิ เหยาะ ๆ ออกกำลงั กาย เปน็ ต้น ทีก่ ลา่ วมาข้างต้นการใชด้ นตรเี หล่านี้มีส่งิ หน่งึ ทเ่ี หมือนกนั คือใชด้ นตรเี ปน็ สว่ นประกอบในการทำร่วมกับกิจกรรมนั้น ๆ สว่ นจุดมุง่ หมายอ่ืนๆเป็นเร่ืองรองลงมา กอ่ นที่จะมาเปน็ ดนตรีให้เราได้ยนิ ไดฟ้ ังกันจนกระท่ังปจั จุบันนีม้ นษุ ยไ์ ด้คิด ได้ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงมาแล้วไมน่ ้อยกวา่ พันปดี งั น้นั ดนตรจี งึ ถอื ไดเ้ ปน็ ส่งิ ท่ีมีมาคกู่ บั มนุษย์เลยกว็ ่าได้ มีดนตรชี นดิ หนึง่ ซ่ึงแตกตา่ งจากท่ีได้กล่าวมาแลว้ ซ่งึ ต้องใชส้ ติปญั ญาสมาธิ ความต้งั ใจในการฟงั ดนตรีชนดิ นี้เรยี กว่า “ดนตรคี ลาสสกิ ” (Classical Music) สว่ นใหญ่มนษุ ย์ฟงั ดนตรีประเภทน้ฟี ังเพราะความพอใจและความรสู้ ึกสนุกสนานในการฟัง ไมม่ ีเหตุผลหรือจุดมงุ่ หมายใด ๆ มนษุ ยจ์ ำนวนมากไมเ่ ข้าใจว่าดนตรีสำคญั อย่างไร ดนตรจี ะมีค่าได้อยา่ งไรในเมอ่ื เราไมส่ ามารถใช้มนั เพื่อทำอะไรไดเ้ ลย เพราะดนตรเี ป็นการส่ือในลักษณะของนามธรรม โดยท่ัวไปแลว้ มนุษย์เราเข้าใจว่าสง่ิ ของส่วนใหญ่สำคญั เพราะเราจำเป็นตอ้ งใช้ มนั ในลกั ษณะของรปู ธรรม แต่สำหรับดนตรแี ละงานศิลปอ์ ื่น ๆ เชน่ ภาพเขียน รูปป้ัน ประตมิ ากรรม บทกวี วรรณคดี ฯลฯ มี เพียงกลุม่ คนทส่ี นใจจริง ๆ เท่านน้ั ท่จี ะเข้าใจและซาบซง้ึ เพราะความสำคญั ของสง่ิ เหลา่ นั้นเป็นไปในแง่ของจิตวทิ ยา ไม่ใช่ในแง่ ของการปฏิบัติ

เพราะเหตุใดมนุษย์เราจึงต้องสรา้ งส่ิงดังกลา่ วขึ้นมาซงึ่ สงิ่ ต่าง ๆ เหล่านน้ั การประเมินคุณคา่ จำเป็นต้องใช้สตปิ ญั ญา และความพอใจของคนคนนนั้ จงึ จะร้คู ุณค่า นอกจากน้ีไม่มใี ครรแู้ นน่ อนวา่ ความพอใจมีมาตรฐานของการวดั อย่างไร ถึงแมว้ า่ จะ มที ฤษฎที นี่ ่าสนใจมากมายสำหรับศึกษาเปรยี บเทียบ อย่างไรก็ดสี งิ่ หนง่ึ ทแี่ น่นอนท่ีสดุ คือ การแสดงออกเหลา่ น้ีเปน็ ส่ิงท่แี ยก มนษุ ยอ์ อกจากสตั ว์ เพราะสัตวไ์ มม่ ดี นตรี ไม่มีความงามทางศลิ ป์ ฯลฯ นอกจากน้แี ล้วมนษุ ยย์ ังแตกต่างจากสตั ว์ตรงคำวา่ “การดำรงอยู่” (Exist) และ “การดำรงชีวติ ” (Live) มนุษย์เราไม่ ต้องการเพียงแต่เพ่ือดำรงชวี ติ อย่เู ท่านน้ั แต่มนษุ ยเ์ รายงั มีความตอ้ งการสงิ่ อืน่ ๆ เชน่ อยากรวยมากขนึ้ อยากมรี ถหรู ๆ ขับ อยากมีบ้านสวย ๆ อยู่ อยากมคี วามเปน็ อยทู่ ส่ี ขุ สบายมสี ิ่งอำนวยความสะดวกมากขน้ึ ในทางตรงกนั ข้ามสตั วไ์ ม่ได้มีความ ตอ้ งการอยากจะไดเ้ ช่นเดยี วกับมนุษย์

ประวตั ิความเป็ นมาของดนตรีสากล ประวตั ิความเป็นมาของดนตรีสากล การ กำเนดิ ของเคร่อื งดนตรีเกดิ ขึน้ ต้ังแต่สมยั โบราณ โดยมนษุ ย์รจู้ กั การสรา้ งเคร่ืองดนตรีงา่ ยๆ จากธรรมชาติรอบขา้ ง คือ เร่ิมจากการปรบมอื ผิวปาก เคาะหิน หรือนำกิ่งไม้มาตีกันซ่ึงต่อมาได้มีการสร้างเครอ่ื งดนตรีทม่ี ี รปู ทรงลกั ษณะตา่ งๆ ที่แตกต่างกันไปในแต่ละชนชาติ โดยมกี ารแลกเปลีย่ นศลิ ปวัฒนธรรมและลกั ษณะเคร่ืองดนตรี ของชนชาติตา่ งๆ โดยเฉพาะเครื่องดนตรสี ากลท่เี ป็นเคร่อื งดนตรีของชาวตะวันตกทน่ี ำมาเล่นกนั แพรห่ ลายในปจั จุบนั สำหรบั การกำเนดิ ของดนตรตี ะวนั ตกนัน้ มาจากเคร่ืองดนตรขี องชนชาติกรีกโบราณที่ สร้างเครอ่ื งดนตรีข้ึนมา 3 ชนดิ คือ ไลรา คีธารา และออโรสจนตอ่ มามีการพฒั นาสรา้ งเครอ่ื งดนตรีประเภทตา่ งๆ ทง้ั ประเภทเครื่องสายเคร่ืองเป่า เคร่อื งทองเหลอื ง เคร่อื งตี และเคร่ืองดดี หรือเครื่องเคาะ เชน่ ไวโอลนิ ฟลตุ ทรัมเปต็ กลองชุด กตี าร์ ฯลฯโดยพบเครื่องดนตรสี ากลไดใ้ นวงดนตรสี ากล ประเภทตา่ งๆ ตัง้ แต่สมยั โบราณจนถงึ ปจั จุบัน การสบื สาวเร่ืองราวเก่ยี วกับความเป็นมาของดนตรตี ั้งแต่สมัยโบราณมา นบั วา่ เป็นเรื่องยากที่จะใหไ้ ดเ้ ร่ืองราว สมยั ของ การร้จู กั ใชอ้ ักษรหรือสัญลักษณ์อ่นื ๆ เพึ่งจะมปี รากฏและเร่ิมนิยมใชก้ ันในสมัยเรมิ่ ตน้ ของยุค Middle age คือระหวา่ ง ศตวรรษท่ี 5-6 และการบนั ทกึ มเี พยี งเคร่ืองหมายแสดงเพียงระดับของเสียง และจังหวะ ( Pitch and time ) ดนตรี เกดิ ขน้ึ มาในโลกพร้อมๆกับมนษุ ยเ์ ราน่นั เอง ในยุคแรกๆมนษุ ยอ์ าศัยอย่ใู นปา่ ดง ในถ้ำ ในโพรงไม้ แต่กร็ ู้จักการร้องรำทำ เพลงตามธรรมชาติ เชน่ รจู้ ักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้ เป่าปาก เป่าเขา และเปล่งเสียงร้องตามเรอื่ ง การร้องรำทำเพลงไป เพอื่ ออ้ นวอนพระเจ้าเพอ่ื ชว่ ยให้ตนพน้ ภัย บันดาลความสุขความอุดมสมบูรณต์ า่ งๆให้แก่ตน หรือเป็นการบูชาแสดงความ ขอบคุณพระเจ้าที่บันดาลใหต้ นมีความสุขความสบาย โลกได้ผา่ นหลายยคุ หลายสมยั ดนตรไี ดว้ ิวฒั นาการไปตามความเจริญและความคดิ สรา้ งสรรค์ของมนุษย์ เคร่ืองดนตรที ี่ เคยใช้ในสมัยเริ่มแรกก็มกี ารวิวฒั นาการมาเป็นขัน้ ๆ กลายเปน็ เคร่อื งดนตรี ทเี่ ราเห็นอยทู่ กุ วนั เพลงท่รี อ้ งเพ่ืออ้อนวอนพระ เจา้ ก็กลายมาเป็นเพลงสวดทางศาสนา และเพลงรอ้ งโดยท่วั ๆไป ในระยะแรก ดนตรีมีเพียงเสยี งเดียวและแนวเดียวเท่านน้ั เรยี กวา่ Melody ไมม่ กี ารประสานเสียง จนถงึ ศตวรรษที่ 12 มนุษย์เราเร่มิ รจู้ ักการใช้เสียงตา่ งๆมาประสานกนั อย่างงา่ ยๆ เกดิ เปน็ ดนตรีหลายเสียงขึ้นมา

การศึกษาวชิ าประวัติดนตรีตะวนั ตกหลายคนคงคิดวา่ เป็นเรอื่ งไกลตวั เหลอื เกิน และมักมคี ำถามเสมอว่าจะศึกษาไป ทำไมคำตอบก็คอื ดนตรีตะวันตกเป็นรากเหง้าของดนตรีที่เราไดย้ นิ ได้ฟงั กันทุกวนั นี้ ความเป็นมาของดนตรีหรือประวตั ิศาสตร์ ดนตรีนั้นหมายถึงการมองย้อนหลังไปใน อดีตเพื่อพยายามทำความเข้าใจกับแง่มุมตา่ ง ๆ ของอดีตในแตล่ ะสมัยนับเวลา ย้อนกลบั ไปเป็นเวลาหลายพันปจี ากสภาพสงั คมทแี่ วด ลอ้ มทัศนะคตแิ ละรสนยิ มของผูส้ ร้างสรรค์และผูฟ้ ังดนตรใี นแต่ละสมัยน้ัน แตก ต่างกันอย่างไรจากการลองผดิ ลองถูกลองแลว้ ลองอกี การจินตนาการตามแนวคดิ ของผู้ ประพนั ธ์เพลงจนกระทั่งกลั่นกรอง ออกมาเป็นเพลงใหผ้ คู้ นได้ฟงั กนั จนถึง ปจั จบุ นั นี้ ยคุ สมัยดนตรีสากล ยคุ สมยั ต่าง ๆ เปน็ ตวั แบง่ เหตุการณ์ตา่ ง ๆ บนโลก โดยเริม่ ตน้ ต้ังแต่สมยั ดึกดำบรรพ์ สมัยอารยธรรมโบราณ สมัยต้นและกลาง ครสิ ต์ศตวรรษ สมยั บาโรค สมยั คลาสสคิ สมัยโรแมนตคิ และสมัยปจั จบุ นั การดนตรใี นยุคต่าง ๆ ก็มีเอกลกั ษณ์เฉพาะตัวที่ สามารถบง่ บอกไดว้ า่ มาจากยุคใดและมบี ทบ าทอยา่ งไร ดังที่ ละเอยี ด เหราปัตย์ (2522: 1) กลา่ วว่า ดนตรใี นสมยั ดึกดำบรรพม์ ี สว่ นเกี่ยวข้องกับชีวติ ประจำวันของมนษุ ย์มากกว่าในสมยั ปัจจบุ ัน เปน็ การแสดงออกถึงจิตวทิ ยา สงั คม ศาสนา ส่ิงสกั การะบชู า และภาษา เพลงทุกเพลงในสมยั ดง้ั เดิมจะตอ้ งมคี วามหมายท้งั ส้ิน การจะเข้าใจในเพลงน้ัน ๆ อยา่ งถูกตอ้ งแท้จรงิ จะต้องไปศึกษา จากชาวพน้ื เมืองทเ่ี ป็นเจ้าขอ งบทเพลงน้ัน ดนตรีสมยั ดกึ ดำบรรพม์ หี นา้ ท่ี 2 ประการสำคญั คือ (1) กอ่ ใหเ้ กดิ ความตื่นเตน้ เร้าใจ (2) ทำให้เกิดความผ่อนคลาย ความสุข ต่อมาในอารยธรรมโบราณ (Ancient Civilization) ความเจริญของโลกมีอยู่ในภูมภิ าคตะวันออก ชาติท่ีมีความเจริญ ทางดา้ นศิลปวฒั นธรรม เช่น จนี ไทย อินเดยี ฯลฯ และภมู ิภาคยุโรปตะวันออก เชน่ อยี ิปต์ ซุเมอร์ บาบิโลเนียน จเู ดีย และกรกี ดนตรที ้งั ในเอเซยี และยโุ รปตะวันออก ไดเ้ ร่ิมมีววิ ัฒนการข้ึน โดยมีการคดิ ค้นบนั ไดเสยี งเพื่อแบ่งแยก จัดระบบเสียงเป็นของแต่ ละชนชาตขิ นึ้ มา เอกลักษณน์ ี้ยังคงมรี ่องรอยอยู่ในยุคปัจจุบัน เชน่ บนั ไดเสียงเพนทาโทนิค (Pentatonic Scale) กย็ ังคงมีใช้กัน ในดนตรีภมู ิภาคเอเซีย แต่มีความแตกตา่ งไปในสำเนียงและการจัดระบบเสียง ดนตรีกรกี โบราณ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมดนตรี ของดนตรีตะวันตกทีย่ ่งิ ใหญ่ คอื เมื่อประมาณ 1000 ปีกอ่ นคริสตกาล มกี ารคดิ คน้ การแบ่งระบบเสียงอยา่ งชดั เจนด้วยแนวคดิ ทางวิทยาศาสต ร์ โดยนักปราชญก์ รีก คือ พธิ ากอรสั และมีการคดิ เร่ืองเครื่องดนตรปี ระกอบการร้อง มีการใชเ้ ทคนิคการ ประพันธเ์ พลงโดยใช้ Mode ซ่งึ มีท่มี าจากระบบเตตร้าคอร์ด (Tetrachord) ก่อใหเ้ กิดบันไดเสยี งโบราณตา่ งๆ เป็นปจั จัยพน้ื ฐาน ของการดนตรใี นยุคต่อ ๆ มา Percy A scholes (อ้างถึงใน นพพร ด่านสกลุ ,2541:10) ได้กลา่ วถงึ การก่อเกิดบนั ไดเสียงในดนตรีตะวันตกไว้อย่าง น่าสนใจ สรปุ ความวา่ ในราวประมาณ 550 ปกี ่อนครสิ ตกาล Pythagoras ไดค้ ้นพบวธิ ีคดิ การใช้มาตรวดั เชิงคณิตศาสตร์กับ ดนตรีไดเ้ ป็นคนแ รก โดยใช้เสน้ ลวดเป็นอปุ กรณ์การทดลอง ซ่งึ ทำให้เขาพบวา่ เสยี งที่เกิดจากการดดี เส้นลวดจะทีการเปล่ยี นแ ปลงดังน้ี เมือ่ แบ่งครึง่ เส้นลวดระดบั เสยี งจะสงู ขึ้นกว่าเดิม 1 ชุดระดบั เสียง (Octave) ถือว่าเปน็ ความสำคัญระดบั แรก เม่อื แบ่ง เส้นเสน้ ลวดเป็น 3 สว่ นแล้ว 2 ใน 3 ส่วนของเสน้ ลวดจะมีระดับเสยี งสงู ข้นึ เปน็ ข้ันคู่ 5 เพอร์เฟ็ค ในกรณนี ้ีถอื วา่ เปน็ ความสำคัญ ระดบั รองลงมา และหากว่าแบ่งเส้นลวดออกเป็น 4 ส่วน 3 ใน 4 ส่วนดงั กลา่ วจะมีระดับเสียงสูงขึน้ จากพน้ื เสียงเดิมเป็นขน้ั คู่ 4

เพอรเ์ ฟค็ กรณีนีถ้ ือเป็นความสำคญั อันดบั 3 จากน้นั Pythagoras ยังนำเสนอไวว้ า่ ใน 1 ชุดระดับเสียง ประกอบดว้ ย กลุ่มเสยี ง 4 ระดับ (Tetrachord) 2 ชุดเช่ือมตอ่ กัน กลมุ่ เสียง 4 ระดับตามแนวคดิ ของ Pythagoras มี 3 รปู แบบดงั ที่แสดงต่อไปนี้ 1. semitone – tone – tone เรยี กว่ากลุ่มเสยี ง 4 ระดบั แบบดอเรียน (Dorian Tetrachord) 2. tone - semitone – tone เรียกวา่ กล่มุ เสยี ง 4 ระดับแบบฟรเี จียน (Phrygian Tetrachord) 3. tone – tone – semitone เรียกวา่ กลุม่ เสยี ง 4 ระดบั แบบลีเดยี น (Lydian Tetrachord) ความทก่ี ล่าวมาแลว้ ข้างตน้ ทำใหเ้ ราทราบว่า พธิ ากอรัส ได้ใช้ระเบยี บวิธคี ดิ อย่างสงู เกีย่ วกับการแบ่งระบบของเสีย งดนตร ี และจากการคิด Tetrachord ชนิดหลกั ๆ ทัง้ 3 กลุ่ม เมือ่ เรยี งต่อ Tetrachord เข้าดว้ ยกนั 2 ชุดจะกอ่ ให้เกิดบันได เสยี งตา่ งๆ ซ่ึงบนั ไดเสยี งทท่ี ี่คิดขึ้นได้เรียกว่า บันไดเสยี งแบบพิธากอรัส (Pythagorian Scale) และเมอ่ื มีการขยายความรไู้ ปใช้ ในการขบั ร้องหรือเล่นเคร่อื งดนตร ี กจ็ ะทำใหเ้ กิดความนิยมเฉพาะกลุ่มจนเป็นชอ่ื เรยี กบันไดเสียงข้ึน มาเฉพาะ เชน่ บันไดเสียง ไอโอเนียน (Ionian) กม็ าจากกล่มุ ชนไอโอเนียนท่ีอยแู่ ถบริมทะเล บันไดเสียงไอโอเนียนเปน็ ท่คี ุ้นกนั ดวี ่าเปน็ บนั ไดเสยี งเมเจอร์ (Major Scale) ในยคุ ปัจจบุ นั นั่นเอง อยา่ งไรก็ดใี นเรื่องของโหมด (Mode) หรอื บนั ไดเสียงโบราณน้ีไดร้ ับแนวคิดมาตัง้ แต่สมยั กรีกของจริงอย ู่ แตเ่ ม่ือถึงยุคกลางแลว้ ชอ่ื และลักษณะของระบบไมต่ รงกับระบบของกร ีกเลย ดงั เชน่ ดอเรียนโหมดของกรีก คือ โนต้ E- E (เทยี บจากคีย์บอรด์ แปน้ สีขาวท้ังส้ิน) แตด่ อเรียนโหมดของยุคกลาง คือ โน้ต D- D ซงึ่ วิวัฒนาการเหล่าน้ีเป็นผลมา จากความนยิ มในการใชท้ งั้ สนิ้ ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้มี าจากหนังสือ The Music of Early Greece โดย Beatric Perham (1937:24) ไดแ้ สดงบนั ไดเสยี งกรีกโบราณทั้ง 3 ประเภทดงั น้ี Dorian = E D CB, A G FE Phrygian = D CB A G FE D Lydian = CB A G FE D C หมายเหตุ การไล่บันไดเสียงดังกลา่ วเป็นตามนยิ มของกรีกคือ การไลล่ ง (Descending Scale) และโนต้ ทช่ี ิดกันคือระยะ ครึง่ เสียง (semitone) โนต้ ทหี่ า่ งกัน คือ ระยะเต็มเสยี ง (tone) ***(ทีม่ า : http://mecbangna.igetweb.com/?mo=3&art=443759)

จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ พบว่าโครงสร้างทางดนตรีตะวันตกได้รับอิทธิพลมาจากดนตรีของชนชาต ิกรีกซึ่งเป็น ชนชาติโบราณที่มีอารยธรรมสูงส่ง กรีกได้ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ไว้มากมาย ทั้งในด้านคณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และศิลปะดนตรี เมื่อกรกี กลายเปน็ ส่วนหนึ่งของอาณาจักรโรมนั วัฒนธรรมด้านดนตรี ท้ังหมดจึงถูก ถ่ายทอดไปสู่โรมัน เมื่ออาณาจักรโรมันล่มสลาย วัฒนธรรมดนตรีที่โรมันรับมาจากกรีก ได้แพร่กระจายไปสู่ชนชาติต่างๆ ทั่ว ภาคพ้ืนยุโรป ครน้ั เมือ่ คริสต์ศาสนาเกดิ ขึ้น ดนตรกี ็ยิง่ มบี ทบาทควบคู่เปน็ เงาตามตัวไปด้วย ยุคสมยั ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตก แบ่งออกเป็นช่วงระยะเวลา แต่ละช่วงระยะเวลาหรือแตล่ ะสมัย มีลักษณะผลงานทางดนตรีท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป ประวัติศาสตร์ ดนตรเี ริ่มตงั้ แต่สมัยกลาง สมัยเรเนสซองส์ สมัยบาโรค สมยั คลาสสิก สมัยโรแมนติก สมัยอิมเพรสชั่นนิสติค และสมัยศตวรรษที่ 20 ยคุ กลาง ยุคกลาง (Middle Ages ) เริ่มประมาณปี ค.ศ. 400 - 1400 ในสมัยกลางนี้โบสถ์เป็นศูนย์กลางทั้งทางด้านดนตรี ศิลปะ การศึกษาและการเมือง วิวัฒนาการของดนตรีตะวันตกมีการบันทึกไว้ตั้งแต่เริ่มแรกของคริ สต์ศาสนา บทเพลงทางศาสนาซึ่งเกิดขึ้น จากกราประสม ประสานระหว่างดนตรีโรมัน โบราณกับดนตรียิวโบราณ เพลงแตง่ เพื่อพธิ ีทางศาสนาครสิ ต์เป็นส่วนใหญ่ โดยนำคำสอนจากพระ คัมภีร์มารอ้ งเป็นทำนอง เพอ่ื ให้ประชาชนไดเ้ กิดอาราณ์ซาบซง้ึ และมศี รทั ธาแก่กลา้ ในศาสนา ไมใช่เพ่ือความไพเราะของทำนอง หรอื ความสนกุ สนานของจงั หวะ เมอ่ื ศาสนาคริสต์แพรก่ ระจายไปท่ัวโลก ประเทศต่างๆ ได้นำบทเพลงท่ีชาตติ นเองค้นุ เคยมาร้อง ในพิธีสกั การะพระเจ้า ดงั นัน้ เพลงท่ีใช้รอ้ งในพธิ ขี องศาสนาครสิ ตจ์ งึ แตกต่างกนั ไปตามภ มู ภิ าคและเช้ือชาตทิ นี่ ับถือ เมอื่ ครสิ ต์ศาสนาเขม้ แข็งขึ้น ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ที่แน่นอนในการขับร้องเพลงสวด ทเ่ี รยี กว่า ชานท์ (Chant) จน เป็นที่ยอมรับในหมู่พวกศาสนาคริสต์ สันตะปาปาเกรกอรี (Pope Gregory the Great) พระผู้นำศาสนาในยุคนั้น คือ ผู้ท่ี รวบรวมบทสวดต่างๆ ที่มีอยู่ ให้เป็นหมวดหมู่ เปลี่ยนคำร้องจากภาษากรีกให้เป็นภาษาละติน กำหนดลำดับเพลงสวดไว้อย่าง ชัดเจน เพื่อให้ทุกคนปฏบิ ัติเหมือนกัน ผลงานการรวบรวมบทสวดของสันตะปาปาเกรกอรี ถูกเรียกว่า เกรกอรีชานท์ (Gregory Chant)หรอื บทสวดของเกรกอรี ซึง่ ในศาสนาครสิ ต์นิกายโรมนั แคธอลิคก็ยังนำมาใช้อยู่จนปัจจบุ ัน ชานทเ์ ป็นบทเพลงรองที่มีแต่ ทำนอง ไม่มีการประสานเสียงและไม่มีการบังคับจังหวะ แต่ขึ้นอยกู่ ับความเชยี่ วชาญและรสนิยมของนักร้องเอง เพลงประเภทน้ี ถูกเรียกวา่ เพลงเสียงเดียว หรือเรยี กวา่ โมโนโฟนี (Monophony) วิวัฒนาการท่ีสำคัญท่สี ุดของดนตรีเกิดขึ้นที่ปลายยุคกลาง ราวครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 9 คือ การเพม่ิ แนวร้องขึ้นอีกแนวหนึ่ง เป็นเสียง ร้องทเ่ี ปน็ คู่ขนานกับทำนองหลัก กำหนดใหร้ ้องพร้อมกันไป วธิ ีการเขยี นเพลงท่ีมี 2 แนวนเี้ รยี กวา่ ออร์แกนมุ (Organum) จาก จุดเรม่ิ นเ้ี องดนตรสี ากลก็ได้พฒั นาไปอยา่ งมากมาย จากแนวสองแนวที่ขนานกนั เป็นสองแนวแต่ไม่จำเป็นต้องขนานกันเสมอไ ป สวนทางกันได้ ต่อมาได้เพิ่มเสียงสองแนวเป็นสามแนวและเป็นสี่แนว จากเพลงร้องดั้งเดิมที่มีเพียงเสียงเดียว ได้พัฒนาขึ้น กลายเป็นเพลงหลายแนวเสียงหรอื เรียกว่า โพลโี ฟนี (Polyphony)

ปลายยุคกลางได้มีการเล่นดนตรีนอกวงการศาสนาขึ้นบ้าง โดยมีกลุ่มนักดนตรีเร่ร่อนเที่ยวไปในที่ต่างๆ เปิดการแสดง ดนตรีประกอบการเล่านิทาน เล่าเรื่องการต่อสู้ของนักรบผู้กล้าหาญ ร้องเพลง หรือบรรเลงดนตรีประกอบการแสดงมายากล แสดงกายกรรม แสดงการต้นระบำต่างๆ จุดมุ่งหมายคือความบันเทิง นักดนตรีพเนจรเหลา่ นี้ กระจายอยุ่ทั่วภาคพื้นยุโรป มีชื่อ เรียกต่างกันไป พวกจองเกลอ (Jonglour) อยู่ทั่วไปในยุโรป พวกมิสสเทรล (Minstrel) เร่ร่อนอยู่ในอังกฤษ พวกทรูแวร์ (Trouveres) ทำหน้าที่บรรเลงเพลงในราชสำนักทางตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศส และพวกทรูบาร์ดัวร์ (Troubadour) ทำ หน้าทบี รรเลงเพลงในราชสำนกั ทางตอนใตข้ องประเทศฝร่ังเศส ยคุ เรเนสซองส์หรือยุคฟนื้ ฟศู ิลปวิทยา ยคุ เรเนสซองส์หรอื ยคุ ฟ้นื ฟูศลิ ปวิทยา (The Renaissance Period) สมัยเรเนสซองส์ หรือ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เริ่มประมาณ ค.ศ. 1400 – 1600 เพลงศาสนายังมีความสำคัญอยู่เช่นเดิม เพลง สำหรับประชาชนทั่วไป เพื่อให้ความบันเทิง ความสนุกสนาน ก็เกิดขึ้นด้วย การประสานเสียงได้รับการพัฒนาให้กลมกลืนข้ึน เพลงศาสนาเป็นรากฐานของทฤษฎีการประสานเสียง เพลงในยุคนี้แบง่ เปน็ สองแบบ ส่วนใหญ่จะเปน็ แบบท่ีเรียกว่า อิมมิเททีฟ โพลีโฟนี (Imitative Polyphony) คือ มีหลายแนว และแต่ละแนวจะเริ่มไม่พร้อมกัน ทุกแนวเสียงมีความสำคัญแบบที่สอง เรียกว่า โฮโมโฟนี (Homophony) คือ มหี ลายแนวเสยี งและบรรเลงไปพร้อมกนั มเี พยี งแนวเสยี งเดียวท่ีเดน่ แนวเสยี งอืน่ ๆ เป็น เพียงเสียงประกอบ เพลงในสมัยนี้ ยังไม่มีการแบ่งจังหวะที่แน่นอน คือ ยังไม่มีการแบ่งห้องออกเป็น 3/4 หรือ 4/4 เพลงส่วน ใหญ่กย็ งั เก่ียวข้องกับคริสต์ศาสนาอยู่เพลงประกอบขั้นต อนตา่ งๆ ของพิธีทางศาสนาทส่ี ำคัญ คอื เพลงแมส (Mass) และโมเต็ท (Motet) คำร้องเป็นภาษาละติน เพลงที่ไม่ใช่เพลงศาสนาก็เริ่มนิยมกันมากขึ้น ได้แก่ เพลงประเภท แมดริกัล (Madrigal) ซึ่งมี เน้ือรอ้ งเกีย่ วกบั ความรกั หรอื ยกย่องบคุ คลสำคญั และมกั จะมจี ังหวะสนุกสนาน นอกจากน้ียงั ใชภ้ าษาประจำชาติของแต่ละชาติ เพลงบรรเลงเริ่มมีบทบาทในยุคนี้ เครื่องดนตรีที่นำมาใช้ในการบรรเลง คือ ลูท ออร์แกนลม ฮาร์พซิคอร์ด เวอจินัล ขลุ่ยเรคอร์เดอร์ ซอวิโอล องค์ประกอบสำคัญอย่างหนึ่งของดนตรียุคนี้ที่ถูกนำมาใช้ คือ ความดัง - เบาของเสียงดนตรี (Dynamic) คำว่า “Renaissance” แปลว่า “การเกิดใหม่ ” (Re-birth) ซึ่งหมายถงึ ช่วงเวลาท่ีปัญญาชนในยุโรปได้ หันความสนใจ จากกจิ การฝา่ ยศาสนาที่ได้ปฏบิ ัติมาอย่างเคร่งครดั ตล อดสมยั กลาง มาสูก่ ารฟ้นื ฟูศลิ ปวทิ ยา ซึ่งมีแนวความคิดอ่านและวัฒนธรรมตามแบบกรีก และโรมันโบราณ สมัยแห่งการฟื้นฟูศิลปวิทยานี้ ได้เริ่มขึ้นครั้งแรกตามหัว เมอื งภาคเหนอื ของแหลมอติ าลี โดยได้เริ่มขึ้นที่เมืองฟลอเรนซ์ ก่อนแล้วจึงแพร่ไปยังเวนิช ปิสา เจนัว จนทั่วแคว้นทัสคานีและลอมบาร์ดี จากนั้นจึงแพร่ไปทั่ว แหลมอิตาลแี ลว้ ขยายตัวเข้าไปในฝรั่งเศส เยอรมนี เบลเย่ียม เนเธอร์แลนด์ และอังกฤษ ลักษณะของดนตรีในสมัยนี้ยังคงมีรูปแบบคล้ายในสมัยศิลป์ใหม่ แต่ได้มีการปรับปรุงพัฒนารูปแบบมากขึ้น ลักษณะการสอด ประสานทำนอง ยังคงเป็นลักษณะเด่น เพลงร้องยังคงนิยมกัน แต่เพลงบรรเลงเริ่มมีบทบาทมากขึ้น ในช่วงศตวรรษที่ 15 และ 16 รปู แบบของดนตรีมีความแตกต่างกนั ดังน้ี (ไขแสง ศุขะวฒั นะ,2535:89)

1. สมัยศตวรรษที่ 15 ประชาชนทั่วไปได้หลุดพ้นจากการปกครองระบอบศักดินา (Feudalism) มนุษยนิยม (Humanism) ได้กลายเป็นลัทธิ สำคัญทางปรชั ญา ศลิ ปินผมู้ ชี ือ่ เสยี ง คอื ลอเรน็ โซ กิแบรต์ ี โดนาเต็ลโล เลโอนาร์โด ดา วินชิ ฯลฯ เพลงมกั จะมี 3 แนว โดยแนว บนสดุ จะมลี ักษณะนา่ สนใจกวา่ แนวอน่ื ๆ เพลงท่ีประกอบด้วยเสยี ง 4 แนว ในลกั ษณะของโซปราโน อัลโต เทเนอร์ เบส เรม่ิ นยิ มประพันธ์กันซง่ึ เปน็ รากฐานของการประสานเสยี ง 4 แนว ในสมัยตอ่ ๆ มา เพลงโบสถ์จำพวก แมสซึ่งพัฒนามาจากแชนท์มีการประพันธ์กันเช่นเดียวกับในสมัยกลาง เพลงโมเต็ตยังมีรูปแบบคล้ายสมัยศิลป์ใหม่ ในระยะน้ี เพลงคฤหัสถ์เริ่มมีการสอดประสานเกิดขึ้น คือ เพลงประเภทซังซอง แบบสอดประสาน (Polyphonic chanson) ซึ่งมีแนว ทำนองเด่น 1 แนว และมีแนวอื่นสอดประสานแบบล้อกัน (Imitative style) ซึ่งมีแนวโนม้ เปน็ ลักษณะของการใส่เสียงประสาน (Homophony) ลักษณะล้อกันแบบนี้เป็นลักษณะสำคัญของเพลงในสมัยนี้ นอกจากนี้มีการนำรูปแบบของโมเต็ตมาประพันธ์เป็นเพลงแมสและ การนำ หลักของแคนนอนมาใช้ในเพลงแมสดว้ ย 2. สมยั ศตวรรษท่ี 16 มนุษยนิยมยังคงเป็นลัทธิสำคัญทางปรัชญา การปฏิรูปทางศาสนาและการต่อต้านการปฏิรูปทางศาสนาของพวกคาทอลิก เป็น เหตุการณ์สำคัญยิ่งของคริสต์ศาสนาเพลงร้อง แบบสอดประสานทำนองพัฒนาจนมีความสมบูรณ์แบบเพลงร้องยังคงเป็นลัก ษณะเด่น แต่เพลงบรรเลงก็เริ่มนิยมกันมากขึ้น เพลงโบสถ์ยังมีอิทธิพลจากเพลงโบสถ์ของโรมัน แต่ก็มีเพลงโบสถ์ของนิกายโป รแตสแตนท์เกิดข้ึน การประสานเสียงเร่มิ มหี ลกั เกณฑม์ ากขนึ้ การใช้การประสานเสยี งสลบั กบั การล้อกนั ของทำนองเป็นลักษณะ หนึ่งข องเพลงในสมัยนี้ การแต่งเพลงแมสและโมเต็ต นำหลักของการล้อกันของทำนองมาใช้แต่เป็นแบบฟิวก์ (Fugue) ซ่ึง พัฒนามาจากแคนนอน คือ การล้อของทำนองทม่ี ีการแบ่งเปน็ สว่ น ๆ ทส่ี ลบั ซบั ซ้อน มีหลกั เกณฑ์มากข้นึ ในสมยั นี้มกี ารปฏวิ ตั ทิ างดนตรเี กิดขึน้ ในเยอ รมัน ซงึ่ เป็นเรื่องของความขัดแยง้ ทางศาสนากับพวกโรมันแคธอลิก จึงมีการแต่งเพลงขึ้นมาใหม่โดยใช้กฏเกณฑ์ใหม่ด้วยเพลงที่เกิดขึ ้นมาใหม่เป็นเพลงสวดที่ เรียกว่า “โคราล” (Chorale) ซึ่งเป็นเพลงที่นำมาจากแชนท์แต่ใส่อัตราจังหวะเข้าไป นอกจากนี้ยังเป็นเพลงที่นำมาจากเพลง คฤหัสถ์โดย ใส่เนื้อเป็นเรื่องศาสนาและเป็นเพลงที่แต่งขึน้ ใหม่ด้วย เพลงในสมัยนี้เริ่มมีอัตราจังหวะแนน่ อน เพลงคฤหัสถ์มีการ พฒั นาท้ังใชผ้ ู้รอ้ งและการบรรเลง กลา่ วได้วา่ ดนตรีในศตวรรษนีม้ ีรปู แบบ ใหม่ ๆ เกิดขึ้นและหลกั การตา่ ง ๆ มแี บบแผนมากข้ึน ในสมัยนี้มนุษย์เริ่มเห็นความสำคัญของดนตรีมาก โดยถือว่าดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต นอกจากจะให้ดนตรีในศ าสนาสืบ เน่ืองมาจากสมัยกลาง (Middle Ages) แลว้ ยงั ตอ้ งการดนตรีของคฤหสั ถ์ (Secular Music) เพ่ือพักผอ่ นในยามว่าง เพราะฉะนั้น ในสมัยนด้ี นตรขี องคฤหสั ถ์ (Secular Music) และดนตรีศาสนา (Sacred Music) มีความสำคัญเทา่ กนั

สรุปลักษณะบทเพลงในสมัยนี้ 1. บทรอ้ งใช้โพลีโฟนี (Polyphony) ส่วนใหญใ่ ช้ 3-4 แนว ในศตวรรษท่ี 16 ได้ชอื่ ว่า “The Golden Age of Polyphony” 2. มกี ารพฒั นา Rhythm ในแบบ Duple time และ Triple time ขึ้น 3. การประสานเสยี งใชค้ ู่ 3 ตลอด และเปน็ สมยั สุดท้ายทมี่ ีรูปแบบของขับรอ้ งและบรรเลงเหมือนกัน เครอ่ื งดนตรสี มยั รเี นซองส์ - เครอื่ งดนตรใี นสมัยนที้ ี่นยิ มใชก้ ันไดแ้ ก่ เครอื่ งสายทบ่ี รรเลงดว้ ยการใช้คันชกั ไดแ้ ก่ ซอวิโอล (Viols) ขนาดต่าง ๆ ซอรเี บค (Rebec) ซงึ่ ตัวซอมีทรวดทรงคล้ายลกู แพร์เป็นเคร่ืองสายทใ่ี ช้คันชกั ลทู เวอร์จินัล คลาวิคอรด์ ขล่ยุ รคี อรเ์ ดอร์ ปช่ี อม ปีค่ อรเ์ น็ต แตรทรัมเปต และแตรทรอมโบนโบราณ เปน็ ตน้ ยุคบาโรก ยุคบาโรก (The Baroque Period) คำว่า “Baroque” มาจากคำว่า “Barroco” ในภาษาโปรตุเกสซึ่งหมายถึง “ไข่มุกที่มีสัณฐานเบี้ยว” (Irregularly shaped pearl) Jacob Burckhardt เปน็ คนแรกทใี่ ชค้ ำนเ้ี รยี กสไตล์ของงานสถาปัตยกรรมและจิตรกรรมใน ครสิ ต์ศตวรรษที่ 17 ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยการตกแต่งประดับประดาและให้ความรู้สึกอ่อนไหว (ไขแสง ศุขวัฒนะ,2535:96) ในดา้ นดนตรี ไดม้ ผี นู้ ำคำน้มี าใช้เรยี กสมยั ของดนตรีทเ่ี กิดข้ึนในยโุ รป เรม่ิ ตงั้ แตต่ น้ คริสต์ศตวรรษท่ี 17 และมาสิ้นสุดลง ราวกลางคริสต์ศตวรรษท่ี 18 ซึง่ เปน็ เวลารว่ ม 150 ปี เนอ่ื งจากสมัยบาโรกเป็นสมัยท่ียาวนานรูปแบบของเพลงจึงมีการเปลี ่ยน แปลงไปตามเวลา อยา่ งไรกต็ ามรปู แบบของเพลงทีส่ ามารถกลา่ วได้ว่าเปน็ ลักษณะเด่นท ่สี ดุ ของดนตรี บาโรกไดป้ รากฏในบทประพันธ์ของ เจ.เอส.บาคและยอร์ช ฟริเดริค เฮนเดล ซ่ึงคีตกวีทง้ั สองน้ไี ด้แต่งขึ้นในชว่ งเวลาครึ่ง แรกของศตวรรษที ่ 18 ตอนต้นสมัยบาโรกคีตกวีส่วนมากได้เลิกนิยมสไตล์โพลี่โฟนี (Polyphony) ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ซึ่งแนวขับร้องแต่ละแนวใน บทเพลงต่างมีความสำคัญทัดเทียมกันและห ันมาสนใจสไตล์โมโนดี (Monody) ซึ่งในบทเพลงจะมีแนวขับร้องเพียงแนวเดียว ดำเนินทำนอง และมีแนวสำคัญที่เรียกในภาษาอิตาเลี่ยนว่า “เบสโซคอนตินิวโอ (Basso Continuo)” ทำหน้าที่เสียงคลอ เคลอ่ื นที่ตลอดเวลาประกอบ ทำให้เกิดคอรด์ ขน้ึ มา อยา่ งไรก็ตามคตี กวีรุน่ ต่อมาก็มไิ ด้เลกิ สไตล์โฟลโี่ ฟนเี สยี เลยท ีเดยี วหากยังให้ ไปปรากฏในดนตรีคยี บ์ อร์ดในแบบแผนของฟวิ ก์ (Fugue) ออร์แกนโคราล (Organchorale) ตลอดจนทอคคาตา (Toccata) ซึ่ง แต่งโดยใชเ้ ทคนคิ เคานเ์ ตอรพ์ อยท์ (Counterpoint)

ดนตรีในสมัยนี้จะอยู่ประมาณ ค.ศ. 1600 – 1750 ช่วงระยะเวลานี้ ทวีปยุโรปกำลังมีการเปลี่ยนแปลงทุกด้านไปในทางที่ดีขึ้น ดนตรีในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความสมบูรณ์ ดนตรีศาสนา และดนตรีของชาวบ้านมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกัน โครงสร้างของเพลงมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น สีสันในบทเพลงมีมากขึ้นวงดนตรีวงใหญ่ขึ้น มีการนำเครื่องดนตรีมาใช้อย่าง หลากหลาย เพลงในยุคนี้จะมีจังหวะสมำ่ เสมอมาก ทางด้านการประสานเสียงมีการใช้เสียงหลัก (Tonality) ที่แน่นอน เพลงแต่ ละเพลงจะต้องอยู่ในกญุ แจหน่ึง เชน่ เริม่ ด้วยกุญแจ C ก็ตอ้ งจบด้วยกุญแจ C มีกฎเกณฑ์การใชค้ อร์ด นกั ประพันธ์เพลงในยุคนี้ นิยมทำนองสั้นๆ (Motif) มาบรรเลงซ้ำๆ กัน โดยเลียนแบบให้สูงขึ้น หรือต่ำลงเป็นลำดับ หรือไม่ก็ซ้ำอยู่ในระดับเดียวกัน ใน ด้านจังหวะ ได้ทำให้กระชับขึ้นมาก โดยมีการใช้เครื่องหมายกำหนดจังหวะ (Time Signature) จุดสุดยอดแห่งการเขียนเพลง แบบนคี้ อื เพลงประเภท ฟิวก์ (Fugue) ซ้ึงใช้เปน็ ท้งั เพลงร้องและเพลงบรรเลง เปน็ เพลงท่ีมหี ลายทำนองสลบั ซบั ซอ้ น มลี วดลาย มาก นอกจากนี้ การเขียนเพลงแบบโฮโมโฟนี คือ การประสานเสียงที่มีทำนองหลักหนึ่งแนว และมีแนวเสียงอื่นเป็น ส่วนประกอบ ไดร้ ับพฒั นาอย่างสมบูรณใ์ นยุคน้ี นกั ประพันธเ์ พลงหลายทา่ น ไดส้ ร้างผลงานโดยใชห้ ลักการประสานเสียงแบบโฮ โมโฟนี ผมู้ ชี ่อื เสียงมากในฐานะที่เป็นผูบ้ ุกเบกิ การประพันธเ์ พลงแบบบร รเลงในยุคนี้ คือ ววิ าลดี (Antonio Vivaldi ค.ศ. 1676 - 1741) เพลงที่เขาเขียนส่วนใหญ่ เป็นเพลงประเภท คอนแชร์โต (Concerto) ซึ่งเป็นเพลงสำหรับเดี่ยวคนเดียว ส่วนเพลงที่มี เดี่ยว 2 – 4 คน เพลงประเภทหลังนี้เรียกว่า คอนแชร์โต กรอสโซ (Concerto Grosso) ยุคนี้เป็นยุคที่ริเริ่มเขียนอุปรากร (Opera) ขึน้ ผู้ทีม่ ีชอื่ เสยี งย่งิ ใหญท่ างดา้ นอปุ รากร (Opera) คือ มอนทเิ วอรด์ ี (Claudio Monteverdi ค.ศ. 1567 - 1643) นักประพันธ์เ พลงที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดในยุคนี้เป็นชาวเยอรมัน คือ เจ. เอส. บาค ( Johann Sebastian Bach ค.ศ. 1685 - 1750) และ แฮนเดล (George Frideric Handel ค.ศ. 1685 - 1759) สำหรับบาคนั้น ได้แต่งเพลงต่างๆ ไว้เป็นจำนวน หลายร้อยเพลง และยังได้วางรากฐานทางดนตรีไว้มากจนได้รบั การยกยอ่ งว่าเป็น “บิดาของดนตรีสากล” และส่วนแฮนเดลนัน้ ใช้ชีวิตอย่ใู นองั กฤษเปน็ ส่วนใหญ่ เขาไดแ้ ตง่ เพลงร้องและเพลงบรรเลงไวเ้ ปน็ จำนวนมากเช่นกัน เพลงรอ้ งท่มี ชี ื่อเสยี งท่ีสุดในโลก เพลงหน่ึง คือ Messiah (ไทยออกเสียงว่า มิซซา) เปน็ เพลงบรรยายถึงประวัติของพระเยซู เพลงนใ้ี ช้แสดงกันในฤดูคริสต์มาสท่ัว ทุกมุมโลก สำหรับเพลงบรรเลงนั้นได้เขียน คอนแชร์โต กรอสโซ (Concerto Grosso) ซึ่งเพลงไพเราะมาก ทั้งหมด 12 เพลง ที่ วงดนตรีนยิ มบรรเลงกนั จนกระทงั่ ทกุ วันนม้ี ี 2 เพลง คือ Water Music และ Fireworks Music ในสมยั บาโรก ดนตรีศาสนาในแบบแผนต่าง ๆ เชน่ ออราทอรโิ อ แมส พาสชัน คันตาตา ในศาสนา (Church Cantata) คีตกวีก็นยิ มแตง่ กันไว้มาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ “แมสใน บี ไมเนอร”์ ของ เจ.เอส. บาค และออราทอริโอ เร่ือง “The Messiah” ของเฮนเดล จดั ไดว้ า่ เป็นดนตรีศาสนาท่เี ดน่ ทีส่ ุดของสมยั น้ี ลกั ษณะสำคัญอกี อย่างหนง่ึ ของดนตรีสมัยบาโรกคือ การทำใหเ้ กดิ “ความตัดกนั ” (Contrasting) เช่น ในดา้ น ความเร็ว – ความช้า ความดงั – ความคอ่ ย การบรรเลงเดีย่ ว – การ บรรเลงรว่ มกัน วธิ ีเหลา่ น้พี บในงานประเภท ตริโอโซนาตา (Trio Sonata) คอนแชรโ์ ต กรอซโซ

(Concerto Grosso) ซมิ โฟเนีย (Simphonia) และคันตาตา (Cantata) ตลอดสมัยนค้ี ตี กวมี ิได้ เขียนบทบรรเลงส่วนใหญ่ของเขาขึ้นอย่างครบบริบูรณ์ ทั้งนี้เพราะเขาต้องการให้ผู้บรรเลงมีโอกาสแสดงความสามารถการเล น่ โดยอาศัยคีตปฏิภาณหรอื การด้นสด (Improvisation) และการประดิษฐ์เมด็ พราย (Ornamentation) ในแนวของตนเอง ในสมยั บาโรกนก้ี ารบนั ทึกตัวโนต้ ได้รับการพฒั นามาจนเปน็ ลักษณะกา รบนั ทกึ ตวั โนต้ ท่ี ใชใ้ นปจั จุบัน คอื การใช้บรรทัด 5 เสน้ การใชก้ ุญแจซอล (G Clef) กุญแจฟา (F Clef) กุญแจอลั โต และกุญแจเทเนอร์ (C Clef) มีการใช้สัญลักษณ์ตัวโน้ตและตวั หยุดแทนความยาวของจังหวะและตำแห น่งของตัวโน้ตบรรทดั 5 เส้น แทนระดับเสียงและยังมีตัวเลขบอกอัตราจังหวะมีเส้นกั้นห้องและสั ญลักษณ์อื่น ๆ เพื่อใช้บันทึกลักษณะของเสียงดนตรี ดงั นี้ (ณรุทธ์ สุทธจติ ต์,2535: 147) อย่างไรกต็ ามลกั ษณะท่ัวไปของดนตรีสมยั บาโรก สามารถสรปุ กว้าง ๆ ไดด้ งั น้ี (อนรรฆ จรัณยานนท์,ม.ป.ป. :56) 1. เรม่ิ นิยมใชส้ อื่ ทต่ี า่ งกันตอบโตก้ นั เชน่ เสยี งนักร้องกบั เครื่องดนตรี การบรรเลงเดยี่ วตอบโตก้ บั การบรรเลงเปน็ กลุ่ม 2. นยิ มใชเ้ บสเปน็ ทั้งทำนองและแนวประสาน เรยี กว่า Basso Continuo และมีวธิ ีบันทึก เรียกวา่ Figured bass 3. เริม่ มีการประสานเสียงแบบ Homophony ซึ่งเป็นการประสานเสยี งแบบอิงคอรด์ และหลายแนวหนนุ แนวเดยี วใหเ้ ดน่ 4. นยิ มใช้บนั ไดเสียงเมเจอร์ (Major)และไมเนอร์ (Minor) แทนโมด (Mode) 5. เคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) ยังคงเป็นคุณลักษณะเด่นของสมัยนี้อยู่ โฮโมโฟนี (Homophony) มีบทบาทหนุนส่งให้ เคาน์เตอร์พอยท์ สมบูรณย์ งิ่ ขนึ้ 6. มกี ารระบุความเรว็ – ชา้ และหนัก – เบา ลงไปในผลงานบ้าง เช่น adagio, andante และ allegro เป็นตน้ 7. เทคนคิ ของการ Improvisation ได้รบั ความนยิ มสูงสุด 8. มีคตี ลกั ษณ์ (Form) ใหม่ ๆ เกิดขึ้นหลายแบบ 9. มกี ารจำแนกหมวดหมขู่ องคีตนิพนธ์ และบัญญัตศิ ัพท์ไว้เรียกชดั เจน 10. อปุ รากร (Opera) ได้กำเนิดและพฒั นาขน้ึ ในสมัยนี้

ยคุ คลาสสิก ยคุ คลาสสิก (The Classical Period) เริ่มประมาณ ค.ศ. 1750 – 1820 สมัยนี้ดนตรีได้เริ่มออกมาแพร่หลายถึงประชาชนมากยิ่งขึ้น สถาบันศาสนามิได้เป็น ศูนย์กลางของดนตรีอีกต่อไป ดนตรีในยุคนี้ถอื ว่าเป็นดนตรีบริสุทธิ์ (Pure Music หรือ Absolute Music) เพลงต่างๆ นิยมแต่ง ขึ้นเพื่อการฟังโดยเฉพาะ มิใช่เพื่อประกอบพิธีศาสนาหรือพิธีอื่นๆ เป็นระยะเวลาแห่งดนตรีเพื่อดนตรี เพลงส่วนใหญ่เป็นเพลง บรรเลง เพื่อฟังความไพเราะของเสียงดนตรีอย่างแท้จริง เป็นลักษณะดนตรีที่ต้องใช้แสดงความสามารถในการบรรเลงมากข้ึน การประสานทำนองแบบโพลีโฟนีใช้น้อยลงไป การประสานทำนองแบบโฮโมโฟนีถูกนำมาใช้มากขึ้น มีการนำกฎเกณฑ์มาใช้ใน การแต่งเพลงอย่างเคร่งครัด รวมทั้งนำเอาองค์ประกอบของดนตรีมาใช้อย่างครบถ้วน มีการกำหนดอัตราจังหวะ กำหนดให้ จำนวนจงั หวะสมำ่ เสมอเท่ากันทุกห้อง การเขียนเพลงในยุคน้ีสนใจความแตกตา่ ง (Contrast) การใชจ้ งั หวะ มีท้งั จังหวะช้า และ เร็ว สลับกันไปตามจำนวนของท่อนเพลงการเขียนทำนองเพลง มีการพัฒนาให้มีหลักเกณฑ์และมีความสมดุล เช่น ทำนอง ประโยคหนึ่งจะแบ่งเป็น 2 วรรค คอื วรรคถาม และวรรคตอบ ให้มีความยาวเท่าๆ กัน ดา้ นเสียงประสานนน้ั ก็ไดพ้ ฒั นาก้าวหน้า ต่อไปอีก นำการเปลี่ยนบันไดเสียงในระหว่างบทเพลงมาใชแ้ ลว้ จึงกลบั มาหาบัน ไดเสียงเดิมในตอนจบเพลง ในด้านน้ำเสียงน้นั ยุคนี้ให้ความสนใจเป็นพิเศษ การจัดวงออร์เคสตรา ใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท ได้มีการประดิษฐ์เครื่องดนตรีใหม่ๆ ที่ได้ใช้ กนั มาจนถึงปัจจุบันหลายเครอื่ งท่ีสำคญั ทีส่ ดุ คอื เปยี โน (Piano) เพลงท่นี ิยมแต่งก็พัฒนามาจากสมัยบาโรค แตไ่ ด้มกี ารปรับปรุงให้ยงิ่ ใหญ่ขึน้ รวมทงั้ เพลงประเภทอปุ รากร โอราทอริโอ คอนแชรโ์ ต โซนาตา และเพลงซมิ โฟนี ซึ่งต่อมานยิ มแต่งมากท่ีสดุ คอื เพลงซมิ โฟนี ตั้งแต่ปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 18 มาจนถึงช่วงตน้ ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 นับได้ว่าเปน็ ช่วงเวลาท่ีประชาชนสว่ นใหญ่ใน ยุโรปมคี วามต่นื ตัวใ นเรื่องประชาธิปไตยเหตุการณ์ท่ีได้กระต้นุ เร่ืองนี้เป็นอย่างมา กกค็ อื การปฏิวัติคร้ังใหญ่ในฝรั่งเศสซ่ึงเร่ิมขึ้น ในปี ค.ศ. 1879 การรบครงั้ สำคัญในสมยั น้คี ือ สงครามเจ็ดปี (ค.ศ.1756-1763) สงครามฝรัง่ เศสและอินเดยี ในอเมริกาเกิดสงครามระหว่างอังกฤษและอาณานิคมอเมริกัน ซึ่งนำไปสูก่ ารประกาศอสิ รภาพ ของอเมริกันในปี 1776 และสงครามนโปเลียนใน ยโุ รป ซึ่งเปน็ ผลใหเ้ กิดคองเกรสแห่งเวยี นนาขึน้ ในปี ค.ศ. 1814 สมัยนีใ้ นทางปรัชญาเรียนกวา่ “ยคุ แหง่ เหตผุ ล” Age of Reason (ไขแสง ศุขวฒั นะ,2535:102) หลังการตายของ เจ.เอส.บาค (J. S. Bach) ในปี 1750 กไ็ ม่มผี ปู้ ระสบความสำเรจ็ ในรปู แบบของดนตรีแบบบาโรก (Baroque style) อกี มกี ารเร่มิ ของ The (high) Classical era ในปี 1780 เราเรียกช่วงเวลาหลังจากการตายของ เจ.เอส.บาค (J. S. Bach1730-1780) วา่ The early classical period ดนตรใี นสมัยบาโรกนั้นมรี ปู พรรณ (Texture) ทีย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ นส่วนดนตรใี นสมยั คลาสสกิ มลี กั ษณะเฉพาะคือมี โครงสรา้ ง (Structure) ที่ชดั เจนขึน้ การคน้ หาความอสิ ระในดา้ น วิชาการ เป็นหลักสำคญั ที่ทำให้เกิดสมยั ใหมน่ ี้

ลกั ษณะของดนตรใี นสมัยคลาสสิกทเี่ ปลี่ยนไปจากสมัยบาโรกทเ่ี หน็ ได ้ชัด คือ การไมน่ ิยม การสอดประสานของทำนองท่ีเรียกวา่ เคานเ์ ตอร์พอยท์ (Counterpoint) หนั มานยิ มการเนน้ ทำนอง หลักเพยี งทำนองเดยี วโดยมแี นวเสียงอืน่ ประสานใหท้ ำนองไพเราะข้ึน คือการใสเ่ สยี งประสาน ลักษณะของบาสโซ คอนตนิ ูโอเลิกใช้ไปพรอ้ ม ๆ กับการสรา้ งสรรคแ์ บบอิมโพรไวเซชัน่ (Improvisation) ผู้ประพันธน์ ยิ มเขียนโนต้ ทกุ แนวไว้ ไมม่ กี ารปลอ่ ยว่างให้ผู้บรรเลงแตง่ เติมเอง ลักษณะของบทเพลงก็เปล่ียนไป เช่นกัน ศนู ย์กลางของสมยั คลาสสิกตอนต้นคือเมืองแมนฮมี และกรุงเวยี นนาโรง เรยี นแมนฮมี จัดตัง้ ขึ้นโดย Johann Stamitz ซง่ึ เปน็ นักไวโอลิน และเปน็ ผคู้ วบคุม Concert ของ The Mannheim orchestra เขาเป็นผู้พัฒนาสไตล์ใหม่ของการประพันธ์ดนตรี (Composition) และ การเรียบเรียงสำหรับวงออร์เคสตรา (Orchestration) และยังพัฒนา The sonata principle in 1st movement of symphonies, second theme of Stamitz ตรงกันข้ามกับ 1st theme ซง่ึ Dramatic, striking หรอื Incisive (เชือดเฉือน) เขามักเพ่ิมการแสดงออกท่ีเป็นท่วงทำนองเพลงนำไปสู่บทเพลง ใน ซิมโฟนี การเปลี่ยนความดัง - ค่อย (Dynamic) อย่างฉับพลันในช่วงสั้น ๆ ได้รับการแสดงครั้งแรกโดย Manheim orchestra เขายังขยาย Movement scheme of symphony จากเรว็ -ช้า-เรว็ เปน็ เรว็ – ช้า – minuet – เร็ว (minuet คือดนตรบี รรเลงเพอื่ การเตน้ รำค่ใู นจังหวะช้า 3 จงั หวะ ) ใช้คร้ังแรกโดย GM Monn แบบแผนนี้กลายเป็นมาตรฐานในซิมโฟนแี ละ สตริงควอเตท (String quartet ) สมยั คลาสสกิ นจ้ี ัดไดว้ ่าเป็นสมยั ท่ีมีการสรา้ งกฎเกณฑร์ ปู แบบในท ุก ๆ อยา่ งเก่ยี วกบั การ ประพนั ธเ์ พลงซ่ึงในสมยั ตอ่ ๆ มาได้นำรปู แบบในสมยั นี้มาใช้และพัฒนาใหล้ กึ ซง้ึ หรอื แปรเปล่ยี นไ ป เพลงในสมัยนเี้ ป็นดนตรีบริสทุ ธ์ิสว่ นใหญ่ กล่าวคอื เพลงท่ีประพนั ธ์ขน้ึ มาเปน็ เพลงซ่ึงแสดงออกถึงลักษณะของดนตรแี ท้ ๆ มไิ ด้มี ลักษณะเป็นเพลงเพ่ือบรรยายถึงเหตุการณ์หรือเร่ืองราวใด ๆ ซึง่ เปน็ ลกั ษณะทม่ี ีกฎเกณฑ์ ไมม่ กี ารใส่หรือแสดงอารมณข์ อง ผูป้ ระพันธ์ลงในบทเพลงมากนัก ลักษณะของเสยี งทีด่ ัง - ค่อย คอ่ ย ๆ ดงั และค่อย ๆ เบาลง ดนตรีสไตล์เบา ๆ และสงา่ งามของโรโคโค (Rococo Period ) ซ่ึงตรงข้ามกับสไตล์ที่เครง่ เครยี ดในสมัยบาโรก โดยปกติมันเป็น Lightly accompanied pleasing music ดว้ ย Phrasing ท่สี มดุลย์กนั (JC Bach, Sammartini, Hasse, Pergolesi ) Galant เหมือนกบั โรโคโค (Rococo Period ) ในแนวคิดของ

Heavy ornamentation แต่ต่างกันตรงที่ลักษณะดนตรีมีโครงสร้างและประโยคเพลงที่มีแบบแ ผนและรูปแบบที่มีความ อ่อนไหวง่าย พยายามแสดงออกถึงความรู้สึกที่แท้จริงและเป็นธรรมชาติ แทรกความโรแมนติกของศตวรรษที่ 19 เข้าไป จดุ หมายเพื่อแสดงความเปน็ ตวั ของตวั เอง โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ดนตรขี อง CPE Bach และ WF Bach ดว้ ย ความหมายของคำวา่ \"คลาสสกิ ซสิ ซมึ่ \" (Classicism) คำว่า “คลาสสิก” (Classical) ในทางดนตรีนั้น มีความหมายไปในทางเดียวกันกับความหมายของอุดมคติของลัทธิ Apollonian ในสมัยของกรกี โบราณ โดยจะมีความหมายทีม่ ีแนวคิดเป็นไปในลักษณะของความนึกถึงแต่สิ่ง ที่เป็นภายนอกกาย สภาพการเหนี่ยวรั้งทางอารมณ์ ความแจ่มแจ้งในเรื่องของรูปแบบ และการผูกติดอยู่กับหลักทางโครงสร้างอย่างใดอย่างหน่ึง อุดมคตทิ างคลาสสิกในทางดนตรีนนั้ มไิ ดจ้ ำกัดอยู่แต่ในช่วงตอนปลา ยของศตวรรษท่ี 18 เท่านน้ั อุดมคติ ทางคลาสสิกดงั กล่าว ยังเคยมปี รากฏมากอ่ นในชว่ งสมยั อาร์สอนั ตคิ วา (Ars Antiqua) และมีเกิดข้นึ ให้พบเหน็ อีกในบางส่วนของ งานประพนั ธก์ ารดนตรใี นศต วรรษที่ 20 พวกคลาสสิกนิยม (Classicism) ก็มีในดนตรีในช่วงตอนปลาย ๆ ของสมัยบาโรก ซึ่งเป็นดนตรีสไตล์ของบาค (J.S. Bach) และของฮัลเดล (Handel) เช่นกัน ในช่วงของความเป็นคลาสสิกนิยมนั้นมี 2 ช่วง คือ ในตอนต้นและใช้ช่วงตอนปลาย ของศตวรรษท่ี 18 และในชว่ งตอนปลายของศตวรรษที่ 18 มักจะเรียกกนั โดยทั่ว ๆ ไปวา่ เปน็ สมัยเวยี นนสิ คลาสสิก (Viennese Classical Period) เพื่อให้ง่ายต่อการระบุความแตกต่างระหวา่ งคลาสสิกตอนต้นและตอนป ลายนั้นเอง และท่ีเรียกว่าเป็นสมัย เวยี นนสิ คลาสสกิ ก็เพราะเหตุวา่ ชว่ งเวลานัน้ กรงุ เวยี นนาของออสเตรียถกู ถือว่าเป็ นเมอื งศนู ย์กลางหลกั ของการดนตรีในสมยั นนั้ ลกั ษณะท่ัวๆไปของการดนตรีในสมัยคลาสสกิ โดยทั่วไปแล้วดนตรีคลาสสิกสามารถตีความหมายออกมาได้ คือ มองออกจากตัว(Objective) แสดงถึงการเหนี่ยวรั้งจิตใจทาง อารมณ์ สละสลวย การขัดเกลาให้งดงามไพเราะ และสัมผัสที่ไม่ต้องการความลึกล้ำนัก นอกจากความหมายดังกล่าวแล้ว คลาสสิกยังมีความหมาย ที่อาจกล่าวไปในเรื่องของประมวลผลงานก็ได้ กล่าวคือ ผลงานทางดนตรี บทบรรเลงที่เห็นได้ชัดว่ามี มากข้ึนกว่าผลงานทางการประพนั ธโ์ อเป รา่ และฟอรม์ อนื่ ๆ สรุปลักษณะสำคญั ของดนตรีสมัยคลาสสกิ (ไขแสง ศุขะวฒั นะ,2535 :105) 1. ฟอร์ม หรือคีตลักษณ์ (Forms) มีโครงสร้างที่ชัดเจนแน่นอน และยึดถือปฏิบัติมาเป็นธรรมเนียมนิยมอย่างเคร่งครัดเห็นได้ จากฟ อรม์ โซนาตาทเี่ กิดขึน้ ในสมยั คลาสสกิ 2. สไตล์ทำนอง (Melodic Style) ได้มีการพฒั นาทำนองชนิดใหม่ข้ึนมีลกั ษณะท่เี ปน็ ตัวของตัวเองและ รดั กมุ กะทดั รัดมากขึ้น มี ความแจม่ แจง้ และความเรยี บงา่ ยซึง่ มักจะทำตามกันมา สไตล์ทำนองลักษณะน้ีได้เข้ามาแทนทที่ ำนองที่มลี ักษณะยาว ซ่ึงมีสไตล์ ใชก้ ล่มุ จังหวะตวั โน้ตในการสรา้ งทำนอง (Figuration Style) ซ่งึ นยิ มกันมาก่อนในสมยั บาโรก ในดนตรีแบบ Polyphony 3. สไตล์แบบโฮโมโฟนิค (Homophonic Style) ความสำคัญอันใหม่ที่เกิดขึ้นแนวทำนองพิเศษในการประกอบทำนองหลัก (Theme) ก็คือลักษณะพื้นผิวที่ได้รับความนิยมมากกว่าสไตล์พื้นผิวแบบโพล ี่โฟนีเดิม สิ่งพิเศษของลักษณะดังกล่าวนั่นก็คือ Alberti bass ซึ่งก็คือลักษณะการบรรเลงคลอประกอบแบบ Broken Chord ชนิดพิเศษ

4. ในด้านการประสานเสียง (Harmony) น้ัน การประสานเสยี งของดนตรีสมัยนซี้ บั ซ้อน น้อยกวา่ การประสานเสยี งของดนตรีสมัยบาโรก ได้มกี ารใชต้ รัยแอ็คคอรด์ ซ่งึ หมายถึง คอรด์ โทนดิ (I) ดอมนิ นั ท์ (V) และ ซับโด มินันท์ (IV)มากยิ่งขึ้น และการประสานเสียงแบบเดียโทนิค (Diatonic harmony) ได้รับความนิยมมากกว่าการประสานเสียง แบบโครมาตคิ (Chromatic harmony) 5. เคานเ์ ตอรพ์ อยท์ (Counterpoint) ในสมยั คลาสสกิ ยงั คงมกี ารใช้อยูโ่ ดยเฉพาะในทอ่ น พัฒนาของฟอร์มโซนาตาในท่อนใหญ่ การประพันธ์ดนตรีที่ใช้ฟอร์มทางเคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) ซึ่งเป็นฟอร์มที่มี Counterpoint เป็นวัตถุดบิ สำคัญ โดยทว่ั ๆ ไปจะไมม่ ีอกี แลว้ ในสมยั น้ี 6. การใช้ความดัง - เบา (Dynamics) ได้มีการนำเอาเอฟเฟคของความดัง – เบา มาใช้สร้างเป็นองค์ประกอบของดนตรี ดังเหน็ ได้จากงานการประพันธ์ของนักประพันธ์หลาย ๆ คน ซึ่งความดัง - เบานั้นมีทั้งการทำเอฟเฟคจากเบาแล้วค่อยเพิ่มความดังขน้ึ เรือ่ ย ๆ เรียกว่าเครสเซนโด (Crescendo) และ จากดังแล้วกค็ ่อย ๆ ลดลงจนเบาเรียกว่าดิมินเู อ็นโด (Diminuendo) นักดนตรใี นยคุ น้ีไดแ้ ก่ 1. โจเซฟ ไฮเดิน (Franz Joseph Haydn ค.ศ. 1732 - 1828) ผู้นี้ได้วางรากฐานทางด้านเพลงซิมโฟนีไว้มากและแต่ง เพลงซิมโฟนี ไว้ถงึ 104 เพลง จนไดร้ บั ฉายาวา่ เป็น “บิดาแห่งเพลงซิมโฟนี” และยังไดป้ รับปรงุ สตริงควอเตท (String Quartet) ใหม้ คี วามสมบรู ณย์ งิ่ ขึ้น 2. โมสาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart ค.ศ. 1756 - 1791) ไดร้ บั การยกยอ่ งมากอีกท่านหน่ึง ซึ่งไดแ้ ตง่ เพลงต่างๆ ไว้มากและแต่ละเพลงล้วนมีความไพเราะมาก 3. เบโธเฟน (Ludwig Van Beethoven ค.ศ. 1770 - 1827) มีผลงานตา่ งๆ ทนี่ า่ ประทบั ใจมากมาย

ยคุ โรแมนติก ยคุ โรแมนตกิ (the Romantic Period) ความหมายของคำว่า “โรแมนติก” กว้างมากจนยากที่จะหานิยามสั้น ๆ ให้ได้ ในทางดนตรีมักให้ความหมายว่า ลกั ษณะทต่ี รงกันขา้ มกับดนตรีคลาสสกิ กลา่ วคอื ขณะทีด่ นตรีคลาสสิกเน้นทร่ี ูปแบบอนั ลงตัวแน่นอน (Formality)โรแมนติกจะ เน้นที่เน้ือหา(Content) คลาสสิกเน้นความมีเหตุผลเกี่ยวขอ้ งกัน (Rationalism)โรแมนติกเน้นที่อารมณ์ (Emotionalism) และ คลาสสกิ เป็นตวั แทนความคิด แบบภววสิ ัย(Objectivity) โรแมนตกิ จะเปน็ ตวั แทนของอตั วิสัย (Subjectivity) นอกจากนีย้ งั มคี ำนิยามเกย่ี วกบั ดนตรสี มยั โรแมนตกิ ดงั นี้ - คุณลกั ษณะของการยอมใหแ้ สดงออกได้อย่างเตม็ ท่ีซ่งึ จนิ ตนาการ อารมณ์ทีห่ วัน่ ไหว และความรู้สกึ ทางใจ - ในดนตรแี ละวรรณกรรม หมายถงึ คำท่ีตรงกันขา้ มกบั คำว่า “Classicism” เสรภี าพทพี่ ้นจากการเหนย่ี วร้งั ทางจติ ใจ หรือจารตี นยิ มเพอ่ื ทจ่ี ะกระทำการในเรื่องใด ๆ สมัยโรแมนติกเริ่มต้นขึ้นในตอนต้นของศตวรรษที่ 19แต่รูปแบบของดนตรีโรแมนติกเริ่มเป็นรูปแบบขึ้นในตอนปลายของศต วรรษที่ 18 แล้วโดยมีเบโธเฟนเป็นผู้นำ และเป็นรูปแบบของเพลงที่ยังคงพบเห็นแม้ในศตวรรษที่ 20 นี้ สมัยนี้เป็นดนตรีท่ี แสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึกของ ผู้ประพันธ์อย่างมาก ผู้ประพันธ์เพลงในสมัยนี้ไม่ได้แต่งเพลงให้กับเจ้านายของตนดังใ นสมยั กอ่ น ๆ ผูป้ ระพันธ์เพลงแต่งเพลงตามใจชอบของตน และขายตน้ ฉบับให้กบั สำนักพิมพ์เป็นสว่ นใหญ่ ลกั ษณะดนตรีจึงเป็น ลักษณะของผู้ประพันธ์เอง ลักษณะทั่วๆไปของการดนตรีในสมยั โรแมนติก (ไขแสง ศขุ ะวฒั นะ. 2535:111) 1. คตี กวสี มัยน้มี ีความคิดเป็นตวั ของตัวเองมากขึน้ สามารถแสดงออกถงึ ความร้สู ึกนึกคดิ อย่างมีอิสระ ไม่จำเป็นต้องสร้างความงามตามแบบแผนวิธีการ และไม่ต้องอยู่ภายใต้อิทธิพลของผู้ใดทัง้ นีเ้ พราะเขาไม่ได้อยู่ ใน ความอุปภมั ภ์ของโบสถ์ เจา้ นาย และขนุ นางเช่นคีตกวีสมยั คลาสสิกอกี ต่อไป 2. ใชอ้ ารมณ์ และจินตนาการเป็นปัจจัยสำคญั ในการสรา้ งสรรค์ผลงาน 3. ลกั ษณะทเ่ี ปลีย่ นไปอยูภ่ ายใตอ้ ิทธิพลของ “ลัทธิชาตนิ ยิ ม” (Nationalism) 4. ลักษณะทยี่ ังคงอยู่ภายใต้อทิ ธพิ ลของ “ลัทธินิยมเยอรมนั ” (Germanism) 5. ลกั ษณะภายในองคป์ ระกอบของดนตรีโดยตรง

5.1 ทำนอง ลลี าและบรรยากาศของทำนองเนน้ ความรู้สึก และอารมณข์ องบคุ คลมากขึน้ มแี นวเหมอื นแนวสำหรบั ขับร้องมากขึ้น และความยาวของวลี (Phrase) ก็เปลี่ยนแปลงไปโดยไม่จำกดั 5.2 การประสานเสียง โครงสร้างของคอร์ดและลำดับการใช้คอร์ด มีเสรีภาพมากขึ้นการใช้คอร์ด 7 คอร์ด 9 อย่างมีอิสระ และ การยา้ ยบนั ไดเสียงแบบโครมาติค (Chromatic Modulation) มบี ทบาทที่สำคญั 5.3 ความสำคัญของเสียงหลัก (Tonality) หรือในคีย์ยังคงมีอยู่ แต่เริ่มคลุมเครือหรือเลือนลางไปบ้าง เนื่องจากบางครั้งมีการ เปล่ียนบนั ไดเสียงออกไปใช้บันไดเสียงที่ เปน็ ญาติห่างไกลบา้ ง หรอื Chromatic Modulation 5.4 พืน้ ผวิ ในสมยั นี้โฮโมโฟนยี ังคงมคี วามสำคัญมากกวา่ เคาน์เตอร์พอยท์ 5.5 ความดงั เบาของเสียง (Dynamics) ในสมัยนไี้ ด้รบั การเน้นใหช้ ัดเจนทง้ั ความ ดัง และความเบาจนเป็นจุดเดน่ จดุ หน่ึง ดนตรีสมยั นี้เร่ิมประมาณปี ค.ศ. 1820 – 1900 ถอื วา่ เปน็ ยุคทองของดนตรี ดนตรมี ไิ ดเ้ ปน็ เอกสิทธิ์ของผู้นำทางศาสนาหรือการ ปกครอง ได้มีการแสดงดนตรี (Concert) สำหรับสาธารณชนอย่างแพร่หลาย นักดนตรีแตล่ ะคนมีโอกาสแสดงออกซึ่งความร้สู กึ ของตนเองได้เต็มที ่ และต้องการสร้างสไตล์การเขียนเพลงของตนเองดว้ ย ทำให้เกิดสไตล์การเขยี นเพลงของแต่ละท่านแตกต่าง กันอย่างมาก ในยุคนี้ใช้ดนตรีเป็นเครื่องแสดงออกของอารมณ์อย่างเต็มที่ ทุกๆ อารมณ์สามารถถ่ายทอดออกมาได้ด้วย เสยี งดนตรอี ยา่ งเห็นไดช้ ดั ดนตรีในยคุ น้ีจึงไม่คำนึงถงึ รูปแบบ และความสมดลุ แตจ่ ะเน้นเน้ือหา ว่าดนตรกี ำลงั จะบอกเรื่องอะไร ให้อารมณ์อยา่ งไร เช่น แสดงออกถงึ ความรัก ความโกรธ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือความกลวั ด้านเสียงประสานกม็ ักจะใช้คอร์ด ที่มีเสียงไม่กลมกลืน เช่น ดอร์ดโครมาติค (Chromatic Chord) หรือ คอร์ดที่มีระยะขั้นคู่เสียงกว้างมากขึ้นๆ เช่น คอร์ด 7,9 หรือ 11 นอกจากจะแสดงถึงอารมณ์แลว้ คีตกวยี งั ชอบเขียนเพลงบรรยายธรรมชาติเรื่องนิยายหรือความคิดฝัน ของตนเอง โดย พยายามทำเสียงดนตรอี อกมาให้ฟังได้ใกล้เคียงกับส่ิงท่ีกำลงั บ รรยายมากท่สี ดุ เพลงทมี่ แี นวเร่ืองหรือทวิ ทัศน์ธรรมชาติเป็นแนว การเขียนนี้เรีย กว่าดนตรีพรรณนา (Descriptive Music) หรือ โปรแกรมมิวสิค (Program Music) สำหรับบทเพลงที่คีตกวีได้ พยายามถ่ายทอดเนื้อความมาจากคำประพันธ ์หรือบทร้อยกรอง (Poem) ต่างๆ แล้วพรรณนาสิ่งเหล่านี้ออกมาด้วยเสียงของ ดนตรีอย่างเหมาะสมนั้น จะเรียกบทเพลงแบบนี้ว่า ซิมโฟนิคโพเอ็ม (Symphonic Poem) ต่อมาภายหลังเรียกว่า โทนโพเอ็ม (Tone Poem)

ในยุคนเี้ ป็นสมัยชาตินยิ มทางดนตรีดว้ ย (Nationalism) คือ คีตกวจี ะแสดงออกโดยใช้ทำนองเพลงพื้นเมืองประกอบไว้ ในเพลงที่แต่ งขึ้น หรือแต่งให้มีสำเนียงของชาติตนเองมากที่สุด โดยใช้บันไดเสียงพิเศษของแต่ละชาติ ซึ่งเป็นผลให้คนในชาติ เดียวกันเกิดความรักใคร่กลมเกลียวกัน รักชาติบ้านเมืองเกิดความหวงแหนทุกสิ่งทุกอย่างบนแผ่นดนิ ที่อาศ ัยอยู่ เช่น ซีเบลิอสุ (Jean Sibelius) แต่งเพลง ฟินแลนเดีย (Finlandia) โชแปง (Frederic Chopin) แต่งเพลง มาซูกา (Mazurka) และโพโลเนียส (Polonaise) นอกจากน้ียังมคี ีตกวชี าติอน่ื ๆ อกี มาก คีตกวที ี่มีชอื่ เสยี งในสมัยน้ี ไดแ้ ก่ 1. ซเี บลิอุส (Jean Sibelius ค.ศ. 1865 - 1957) 2. ลสิ ซต์ (Franz Liszt ค.ศ. 1811 - 1886) 3. เม็นเดลโซหน์ (Felix Mendelssohn ค.ศ. 1809 - 1847) 4. โชแปง (Frederic Chopin ค.ศ. 1810 - 1849) 5. ชมู านน์ (Robert Schumann ค.ศ. 1810 - 1856) 6. วากเนอร์ (Richard Wagner ค.ศ. 1813 - 1883) 7. บรามส์ (Johannes Brahms ค.ศ. 1833 - 1897) 8. ไชคอฟสกี (Peter Ilyich Tchaikovsky ค.ศ. 1846 - 1893)

ยคุ อิมเพรสช่ันนิสติค ยคุ อมิ เพรสช่นั นสิ ติค (The Impressionistic) ในตอนปลายของศตวรรษที่ 19 จนถึงตอนต้นของศตวรรษที่ 20 (1890 - 1910) ซึ่งอยู่ในช่วงของยุคโรแมนติกนี้ มี ดนตรีที่ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยเดอบูสซี ผู้ประพันธ์เพลงชาวฝรั่งเศส โดยการใช้ลักษณะของบันไดเสียงแบบเสียงเต็ม (Whole- tone Scale) ทำให้เกิดลักษณะของเพลงอีกแบหนง่ึ ขึ้น เนือ่ งจากลักษณะของบันไดเสยี งแบบเสียงเต็มน้ีเองทำใหเ้ พลงในยุค นี้มี ลักษณะ ลึกลับ ไม่กระจ่างชัด เพราะคอร์ดที่ใช้จะเป็นลักษณะของอ๊อกเมนเต็ด (Augmented) มีการใช้คอร์ดคู่ 6 ขนาน ลักษณะของความรู้สึกทีไ่ ด้จากเพลงประเภทน้ีจะเปน็ ลักษณะของความ รู้สึก“คลา้ ยๆ ว่าจะเป็น” หรือ “คล้ายๆ ว่าจะเหมือน” มากว่าจะเป็นความรู้สึกที่แน่ชัดลงไปว่าเป็นอะไร ซึ่งเป็นความประสงค์ของการประพันธ์เพลงประเภทนี้ ชื่ออิมเพรสชั่นนิสติค หรือ อิมเพรสชั่นนิซึมนั้น เป็นชื่อยุคของศิลปะการวาดภาพท่ีเกิดขึ้นในฝรั่งเศส โดยมี Monet,Manet และ Renoir เป็นผู้ สรา้ งสรรคข์ น้ึ มา ซ่ึงเปน็ ศิลปะการวาดภาพทป่ี ระกอบดว้ ยการแตม้ แต่งสีเปน็ จุดๆ มใิ ชเ่ ป็นการระบายสีท่ัวๆ ไป แต่ผลท่ีได้ก็เป็น รูปลักษณะของคนหรือภาพววิ ได้ ทางดนตรีได้นำชื่อนี้มาใช้ ผู้ประพันธเ์ พลงในแนวน้ีนอกไปจากเดอบูสซแี ล้วยังมี ราเวล ดูคาส เดลอิ ุส สตราวนิ สกี และโชนเบริ ์ก (ผลงานระยะแรก) เปน็ ตน้ ดนตรอี ิมเพรสชนั่ นิสตกิ ไดเ้ ปลยี่ นแปลงบันไดเสียงเสียใหม่แทนที่ จะเป็นแบบเดียโทนคิ (Diatonic) ซึง่ มี 7 เสยี งอย่างเพลงท่ัวไป กลับเป็นบนั ไดเสยี งท่ีมี 6 เสียง (ซ่ึงระยะหา่ งหนึ่งเสียงเตม็ ตลอด) เรยี กว่า “โฮลโทนสเกล” (Whole – tone Scale) นอกจากนีค้ อร์ดทกุ คอร์ดยงั เคล่ือนไปเป็นค่ขู นานที่เรยี กวา่ “Gliding Chords” และสว่ นใหญข่ องบทเพลงจะใชล้ ลี าท่เี รียบ ๆ และนุ่มนวล เน่ืองจากลักษณะของบนั ไดเสยี งแบบเสยี งเต็มนีเ้ องบางคร้งั ทำใหเ้ พลงในสมยั นี้มีลกั ษณะลึกลบั ไมก่ ระจ่างชัด ลักษณะของความรูส้ กึ ที่ได้ จากเพลงประเภทนีจ้ ะเปน็ ลกั ษณะของความรู้สกึ “คลา้ ย ๆ วา่ จะเป็น…” หรอื “คลา้ ย ๆ ว่าจะเหมือน…” มากกวา่ จะเป็นความร้สู ึกท่แี นช่ ดั ลงไปวา่ เป็นอะไร (ณรุทธ์ สุทธจิตต์,2535 :174) 1. โคล้ด-อะชิล เดอบซู ี (Claude-Achille Debussy) เปน็ คตี กวชี าวฝรัง่ เศส เกดิ เมื่อวันท่ี 22 สงิ หาคม พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) ทเ่ี มืองซงั ต-์ แจร์มงั -อ็อง-เลย์ และเสยี ชีวติ ที่กรงุ ปารสี เมื่อวันท่ี 25 มนี าคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) เดอบสุ ชี ไดก้ ล่าวถงึ ลกั ษณะดนตรสี ไตล์อิมเพรสชนั่ นสิ ตกิ ไวว้ า่ …“สำหรบั ดน ตรีนนั้ ขา้ พเจา้ ใครจ่ ะใหม้ ีอสิ ระ ปราศจาก ขอบเขตใด ๆ เพราะในสไตล์นี้ดนตรีก้าวไปไกลกว่าศิลปะแขนงอืน่ ๆ ไม่มีกฎเกณฑ์ใด ๆ มาบงั คับให้ดนตรีต้องจำลองธรรมชาติ ออกมาอย่างเป็นจริงเป็นจัง ดนตรีนี้แหละจะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับจินตนาการที่ เร้นลับมหัศจรรย์บางอย่าง ออกมาเอง”

2. มอริส ราเวล (Maurice Ravel,1875-1937) เกิดวนั ท่ี 7 มนี าคม 1875 ท่ี Ciboure ใกล้กับ St.Jean de Luz ทางตอนใต้ของฝรงั่ เศสเกือบติดเขตแดนสเปญ เรม่ิ เรียนเปียโน ต้งั แต่อายุ 7 ขวบ เรยี น การประสานเสียงอายุ11 ขวบและเข้าศึกษาในสถาบันดนตรีแหง่ ปารีส (Paris Conservatory) อายุ 14 ขวบเปน็ เพอ่ื นกบั เดอบสุ ซี ราเวลมักถูกนำไปเปรยี บเทียบกบั เดอบสุ ซีอยู่บ่อย ๆ แต่อนั ท่ีจรงิ แลว้ ดนตรีของท้ังสองต่างกันมากใน สิ่งที่เรียกว่า “สไตล์” ถึงแม้ว่าราเวลจะถูกจัดว่าเป็นคีตกวีในสมัยอิมเพรสชั่นคนหนึ่ง แต่ดนตรีของเขามีสีสันไปทางคลาสสิก มากกวา่ อยา่ งไรก็ตามราเวลก็ม ีชีวิตอยรู่ ะหว่างปลายสมัยดนตรีอิมเพรสชั่นกำลังเติบโตเต็มที่ค นหนึง่ ชีวิตส่วนตัวของราเวลเขาไม่เคยแต่งงานเลยทั้ง ๆ ที่พบปะคุ้นเคยกับสตรีมากมายเช่นเดียวกับเกิร์ชวินซึ่งก็ไม่ได้ แต่งงาน เหมือนกัน ราเวลเป็นคนร่างเล็ก แต่งตัวดีอย่างไม่มีที่ติแต่ชีวิตของเขาไม่ฟู่ฟ่า มีนิสัยชอบสันโดษอย่ างมาก สำหรับเขา “ความสำเร็จ” กับ “อาชีพ” ดูเหมือนว่าจะคนละอย่างกัน ยิ่งประชาชนเพิ่มความนิยมชมชอบเขามากเท่าไรแต่เขากลับทำตัว ธรรม ดามากขึ้น เขาสร้างดนตรีเพราะต้องทำ ไม่เคยสร้างดนตรีเพราะต้องการความก้าวหน้าหรือเพื่อหาเงิน ไม่มีความเป็นนัก ธุรกิจเลยแมแ้ ต่น้อยไม่ต้องการแม้แตจ่ ะหาลูกศิ ษย์สอนเพื่อจะได้เงิน เขามีรายได้จากงานประพันธ์และการแสดงดนตรีแค่พอมี ชวี ิตอยูอ่ ย่า งสบาย ๆ พอประมาณเทา่ น้ันลกั ษณะเด่นของราเวล คือ การเรียบเรียงเสยี งประสานสำหรับวงออร์เคสตรา ผลงานทมี่ ีชอ่ื เสยี ง - Pavane for a Dead Princess 1899 ดนตรีหวานซึ้งราบเรยี บนมุ่ นวลชวนฟงั ให้จิตใจสงบ - String Quartet 1903, Introduction and Allegro 1905 - Daphnis et Chloe : Suite No. 2 1909-12, - The Waltz 1920, - Bolero 1928 ทำนองแบบสเปนดนตรีเริ่มจากเบาที่สุด แต่ละท่อนไม่ยาวเกินไป ใช้สีสันของเสียงจากการเปลี่ยนเครื่องดนตรี ให้ความร้สู ึกค่อนข้างเยา้ ยวนและรอ้ นแรงในชว่ งท้าย

ยุคศตวรรษท่ี 20 ยคุ ศตวรรษท่ี 20 (The Twentieth Century) เรม่ิ จากปี ค.ศ. 1900 จนถึงปจั จุบัน ดนตรใี นยคุ นมี้ คี วามหลากหลายมาก เนื่องจากสภาพสงั คมทีเ่ ป็นอยู่ คตี กวีพยายามที่จะ สรา้ งองค์ความรู้ใหม่ขนึ้ มา มกี ารทดลองการใช้เสยี งแบบแปลกๆ การประสาน ทำนองเพลงมที ัง้ รปู แบบเดมิ และรูปแบบใหม่ คีต กวีเริ่มเบื่อและรู้สึกอึดอัดที่จะต้องแต่งเพลงไปตามกฎเกณฑ์ ที่ถูกบังคับ โดยระบบกุญแจหลักและบันไดเสียงเมเจอร์ และไม เนอร์ จึงพยายามหาทางออกต่างๆ กันไป มีการใช้เสียงประสานอย่างอิสระ ไม่เป็นไปตามกฎของดนตรี จัดลำดับคอร์ดทำตาม ความต้องการของตน ตามสีสันของเสียงที่ตนต้องการ ทำนองไม่มีแนวที่ชัดเจนรดั กุม เหมือนทำนองยุคคลาสสคิ หรือโรแมนติค ฟังเพลงเหมือนไม่มีกลุ่มเสียงหลัก ในครึ่งหลังของสมัยนี้ การดนตรีรุดหน้าไปอย่างไม่ลดละ นอกจ ากมีการฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ ทางดา้ นทฤษฎีแล้ว ยังมีการใช้เครื่องไฟฟา้ เขา้ มาประกอบด้วย เช่น มกี ารใชเ้ สยี งซ่ึงทำข้นึ โดยระบบไฟฟา้ เป็นสัญญาณเสียงใน ระบบอนาล็อกหรือดิจิตอล หรือใช้เทปอัดเสียงในส่ิงแวดล้อมต่างๆ มาเปิดร่วมกับดนตรีที่แสดงสดๆ บนเวที และเสียงอื่นๆ อีก มากยุคนี้จึงเปน็ สมัยของการทดลองและบุกเบกิ หลังจากดนตรีสมัยโรแมนติกผ่านไป ความเจริญในด้านต่าง ๆ ก็มีความสำคัญและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดมา ความ เจริญทางด้านการค้าความเจริญทางด้านเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ การขนส่ง การสื่อสาร ดาวเทียม หรือ แม้กระทั่งทางด้านคอมพิวเตอร์ ทำให้แนวความคิดทัศนคติของมนุษย์เราเปลี่ยนแปลงไปและแตกต่างจาก แนวคิดของคนใน สมัยก่อน ๆ จึงส่งผลให้ดนตรีมีการพัฒนาเกิดขึ้นหลายรูปแบบ คีตกวีทั้งหลายต่างก็ได้พยายามคิดวิธีการแต่งเพลง การสร้าง เสยี งใหม่ ๆ รวมถงึ รปู แบบการบรรเลงดนตรี เป็นต้น จากขา้ งตน้ นี้จึงส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาเปลีย่ นแปลงรปู แบบของดน ตรีในสมยั ศตวรรษที่ 20 ความเปลี่ยนแปลงในทางดนตรีของคีตกวีในศตวรรษน้ีก็คือ คีตกวีมีความคิดที่จะทดลองสิ่งใหม่ ๆ แสวงหาทฤษฎีใหม่ ๆ ขึ้นมา เพื่อรองรับความคดิ สรา้ งสรรค์กบั ส่งิ ใหม่ ๆ ให้กบั ตัวเอง ดนตรีในศตวรรษที่ 20 นี้ กล่าวได้ว่าเป็นลักษณะของดนตรีที่มีหลายรูปแบบนอกจากนี้ยงั มีกา รใช้บันไดเสียงมากกว่า 1 บันได เสียงในขณะเดียวกันที่เรียกว่า “โพลีโทนาลิตี้” (Polytonality) ในขณะที่การใช้บันไดเสียงแบบ 12 เสียง ที่เรียกว่า “อโทนา ลิต”้ี (Atonality) เพลงจำพวกน้ยี ังคงใช้เครือ่ งดนตรที ่มี ีมาแต่เดิมเป็นหลกั ในการบ รรเลง

ลกั ษณะของบทเพลงในสมยั ศตวรรษท่ี 20 ดนตรีในศตวรรษที่ 20 นี้ไม่อาจที่จะคาดคะเนได้มากนัก เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตามความเจริญก้าวหน้าทาง ดา้ นเทคโนโลยกี ารเลื่อนไหลทางวัฒนธรรม คนในโลกเริ่มใกลช้ ิดกันมากขน้ึ (Globalization) โดยใช้เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ หรือ อินเตอร์เนต็ (Internet) ในส่วนขององค์ประกอบทางดนตรีในศตวรรษนี้มีความซับซ้อนมากขึน้ มา ตรฐานของรปู แบบทใี่ ช้ในการ ประพันธแ์ ละการทำเสยี งประสานโดยยดึ แบ บแผนมาจากสมยั คลาสสกิ ได้มีการปรับปรุงเปลยี่ นแปลงและสร้างทฤษฎีขนึ้ มาใหม่ เพ่ือรองรั บ ดนตรีอีกลักษณะคือ บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นมาเพื่อบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีอีเลคโทรนิ ค ซึ่งเสียงเกิดขึ้นจากคลื่นความถี่จาก เครื่องอิเลคโทรนิค (Electronic) ส่งผลให้บทเพลงมีสีสันของเสียงแตกต่างออกไปจากเสียงเครื่องดนตร ีประเภทธรรมชาติ (Acoustic) ทมี่ ีอยู่ อยา่ งไรก็ตาม การจัดโครงสรา้ งของดนตรียังคงเนน้ ท่ีองค์ประกอบหลัก 4 ประการเหมอื นเดิม กลา่ วคือระดับ เสียงความดังคอ่ ยของเสียง ความส้นั ยาวของโนต้ และสีสันของเสียง ประวตั ิผู้ประพนั ธ์เพลง 1. อารโ์ นลด์ โชนเบิรก์ (Arnold Schoenberg,1874-1951) เกดิ ท่ีกรุงเวียนนาประเทศออสเตรยี เม่ือวันที่ 13 กนั ยายน 1874 ซ่ึงเป็นผูป้ ระพันธ์เพลงไวห้ ลายรปู แบบตามแนวความคดิ ในช่วง ปลายส มัยโรแมนติก โดยเริ่มต้นในฐานะผู้ที่เดินตามรอยของวากเนอร์ (Wagner) สเตราส์ (R.Strauss) มาห์เลอร์ (Mahler) และบราห์มส์ (Brahms) โชนเบิร์กได้ศึกษาดนตรีกับครูอย่างจริงจงั เพียงเครื่องไวโอลนิ เ ท่านั้น ส่วนเครื่องดนตรชี นิดอื่น ๆ เขา ใช้เวลาว่างในการฝึกหดั เล่นเอาเองท้ังนน้ั ไมไ่ ดเ้ รียนจากใครเลย แต่เขากส็ ามารถเลน่ ได้ดที กุ อย่าง สไตล์การแต่งเพลงของโชนเบิร์กเป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะตวั โดยเขาได้ริ เริ่มคิดการแต่งเพลงโดยใชแ้ นวคิดใหม่คือใช้ระบบทเว็ลฟ- โทน (Twelve Tone System) คือ การนำเสียงสูง – ต่ำทั้งหมด 12 เสียง มาเรียงกันเป็นลำดับที่แน่นอนโดยหลีกเลี่ยงไม่ให้มี เสียงหลัก (Tonic) ซึ่งหลักสำคญั คือ ทฤษฏีที่วา่ ด้วยเสรีภาพของเสียง และความสำคัญเท่าเทยี มกนั ของเสยี งทุกเสียง ในดนตรี (The Freedom of Musical Sound : The Atonality) อนั เป็นจุดเริม่ ต้น และเปน็ พืน้ ฐานท่สี ำคัญยิ่งของดนตรี “เซีย เรียล มิวสิก” (Serial Music) ซึ่งพัฒนาความคิดรวบยอดของมนุษย์ในปรัชญาดนตรีแห่งศตวรรษที่ 20 ให้ก้าวไกลควบคู่ไปกับ วทิ ยาการสมยั ใหม่

โชนเบิร์กใช้ “ระบบทเว็ลฟ - โทน” ในผลงานหมายเลขสุดท้ายของ Five Pieces for Piano ในปี 1923 และในท่อนที่ 4 ของ Serenade ในปีเดียวกัน ผลงานการประพันธ์ชิ้นแรกของโชนเบิร์กที่สร้างขึ้นด้วย “ระบบทเว็ลฟ - โทน” โดยตลอดคือ Suite for Piano ในปี 1924 ระบบ “ระบบทเวล็ ฟโทน” กลายเป็นเคร่อื งมอื การทำงานของโชนเบิร์กที่เขาใช้ด้วยความชำนาญอย่างน่าพิศวงและไม ่ซ้ำซากจำเจ นอกจากประสบความสำเร็จในด้านการ ต้อนรบั ของผ้ฟู ัง แล้วยังกอ่ ให้เกดิ ประโยชนก์ ารนำไปส่แู นวคิดความเข้าใจเร่อื งดนต รซี ึ่งแตกต่างไปจากเดิมท่ยี ดึ ถือกันมากว่า 300 ปี นอกจากผลงานด้านดนตรีแล้วโชนเบิร์กยังมีผลงานเขียนด้วย ได้แก่ “ทฤษฎีแห่งเสียงประสาน” (Harmonielehre) ในปี 1911 ซึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษ (Theory of Harmony) ในปี 1947 และยังเป็นอาจารย์สอนการประพันธ์ดนตรีในโรงเรียน และมหาวิทยาลยั หลาย ๆ แห่งถือว่ามคี ุณค่าตอ่ วงการดนตรตี อ่ ๆ มา ในบ้นั ปลายชีวติ ของโชนเบิร์กเปลยี่ นสัญชาติเป็นอเมริกันและใช้ช วี ิตอย่างเรียบง่ายจนถึงแก่กรรมในปี 1951 ขณะอายุได้ 77 ปี (ไพบลู ย์ กิจสวัสดิ์, 2535 : 260) 2. เบลา บารต์ อค (Bela Bartok, 1881-1945) เกิดวันที่ 25 มีนาคม 1881 ตำบล Nagyszentmiklos ประเทศ ฮังการี บิดาเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนกสิกรรมประจำตำบล มารดา เป็นครู ทั้งพ่อและแม่มีความสามารถทางด้านดนตรี แต่บาร์ตอคไม่มีโอกาสที่จะได้เรียนจากพ่อเนื่องจากพ่อถึงแก่กรร มเมื่อบาร์ตอคอายุได้ 8 ขวบ เพลงที่บาร์ตอคประพันธ์ขึ้นมีแนวการประพันธ์เพลงสมัยใหม่โดยใช้ เพลงพื้นเมืองของฮังการีและรูมาเนียเป็นวัตถุดิบเป็นส่วน ใหญ่ ซ่ึงท้ายทีส่ ุดทำให้เขามีกิตตศิ ัพทเ์ ล่อื งลอื ไปทั่วนานาชาตวิ ่า เปน็ ผรู้ อบร้ใู น ดนตรพี ้นื เมอื งอยา่ งดียิ่ง บาร์ตอคเป็นอีกผู้หนึ่งที่มีหลักการประพันธ์เพลงเป็นเอกลักษณ์ข องตนเองซึ่งทำให้มีชื่อเสียงในฐานะผู้ประพันธ์เพลงชั้นแนว หนา้ ผ ู้หน่งึ ในสมยั ศตวรรษท่ี 20 ผลงานของบาร์ตอคที่น่าสนใจมีมากมายได้แก่ โอเปร่า Duke Bluebeard’s Castle, บัลเลท์ The Miraculous Mandarin เปียโนคอนแชร์โต 3 บท ไวโอลินคอนแชร์โต 2 บท สตริงควอเตท 6 บทและดนตรีสำหรับเปียโนอีกมากมาย โดยเฉพาะชุด Mikrokosmos บทเพลงสำหรับฝึกเทคนิคการเลน่ เปยี โนกวา่ 150 บท

ชวี ิตในบนั้ ปลายของบาร์ตอคมีลกั ษณะเชน่ เดยี วกับโมสาร์ท และ ชเู บริ ์ท กลา่ วคอื มีชวี ิตความเป็นอยอู่ ย่างแรน้ แคน้ ยากจน ในปี 1944 บาร์ตอคต้องเผชิญกับโรคร้ายคือมะเร็งโลหิตแพทย์ยับยั้งได้ก็แต่ เพียงให้ยาและถ่ายเลือด จนกระทั่งเดือนกันยายน ปี 1945 ขณะท่กี ำลังประพนั ธ์เพลงวิโอลาคอนแชร์โตให้ วลิ เลียม พรมิ โรสอาการของโรครุนแรงขึ้นเร่ือย ๆ จนกระท่ังถึงข้ันต้องส่ง โรงพยาบาลจนในที่สุดก็สิ้นใจเมื่อเวลาเ กือบเที่ยงวันของวันที่ 26 กันยายน 1945 หลังจากการสิ้นชีวิตของบาร์ตอคไม่นานนัก ชอ่ื เสยี งของเขาก็ได้รั บการกล่าวขานในฐานะคีตกวเี อกของโลกผูห้ นึ่งแห่งดนตรสี มัยใหม่ 3. อกี อร์ สตราวนิ สกี (Igor Stravinky,1882-1971) ผู้ประพันธ์เพลงชาวรัสเซียโดยกำเนิด เกิดวันที่ 17 มิถุนายน1882 ที่เมือง โลโมโนซอบใกลก้ ับเมืองเซ็นต์ปีเตอร์สเบิร์กแล้วย้าย มาอยู่ในประ เทศฝร่ังเศส จากน้นั ยา้ ยมาตั้งรกรากทสี่ หรฐั อเมริกา พอ่ เป็นนักร้องโอเปร่าประจำเมืองเซน็ ต์ปีเตอร์สเบิร์กและหวัง ที ่จะได้เห็นลูกเรียนจบกฎหมายและทำงานราชการ ชีวิตในตอนเริ่มต้นของสตราวินสกีคล้ายกับไชคอฟสกี้ (Tchaikovsky) ตรงที่ได้เรียนเปียโนตัง้ แต่วัยเด็ก โดยที่บิดามารดาไม่ได้หวงั ให้เอาดีทางดนตรี ดังที่กล่าวข้างต้น เขาได้เรียนการประพันธ์ดนตรี กบั รมิ สก้ี คอรช์ าคอฟ (Rimsky - Korsakov) งานของสตราวินสกีมีหลายสไตล์เช่น Neo – Classic คำว่า “Neo” แปลว่า “ใหม่” งานสไตล์ “คลาสสิกใหม่” กล่าวคือ คลาสสิกที่คงแบบแผนการประพันธ์เดิมแต่มีทำนอง เสียงประสาน ฯลฯ สมัยใหม่ นอกจากนี้ก็มีสไตล์ อิมเพรสชั่นนิส (Impressionis) ซ่ึงมีหลกั การสอดคล้องกบั งานนามธรรม (Abstractionism) ทางจติ รกรรม

ผลงานแต่ละชิ้นของสตราวินสกีไม่มีซ้ำกันเลยแม้จะเป็นสไตล์เดียว กันก็ตาม เขาพยายามแทรกแนวคิดใหม่ ๆ ในการประสาน เสียง การใช้จังหวะลีลาแปลก ๆ และการเรียบเรียงแนวบรรเลงให้เกิดเสียงที่มีสีสรรอันประหลาดลึก ล้ำและเขาก็ทำงานด้วย ความเชอ่ื มั่นในตัวเองอยา่ งสมเหตสุ มผลมีผู ้กลา่ วในทำนองท่ีวา่ ทฤษฎีทผ่ี ิดของสตาวนิ สกีนนั้ เปน็ ทฤษฎที ่ีถู กต้อง เขาเองมีความ เช่อื วา่ เสยี งดนตรที กุ เสียงมีความบรสิ ทุ ธ์แิ ละมีคว ามสำคญั ในตัวมันเองเทา่ เทยี มกันหมดในทุกกรณี Image result for อกิ อร์ สตราวนิ สกี สตาวินสกีมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของวงการดนตรีก่อนเกิดสงคราม โลกคร้ังท่ี1ด้วยผลงานเพลงประกอบบัลเล่ท์ The Firebird, Petrushka, และ The Rite of Spring (Le sacre du Printemps)เป็นเพลงประกอบบัลเล่ย์เริ่มการประพันธ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1910 เขยี นไปเรอ่ื ย ๆ กระท่ังวันที่ 8 มนี าคม ค.ศ.1913 จงึ เขียนเสร็จใหน้ กั ดนตรฝี กึ ซอ้ ม แลว้ นำออกแสดงคร้งั แรกเมอื่ วันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1913 ณ The Theatre des Champs-Elysees กรุงปารีส โดยมีปิแอร์ มองตัว (Pierre Monteux) เป็นผู้ ควบคมุ การบรรเลง The Rite of Spring สรา้ งความตระหนกตกใจให้กับผู้ชมเปน็ อยา่ งมากเพราะเปน็ การล้มล้า งความคิดเกา่ ๆ ลงอยา่ งสน้ิ เชงิ บท เพลงใช้หลายบันไดเสียงในเวลาเดียวกัน ใช้จังหวะที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา นับเป็นการแหกคอก แม้ผู้ฟังในปารีสเองยังทนไม่ได้ เล่ากันว่ามีจลาจลย่อย ๆ เลยทีเดียวที่มีการบรรเลงดนตรีแหกคอกครั้งนั้น นอกจากนี้ยังมีเพลงที่ได้รับความนิยมได้แก่ Symphony in three movements, Ebony concerto (Rhapsody concerto), Ragtime, The Song of the nightingale,Piano – Rag – Music สตาวินสกีประพันธ์ดนตรีจนกระทั่งวาระสุดท้าย เขาสิ้นชีวิตด้วยโรคหัวใจวายเมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ1971 ที่เมืองนิวยอร์ค ประเทศสหรฐั อเมริกา รวมอายุได้ 89 ปี นบั ว่าเปน็ คีตกวี ท่ีอายุยนื มากคนหน่ึง เขา้ แจง้ ความประสงค์ก่อนตายว่าอยากให้ฝังศพ ของเขาไว้ใกล้ ๆ หลุมศพของดีอากีเล็ฟ ที่สุสานซานมีเช็ล (San Michele) ในเมืองเวนิส ประเทศอิตาลี ทางการอิตาลีให้มีการ จัดขบวนแหศ่ พไปตามคลองเมืองเวนิซมุ่งสู่สุ สานแหง่ นน้ั ซ่งึ มมี มุ หนึ่งเป็นสุสานสำหรบั คนรสั เซียโดยเฉพาะ (ไพบูลย์ กิจสวัสด์ิ, 2535 : 280) 4. อัลบาน เบิรก์ (Aban Berg, 1885 - 1935) นักประพันธ์เพลงชาวออสเตรยี เป็นลูกศิษย์ของโชนเบริ ์กและนำเอาหล ักการใช้บนั ไดเสียงแบบ 12 เสียง (Atonality) มาพัฒนา รูปแบบให้เป็นของตนเอง เพื่อต้องการพิสูจน์ให้เห็นว่าลักษณะบันไดเสียงแบบนี้สามารถนำม าใช้ในการประพันธ์เพลงให้มี ลักษณะเป็นดนตรีที่มีความไพเราะสวยง ามและเต็มไปด้วยอารมณ์ในปัจจุบัน เบิร์กเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ประพันธ์เพลงประเภท โอเปร่าและไวโอ ลินคอนแชรโ์ ต (ณรทุ ธ์ สุทธจิตต์,2535 : 180)

5. เซอร์ไก โปรโกเฟยี ฟ (Sergei Prokofiev, 1891-1953) นักประพันธ์เพลงชาวรัสเซียเกิดวันที่ 23 เมษายน 1891 ทางภาคใต้ของรัสเซีย เริ่มเรียนเปียโนจากมารดาตั้งแต่เด็ก ต่อจากนนั้ ไมน่ านนกั เขาก็สามารถประพนั ธ์ดนตรี ทั้งประเภทดนตรีบรรเลงและดนตรสี ำหรบั โอเปร่า (Opera) ต้ังแต่อายเุ พยี ง 9 ขวบ ประวัติการสร้างสรรค์ของเขาเร่ิมต้นตั้งแต่เยาว์วัย จึงไม่น่าแปลกใจเลยท่ีเขาเติบโตมาเป็นคตี กวีเอกคนหน่ึงของโลกคน เราอาจ เริ่มต้นดีได้ด้วยกันทั้งนั้น แต่น้อยคนที่จะยืนหยัดได้ตลอดรอดฝั่ง ด้วยเหตุนี้เองจึงเป็นความจริงที่ว่า “สิ่งที่พิสูจน์คุณค่าของคน ไม่ได้อยู่ที่ตอนเริ่มแต่ทว่าอยู่ที ่ตอนจบ” โปรโกเฟียฟ เป็นอีกบทพิสูจน์หนึ่งที่ทำให้ชนรุ่นหลังควรนำมาเป็นแบบอย่างทั ้งทาง ด้านความวิริยะอตุ สาหะ ในการฝกึ ฝนดนตรี ผลงานที่ประพันธ์ท่สี ำคัญทปี่ ระสบผลสำเร็จมากท่ีสุดจำนวนหนึ่งถ ูกเขยี นขน้ึ ซ่ึงรวมท้ังซมิ โฟนหี มายเลข 5 ประกอบด้วย นิทาน ดนตรี Peter and the Wolf บัลเลย์เรื่อง Romeo and Juliet และโอเปร่าเรื่อง War and Peace (ไพบูลย์ กิจสวัสด์ิ, 2535 :293) 6. พอล ฮนิ เดมิธ (Paul Hindemith, 1895-1963) ผู้ประพันธ์ เพลงและนักไวโอลิน วิโอลาชาวเยอรมัน ซึ่งต่อมาได้ย้ายมาตั้งรกรากที่สหรฐั อเมริกา หลังจากนาซีมีอำนาจในยุโรป ฮินเดมิธ ประพันธ์เพลงเด่นในลักษณะของดนตรีสำหรับชีวิตประจำวันมากกว่าดน ตรีศิลปะ ที่เรียกว่า “Gebrauchsumsik” ผลงานสองชิ้นของเขายังคงเป็นผลงานดีเด่นที่บรรเลงในการแสดงคอนเ สิร์ต คือ Symphonic Mathis der Maler ดัดแปลง จากโอเปรา่ ของฮินเดมิธเอง และ Symphonic Metamorphose on Themes of Wehse แนวการประพันธ์ของฮนิ เดมิธได้ยึด หลักการใช้บันไดเสียง 12 เสียง (Atonality) โดยไม่ละทิ้งระบบเสียงที่มีเสียงหลัก ซ่ึงฮินเดมิธถือว่าเป็นหลักสำคัญต่างไปจาก หลกั การของโชนเบิร์ก (ณรทุ ธ์ สทุ ธจิตต์,2535 :181) 7. จอร์จ เกิร์ชวิน (George Gershwin, 1898 - 1937) ผปู้ ระพันธแ์ ละนักเขียนเพลง ชาวอเมริกัน เกิดเมือ่ วันท่ี 26 กนั ยายน 1898 บดิ าเปน็ ชาวยวิ อพยพจากรัสเซีย เกิร์ชวินเริ่มอาชีพ เป็นนกั เขียนเพลง ในระหวา่ งปี 1920-1930 เพลงแรกของจอร์จ คือ Since I Found You ซึ่งไมเ่ คยตีพิมพ์มาก่อน จอร์จชื่นชม ผลงานของเออร์วิง เบอร์ลิน (Irving Berlin) ซึ่งเป็นนักประพันธ์เพลงป๊อปปูล่าสมัยนั้นเพลงที่มีชื่อเสียงเพ ลงแรกของเบอร์ลิน คอื Alexander’s Ragtime Band

ผลงานชิ้นเอกของเกิร์ชวินได้แก่ Rhapsody in Blue สำหรับเปียโนและวงออร์เคสตราหรือวงดนตรีประเภทแจ๊ส Cuban Overture สำหรบั วงออร์เคสตรา Concerto in F สำหรับเปยี โนและวงออร์เคสตรา Piano Preludes, Porgy and Bess (Folk opera), An American in Paris งานชิ้นแรกสำหรับเวทีบรอดเวย์คือ La La Lucille นอกจากน้ีแล้วผลงานเพลงของเกิร์ชวินถือ ไดว้ า่ มีอทิ ธิพลต่อคตี กว ี ในงานดนตรีประเภทท่เี รียกว่า “เซียเรียส มิวสิค” (Serious Music) และมีผลตอ่ ดนตรีแจส๊ (Jazz) การ ที่ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อวงการดนตรีอย่างกว้างขวางนี้แหละ ที่ทำให้เกิร์ชวิน และคีตกวีเอกอื่น ๆ เป็นผู้ที่ประวัติศาสตร์ ดนตรีไม่อาจตดั ชื่อของเขาทง้ิ ไปได้ เกิร์ชวินก็หนีไม่พ้นความตายเฉกเชนกับมนุษย์คนอื่น ๆ ทั่วไป เขาจากโลกไปเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ปี 1937 ด้วยโรคเนื้องอก ในสมอง วิทยุประกาศข่าวการมรณกรรมของเขาว่า “บุรุษผู้กล่าวว่าในหัวของเขามีเสียงดนตรีมากเกินกว่าที่เขาจะส ามารถ บันทกึ ลงบนกระดาษให้หมดได้ ไดถ้ งึ แกก่ รรมเสียแลว้ ในวนั นีท้ ฮ่ี อลลิว้ดู ” (ไพบลู ย์ กจิ สวัสด์ิ, 2535 : 300) 8.อารอน คอปแลนด์ (Aaron Copland, 1900-1991) ผปู้ ระพันธ์เพลงชาวอเมริกันซึ่งวัตถุดิบในการแต่งเพลงนำมาจากสั งคมของอเมริกนั เองไม่ว่าจะเป็นเพลงประเภทพื้นเมือง เพลง เต้นรำ ดนตรีแจ๊ส หรือเหตุการณอ์ ื่น ๆ ในสังคมอเมริกันผลงานเพลงของคอปแลนด์ประกอบดว้ ย ดนตรีบัลเลท์ Billy the Kid, Rode และAppalachian Spring เปน็ เพลงทน่ี ยิ มบรรเลงโดยไม่มีบัลเลท์ประกอบในระยะต่อ ๆ มา เพลงสำหรบั ออร์เคสตรา El Salon Mexico และ A Lincoln Portrait มีการบรรยายประกอบวงออร์เคสตรานอกจากนี้ยังแต่งเพลงประกอบภาพยน ต์อีก จำนวนหน่ึง 9. ดมิทรี ชอสตาโกวิช (Dmitri Shostakovich, 1906 - 1975) ผู้ประพันธ์เพลงชาวรัสเซีย เกิดที่เซ็นต์ปีเตอร์สเบิร์ก เมื่อวันที่ 25 กันยายน 1906 เข้าเรียนดนตรีในสถาบันดนตรีแห่ง เซ็นต์ปี เตอรส์ เบริ ก์ ขณะอายุ 13 ปี ได้เรยี นเปยี โนกบั Nikolaev ในผลงานของชอสตาโกวิชในระยะแรกมักถูกวิจารณ์อย่างรนุ แรงว่ายากแ ละก้าวล้ำสมัยเกินกว่าความเข้าใจของผู้ฟังที่จะรับได้ ไม่มีลักษณะของชาตินิยมอยู่ในผลงานและเขาเองก็ต้องทนทุกข์กับคำ ติเตียนอย่างหนักชอสตาโกวิชยึดหลักในการแต่งเพลงที่ ตอ้ งการสนอง ความตอ้ งการของตนเองโดยไม่ละทิ้งความต้องการของประเทศและประชาช นชาวรสั เซีย ผลงานดนตรีส่วนใหญ่ ของเขาที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกและประวัติ ศาสตร์ของรัสเซียต้องยกย่องเขาให้เป็นคีตกวีคนสำคัญทางดนตรีตะว ันตกใน ศตวรรษที่ 20 นี้ นอกจากนแ้ี ลว้ ทำนองเพลงทีส่ ำคญั ของเขาท่ีเขยี นใหก้ ับ ภาพยนต์เรอื่ ง Vstrechnyi ไดถ้ ูกนำมาใชเ้ ป็นบทเพลงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Hymn) ผลงานการประพันธ์ของชอสตาโกวิชที่เป็นผลงานขนาดใหญ่ คือ ซิมโฟนี 15 บท บางบทมีสาระเนื้อหาเกี่ยวกับการเมืองและ ความรักชาติ เช่น หมายเลข 7 Leningrad Symphony (ซ่ึงบางส่วนเขยี นข้ึนขณะท่ีเมืองเลนนิ กราดถูกล้อมในปี 1914 ระหว่าง สงครามโลกคร้ังที่ 2 และเพื่ออุทิศให้แด่ผูท้ ีต่ ่อสู้ป้องกนั เมอื งเลนินกราด) นอกจากนี้ยังมีเพลงประเภทคอนแชร์โตสำหรับเครื่อง

ดนตรี สตริงควอเตทดนตรสี ำหรบั เปยี โน และโอเปร่าเรอ่ื ง Lady Macbeth of Mt. Sensk District เขยี นขน้ึ จากงานวรรณกรรม ของ Leskov ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น Katerina Ismailova เป็นผลงานท่ีทำให้ชอสตาโกวิชพบกับความยุ่งยากทางการเมือง มี คนที่จะพยายามใช้คำพูดอธิบายลักษณะดนตรีของชอสตาโกวิช ส่วนใหญ่มักใช้คำว่า “รุนแรง”” เด็ดขาด” ”ชัดเจน”และ “เปิดเผยตรงไปตรงมา” ชอสตาโกวิช สิ้นชีวิตวันที่ 9 สิงหาคม 1975 นอกกรุงมอสโคว์เขาได้รับการนับถือว่าเป็นคีตกวีชาวรัสเซียที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัย เดยี วกัน 10. คาร์ลไฮนซ์ สตอคเฮาเซน (Karlheinz Stockhausen 1928 - ) ผู้ประพนั ธ์เพลงชาวเยอรมัน ซึ่งมคี วามเพ้อฝนั และการสร้างสรรค์เกี่ยวกับดนตรีอย่างมากทีส่ ุ ดผู้หนง่ึ ในศตวรรษท่ี 20 ส่วนหนึ่ง ของผลงานการประพันธ์ใช้หลักการของโชนเบิร์ก คือ การใช้บันไดเสียง 12 เสียง (Atonality) การใช้เครื่องดนตรีประเภทอิเลค โทรนิค และพัฒนาความคิดของผูฟ้ ังให้มสี ่วนในการทำความเข้าใจกบั ดนตรีด้ วยตนเอง (ณรทุ ธ์ สุทธจิตต์,2535 : 183) ผลงานของสตอคเฮาเซนประกอบดว้ ย - Gruppen สำหรับวงออร์เคสตรา 3 กลุ่ม - Zyklus สำหรับเครื่องประกอบจังหวะ - Kontelte สำหรับเสียงอีเลคโทรนิค เปียโน และเครื่องประกอบจังหวะ Hymnen เป็นดนตรีอีเลคโทรนิคโดยนำแนวทำนอง ของเพลงชาติประเทศต่าง ๆ มาเป็นวัตถุดิบและ Stimmung สำหรบั เคร่อื งอีเลคโทรนิค 6 เคร่ือง สตอกเฮาเซนเป็นผู้ประพนั ธ์เพลงคนแรกท่พี ิมพโ์ นต้ เพลงอเี ลคโทรนิ คในรปู แบบของ แผนภูมิ นอกจากเปน็ ผู้ประพันธ์แล้วเขายัง เปน็ ครูสอนแนวคิดทางดนตรีทีเ่ ป ็นของตนเองดว้ ย 11. ฟลิ ปิ กลาส (Philip Glass, 1937-) ผู้ประพันธ์เพลง ชาวอเมริกนั ผูซ้ ึ่งในระยะแรกยึดหลักการแตง่ แบบมาตรฐานทีใ่ ช้กนั มาในสมัยต่าง ๆ หลังจากไปศึกษาเพิม่ เติม ด้านดนตรีในปารสี แนวคิดของกลาสเริม่ เปล่ียนไปในทางสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ที่ต่างไปจากรูปแบบมาตรฐาน อย่างไรก็ตาม กลาสเลิกจริงจังกับการประพันธ์เพลงไปพักใหญ่ โดยเปลี่ยนไปประกอบอาชีพเป็นคนขับรถแท็กซี่ ช่างไม้ และช่างประปา จนกระทั่งไปพบกับ ผู้ประพนั ธ์เพลงแนวเดียวกันอีกครง้ั หนงึ่ กลาสจึงต้ังวงดนตรีท่ี ประกอบดว้ ย ออรแ์ กนอีเลคโทรนคิ 2 ตัว ซ่ึง กลาสเล่นเอง 1 ตัว ผู้เล่นเครื่องเป่า 4 คน และนักร้องหญิง 1 คน ซึ่งมิได้ถือเป็นการร้องเพลงแต่ทำหน้าที่เป็นเสมือนเครื่อง ดนตร ชี ้ินหนึ่ง วงดนตรีนเี้ ลน่ เพลงท่กี ลาสประพนั ธ์เอง ซง่ึ ระยะแรกไมม่ ผี สู้ นใจฟงั สักเทา่ ไร แต่เมือ่ เวลาผ่านไปผู้ฟังเรมิ่ สนใจและ ติดตามผลงานของกลาสมากขึ้ น

หลักการทก่ี ลาสใช้ในการประพันธเ์ พลง คือ การบรรเลงแนวทำนองหน่ึงซ้ำ ๆ กัน และเร่มิ บรรเลงแนวทำนองต่อไป ซึ่งพัฒนามา จากทำนองเดมิ โดยเพ่ิมตวั โนต้ เขา้ ไปทลี ะ 2 ตัว และทำเชน่ นเี้ รื่อย ๆ ไปจนในที่สุดแนวทำนองเดิมจะกลายเป็นแนวทำนองใหม่ท่ี มีความยาวมา กถงึ กบั มีตวั โน้ต 210 ตวั จากดัง้ เดิมมี 8 ตวั ผลงานของกลาสมีมากมายหลายประเภททั้งโอเปร่า ดนตรีบรรเลงในแนวอีเลคโทรนิค เช่น Music Fifth, Music in Twelve Parts, Music with Changing Parts และโอเปรา่ Einstein on the Beach และ Satyagrapha เปน็ ต้น กลาสสนใจศึกษาดนตรีของชนชาติและเผ่าต่าง ๆ ทั่วโลกและนำมาเป็นวัตถุดิบในการประพันธ์เพลง ผลงานของกลาสเป็นอีก สมัยหนึ่งของดนตรที ีเ่ ปล่ียนแปลงไปตามความค ดิ สรา้ งสรรคข์ องกลาสผู้ประพันธ์ที่ไม่หยุดอยู่กับที่ ผู้ซึ่งต้องการเสนอผลงานใน อีกรปู แบบหนึง่ ซ่ึงผฟู้ ังมสี ่วนรว่ มในการตัดสนิ ใจวา่ ความหมายท่แี ทจ้ รงิ ของดนต รอี ยทู่ ี่ใดแน่(ณรทุ ธ์ สุทธจิตต์,2535 :184)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook