Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 7 - ปราชญวศิน 3105 ออกแบบภายในปี3 สมทบ

บทที่ 7 - ปราชญวศิน 3105 ออกแบบภายในปี3 สมทบ

Published by Mr. N, 2022-08-03 17:04:23

Description: บทที่ 7 - ปราชญวศิน 3105 ออกแบบภายในปี3 สมทบ

Search

Read the Text Version

วชิ า อนิ เทอร์เน็ตและพาณชิ ย์อเิ ลค็ ทรอนิคพืนฐาน นายปราชญวศิน นิลสุข รหสั นกั ศึกษา 4631071143105 ออกแบบภายในชนั ปี ที 3 ภาคสมทบ บทที 5 เรืองประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ อภปิ รายและตอบค าถามในหัวข้อดงั ต่อไปนี 1. จงบอกประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ตอบ การจาํ แนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่ 3 วธิ ี 1.1 ใชข้ นาดกายภาพทางภูมิศาสตร์ของเครือข่ายเป็นเกณฑ์ แบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท ดงั นี 1.1.1 เครือข่ายทอ้ งถิน (LAN: Local Area Network) 1.1.2 เครือข่ายในเขตเมือง (MAN: Metropolitan Area Network) 1.1.3 เครือข่ายบริเวณกวา้ ง (WAN: Wide Area Network) 1.2 ใชล้ กั ษณะหนา้ ทีการทาํ งานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเป็นเกณฑ์ สามารถ แบ่งได้ เป็น 2 ประเภทดงั นี 1.2.1 เครือข่ายแบบเท่าเทียม (Peer-to-Peer Network) 1.2.2 เครือข่ายแบบผใู้ ชบ้ ริการและผใู้ หบ้ ริการ (Client-Server Network) 1.3 ใชร้ ะดบั ความปลอดภยั ของขอ้ มูลเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งไดด้ งั นี คือ 1.3.1 เครือข่ายสาธารณะ (Internet) 1.3.2 เครือข่ายส่วนบุคคล (Intranet) 1.3.3 เครือข่ายร่วม (Extranet) 2. ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์สามารถจาํ แนกได้กปี ระเภทอะไรบ้าง ตอบ จาํ แนกได้ 3 ประเภท .ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งตามขนาดกายภาพทางภูมิศาสตร์

.ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งตามหนา้ ทีของคอมพิวเตอร์ .ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งตามระดบั ความปลอดภยั ของขอ้ มูล .ประเภทเครือข่ายทใี ช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็ นเกณฑ์แบ่งเป็ นกี ประเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 1. เครือข่ายท้องถนิ (LAN: Local Area Network) เป็นรากฐาน ของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทวั ไปเป็นการเชือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกนั ทงั หมดโดย อาศยั สือกลาง มี การแบ่งแยกเครือข่ายออกเป็น 2 รูปแบบการเชือมโยงคือ การเชือมโยง ภายในพืนทีระยะใกล้ หรือ แลน (LAN) และการเชือมโยงระยะไกลหรือแวน (WAN) โดย การเชือมโยงเครือข่ายแบบ แลน มี 3 รูปแบบ (ส านกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยแี ห่งชาติ, 2554) คือ 1) แบบบัส (Bus) มีการรับส่งขอ้ มูลดว้ ยความเร็ว 10-100 MB/s จะ เชือม ต่อกนั บนสายสญั ญาณเสน้ เดียวกนั โดยจะมีอุปกรณ์ทีเรียกวา่ T-Connector เป็น ตวั แปลงสญั ญาณขอ้ มูลเพือน าเขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์และ Terminator ในการ ปิ ดหวั ทา้ ย ของสายในระบบเครือข่ายเพือดูดซบั ขอ้ มูลไม่ใหเ้ กิดการสะทอ้ นกลบั ของสญั ญาณ โทโปโลยี (Topology) แบบบสั ทุกโหนด ในเครือข่ายจะตอ้ งเชือม โยงเขา้ กบั สายสือสาร หลกั ทีเรียกวา่ BUS หรือ Backbone โหนดจะตอ้ งรอให้ บสั วา่ งก่อนทีจะส่งขอ้ มูลได้ เนืองจากมีสายสือสารหลกั พ ียงสายเดียว มิฉะนนั จะเกิดการชนกนั ในกรณีทีมีขอ้ มูลวงิ ใน บสั โหนดแต่ละโหนดจะตอ้ งตรวจ สอบวา่ เป็นขอ้ มูลของตนเองหรือไม่ หากไม่ใช่กจ็ ะไม่ สนใจ แต่ถา้ ใช่กจ็ ะรับ ขอ้ มูลเขา้ ไป 2) แบบริง (Ring) เป็นระบบทีมีการส่งขอ้ มูลไปในทิศทางเดียวกนั โดย จะมีเครือง Server หรือ Switch ในการปล่อย Token เพือตรวจสอบวา่ มีเครือง คอมพิวเตอร์ใดตอ้ งการส่งขอ้ มูลหรือไม่และระหวา่ งการส่งขอ้ มูลเครือง คอมพิวเตอร์อืนๆที ตอ้ งการส่งขอ้ มูลจะตอ้ งท าการรอใหข้ อ้ มูลก่อนหนา้ นนั ถูก

ส่งใหส้ าเร็จเสียก่อน (Topology) แบบวงแหวน ขอ้ มูลข่าวสารจะไหลวนอยใู่ น เครือข่ายไปในทิศทางเหมือนวง แหวน แต่ละโหนดจะรับแพก็ เกจขอ้ มูล (Token) ทีไหลผา่ นมาและตรวจสอบวา่ เป็นขอ้ มูล ทีส่งมาใหต้ นหรือไม่ ถา้ ใชก้ ็ จะคดั ลอกขอ้ มูลนนั เกบ็ ไว้ แต่ถา้ ไม่ใช่กจ็ ะปล่อยขอ้ มูลนนั ไปยงั โหนดถดั ไป 3) แบบสตาร์ (Star) เป็นระบบทีมีเป็นการต่อแบบรวมศูนย์ โดยเครือง คอมพิวเตอร์ทุกเครืองจะต่อสายเขา้ ไปทีอุปกรณ์ทีเรียกวา่ Hub หรือ Switch โดย อุปกรณ์ ทีเรียกวา่ Hub หรือ Switch จะท าหนา้ ทีเปรียบศูนยก์ ลางทีท าหนา้ ที กระจายขอ้ มูล โดย ขอ้ ดีของการต่อในรูปแบบนีคือ หากสายสญั ญาณเกิดขาดใน คอมพิวเตอร์เครืองใดเครือง หนึง เครืองคอมพิวเตอร์อืนๆจะสามารถใชง้ านได้ ปรกติ แต่หากศูนยก์ ลางคือ Hub หรือSwitch เกิดเสียจะทาํ ใหร้ ะบบทงั ระบบไม่ สามารถท างานไดท้ งั ระบบ โทโปโลยี (Topology) แบบรูปดาว เป็นการเชือม โยงการติดต่อสือสารทีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั รูปดาว มี ศูนยก์ ลางเรียกวา่ ฮบั เป็นจุด ผา่ นการติดต่อกนั ระหวา่ งทุกโหนดในเครือข่าย ศูนยก์ ลางจึง มีหนา้ ทีเป็นศูนย์ ควบคุมเสน้ ทางการสือสาร ทงั หมดภายในนอกจากนีศูนยก์ ลางยงั ท า หนา้ ทีเป็น ศูนยก์ ลางขอ้ มูลอีกดว้ ย การสือสารภายในเครือข่ายแบบSTAR จะเป็นแบบ 2 ทิศทางโดยจะ อนุญาตใหม้ ีเพียงโหนดเดียวเท่านนั ทีสามารถส่งขอ้ มูลเขา้ สู่เครือ ข่าย จึงไม่มีโอกาสที หลาย ๆ โหนด จะส่งขอ้ มูลเขา้ สู่เครือข่ายในเวลาเดียวกนั เพือป้องกนั การชนกนั ของ สญั ญาณขอ้ มูล เครือข่ายแบบ STAR เป็นโทโลยอี ีก แบบหนึงทีเป็นทีนิยมใชก้ นั ในปัจจุบนั 2. เครือข่ายในเขตเมือง (MAN: Metropolitan Area Network) คือ เครือข่าย คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มากจะมีขนาดครอบคลุมเมืองหรือบริเวณมหาวทิ ยาลยั ระบบ โครงสร้างพืนฐานโดยปกติแลว้ จะเป็นระบบไร้สายเช่นการใชค้ ลืนไมโครเวฟหรือใช้ ใย แกว้ น าแสง เป็นตวั เชือมต่อระหวา่ งสถานทีต่างๆเขา้ ดว้ ยกนั (ฝ่ ายต าราวชิ าการ คอมพิวเตอร์, 2558) ตวั อยา่ งการใชง้ านจริง เช่น ภายในมหาวทิ ยาลยั หรือในสถานศึกษา จะมีระบบแมนเพือเชือมต่อระบบแลนของแต่ละคณะวชิ าเขา้ ดว้ ยกนั เป็นเครือข่าย

เดียวกนั ในวงกวา้ ง เทคโนโลยที ีใชใ้ นเครือข่ายแมนไดแ้ ก่ ATM FDDI และ SMDS ระบบเครือข่าย แมนทีจะเกิดในอนาคตอนั ใกลค้ ือระบบทีจะเชือมต่อคอมพิวเตอร์ภายใน เมืองเขา้ ดว้ ยกนั โดยผา่ นเทคโนโลยี Wi-Max การส่งขอ้ มูลของเครือข่ายแมนจะขึนกบั ช่องทางการสือสาร ทีอาจมีความเร็ว ปานกลางจนถึงความเร็วสูง ระบบการส่งขอ้ มูลที ใชใ้ นเครือข่ายแมนนนั มีทงั แบบใช้ สายสญั ญาณและแบบไม่ใชส้ ายสญั ญาณ แต่จะใช้ คลืนไมโครเวฟหรือคลืนวทิ ยแุ ทนกไ็ ด้ 3. เครือข่ายบริเวณกว้าง (WAN: Wide Area Network) คือระบบ เครือข่ายที เชือมโยงเครือข่ายแบบทอ้ งถินตงั แต่ 2 เครือข่ายขึนไปเขา้ ดว้ ยกนั ผา่ น ระยะทางทีไกล มาก โดยการเชือมโยงจะผา่ นช่องทางการสือสารขอ้ มูลสาธารณะของ บริษทั โทรศพั ท์ หรือองคก์ ารโทรศพั ทข์ องประเทศต่างๆ เช่น สายโทรศพั ทแ์ บบอนาลอก สายแบบดิจิทลั ดาวเทียม ไมโครเวฟ เป็นตน้ .ประเภทเครือข่ายทใี ช้ลกั ษณะหน้าทกี ารทาํ งานของคอมพวิ เตอร์ในเครือข่ายเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้กปี ระเภท อะไรบ้างจงอธิบาย ตอบ สามารถแบ่ง ไดเ้ ป็น 6 ประเภท คือ 1. เครือข่ายแบบเพยี ร์ทูเพยี ร์ (Peer to Peer Network) เป็นการ เชือมต่อเครือง คอมพิวเตอร์เขา้ ดว้ ยกนั โดยเครืองคอมพิวเตอร์แต่ละเครืองจะสามารถแบ่ง ทรัพยากรต่างๆ ไม่ วา่ จะเป็นไฟลห์ รือเครืองพิมพซ์ ึงกนั และกนั ภายในเครือข่ายได้ เครือง แต่ละเครืองจะท างานใน ลกั ษณะทีทดั เทียมกนั ไม่มีเครืองใดเครืองเครืองหนึงเป็นเครือง หลกั เหมือนแบบ Client/Server แต่กย็ งั คงคุณสมบตั ิพืนฐานของระบบเครือข่ายไว้ เหมือนเดิม การเชือมต่อแบบนีมกั ท าใน ระบบทีมีขนาดเลก็ ๆ เช่น หน่วยงานขนาดเลก็ ทีมี เครืองใชไ้ ม่เกิน 10 เครือง การเชือมต่อแบบนี มีจุดอ่อนในเรืองของระบบรักษาความ ปลอดภยั แต่ถา้ เป็นเครือข่ายขนาดเลก็ และเป็นงานทีไม่มี ขอ้ มูลทีเป็นความลบั มากนกั เครือข่ายแบบนี กเ็ ป็นรูปแบบทีน่าเลือกน ามาใชไ้ ดเ้ ป็นอยา่ งดี

2. เครือข่ายแบบไคลเอนท์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server Network) เป็น ระบบทีมีเครือง คอมพิวเตอร์ทุกเครืองมีฐานะการท างานทีเหมือนๆ กนั เท่าเทียมกนั ภายในระบบเครือข่าย แต่ จะมีเครืองคอมพิวเตอร์เครืองหนึง ทีท าหนา้ ทีเป็นเครือง Server ทีท าหนา้ ทีใหบ้ ริการ ทรัพยากรต่างๆ ใหก้ บั เครือง Client หรือเครืองทีขอใช้ บริการ ซึงอาจจะตอ้ งเป็นเครืองทีมี ประสิทธิภาพทีค่อนขา้ งสูง ถึงจะท าใหก้ ารใหบ้ ริการมี ประสิทธิภาพตามไปดว้ ย ขอ้ ดีของ ระบบเครือข่าย Client - Server เป็นระบบทีมีการ รักษาความปลอดภยั สูงกวา่ ระบบแบบ Peer To Peer เพราะวา่ การจดั การในดา้ นรักษา ความปลอดภยั นนั จะท ากนั บนเครือง Server เพียง เครืองเดียว ท าใหด้ ูแลรักษาง่าย และ สะดวก มีการก าหนดสิทธิการเขา้ ใชท้ รัพยากรต่างๆ ให้ กบั เครืองผขู้ อใชบ้ ริการ หรือเครือง Client 3. ประเภทของเซิร์ฟเวอร์ทใี ห้บริการต่าง ๆ เครืองศูนย์บริการข้อมูล โดยมกั เรียกวา่ เครืองเซิร์ฟเวอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ทีท าหนา้ ทีบริการทรัพยากรใหก้ บั เครือง ลูกข่ายบนเครือข่าย เช่น บริการไฟล์ (File Server) การบริการงานพิมพ์ (Print Server) เป็นตน้ เครืองเซิร์ฟเวอร์อาจ เป็นคอมพิวเตอร์ระดบั เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ หรือ ไมโครคอมพิวเตอร์กไ็ ด้ โดย คอมพิวเตอร์ทีออกแบบมาเพือใชง้ านเป็นเซิร์ฟเวอร์นีมกั จะมี สมรรถนะสูง รวมถึงถูกออกแบบ มาเพือรองรับความทนทานต่อความผดิ พลาด (Fault Tolerance) เนืองจากตอ้ งท างานหนกั หรือ ตอ้ งรองรับงานตลอด 24 ชวั โมง ดงั นนั เครือง เซิร์ฟเวอร์จึงมีราคาทีสูงมากเมือเทียบกบั คอมพิวเตอร์ทีใชง้ านทวั ๆ ไป ส าหรับการท างาน ของเครืองเซิร์ฟเวอร์นนั อาจมีไดห้ ลาย ลกั ษณะ แลว้ แต่ความเหมาะสมในการท างาน ดงั ตวั อยา่ งต่อไปนี 4. File Server ลกั ษณะการท างานแบบนี เซิร์ฟเวอร์จะเป็นผจู้ ดั การ ระบบไฟล์ บนดิสก์ ในเครืองของตนเอง โดยรับค าสงั จากเวริ ์กสเตชนั หรือ Client อีกทอด หนึงวา่ จะอ่านหรือ บนั ทึกขอ้ มูลกบั ไฟลใ์ ด แลว้ จึงจดั การกบั ไฟลใ์ นดิสกห์ รือส่งขอ้ มูล กลบั ไปตามทีถูกขอมา แต่ ถา้ ในเวลาเดียวกนั มีผใู้ ชห้ ลายคนพยายามจะแกไ้ ขขอ้ มูลชุด เดียวกนั ระบบปฏิบตั ิการของไฟล์ เซิร์ฟเวอร์กจ็ ะตอ้ งป้องกนั ขอ้ มูลไม่ใหถ้ ูกแกไ้ ขโดยผใู้ ช้ หลายคนพร้อมๆ กนั หรือเรียกวา่ การ Lock คือขณะทีคนหนึงก าลงั แกไ้ ขขอ้ มูลอยตู่ วั หนึง อยู่ จะตอ้ ง Lock ขอ้ มูลนนั ไม่ใหค้ นอืนเขา้

มายงุ่ (เรียกดูไดแ้ ต่แกไ้ ขไม่ได)้ จนกวา่ จะเสร็จ คนอืนๆ ทีจะเขา้ มาแกไ้ ขตอ้ งคอยจนกวา่ คนแรก จะยกเลิกการ Lock ก่อน 5. Application Server/ Database Server เป็นการท างานที ซบั ซอ้ นกวา่ File Server อีกระดบั หนึง ตวั อยา่ งทีเราพบบ่อยๆ คือ Database Server หรือ SQL Server ซึงจะยา้ ยหนา้ ทีการ คน้ หาขอ้ มูลจากฐานขอ้ มูลหรือ Database มาไวท้ ี เซิร์ฟเวอร์เอง เช่น เมือเครือง Client ตอ้ งการ คน้ หาขอ้ มูลเรคอร์ดหนึงทีมีเงือนไขตรง ตามทีก าหนด แทนทีจะตอ้ งอ่านขอ้ มูลทุกเรคอร์ด (ทงั ไฟล)์ มาเปรียบเทียบ ซึงจะตอ้ งมี การส่งขอ้ มูลจ านวนมากผา่ นสาย LAN กเ็ ปลียนเป็นทางฝัง Client เพียงแค่ส่งชือไฟลแ์ ละ เงือนไขทีตอ้ งการคน้ หามาให้ Database Server คน้ หาแลว้ ส่งเฉ พาะเรคอร์ดทีตอ้ งการ กลบั ไป ซึงวธิ ีส่งเงือนไขใหค้ น้ หาขอ้ มูลมาที Database Server นีปัจจุบนั นิยมใชเ้ ป็นภาษา SQL (Structure Query Language) จึงมกั เรียก Database Server อีกอยา่ งหนึงวา่ SQL Server 6. Print Server เรียกว่าระบบ SPOOL (Simultaneous Peripheral Operation On-Line) ซึงจะช่วยใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถพิมพง์ านไดพ้ ร้อมกนั หลาย คน โดยเครือง Client สงั พิมพ์ งานจะส่งขอ้ มูลไปใหเ้ ครืองทีเป็นเซิร์ฟเวอร์ ซึงกจ็ ะรีบเอา ขอ้ มูลนนั เกบ็ ลงฮาร์ดดิสกไ์ วก้ ่อน จากนนั เมือมีเวลาวา่ งพอกจ็ ะทยอยเอาขอ้ มูลของแต่ละ คนทีส่งมาเขา้ คิวกนั ไวน้ นั ไปพิมพจ์ ริงๆ อีกทีหนึง 5. ประเภทเครือข่ายทใี ช้ระดบั ความปลอดภยั ของข้อมูลเป็ นเกณฑ์มอี ะไรบ้างจง อธิบาย ตอบ การแบ่งประเภทเครือข่ายตามระดบั ความปลอดภยั ของขอ้ มูล ซึงจะแบ่งออกได้ เป็น 3 ประเภทคือ อินเทอร์เน็ต (Internet) อินทราเน็ต (Intranet) และ เอก็ ส์ทราเน็ต (Extranet) 1. อนิ เทอร์เน็ต (Internet) เครือข่ายสาธารณะหรืออินเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายที ครอบคลุมทวั โลก ซึงมีคอมพิวเตอร์เป็นลา้ นๆ เครืองเชือมต่อเขา้ กบั ระบบและยงั ขยายตวั ขึน เรือยๆ ทุกปี อินเทอร์เน็ตมีผใู้ ชท้ วั โลกหลายร้อยลา้ นคน และผใู้ ชเ้ หล่านี สามารถแลกเปลียน ขอ้ มูลข่าวสารกนั ไดอ้ ยา่ งอิสระ โดยทีระยะทางและเวลาไม่เป็น อุปสรรค นอกจากนีผใู้ ชย้ งั

สามารถเขา้ ดูขอ้ มูลต่างๆ ทีถูกตีพิมพใ์ นอินเทอร์เน็ตได้ อินเทอร์เน็ตเชือมแหล่งขอ้ มูลต่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั ไม่วา่ จะเป็นองคก์ รธุรกิจ มหาวทิ ยาลยั หน่วยงานของรัฐบาล หรือแมก้ ระทงั แหล่งขอ้ มูล บุคคล องคก์ รธุรกิจหลายองคก์ รไดใ้ ช้ อินเทอร์เน็ตช่วยในการท าการคา้ เช่น การติดต่อซือขาย ผา่ นอินเทอร์เน็ตหรืออีคอมเมิร์ช (E-Commerce) ซึงเป็นอีกช่องทางหนึงส าหรับการทาํ ธุรกิจที กาํ ลงั เป็นทีนิยม เนืองจากมี ตน้ ทุนทีถูกกวา่ และมีฐานลูกคา้ ทีใหญ่มาก ส่วนขอ้ เสียของ อินเทอร์เน็ตคือ ความปลอดภยั ของขอ้ มูล เนืองจากทุกคนสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลทุกอยา่ งทีแลก เปลียนผา่ น อินเทอร์เน็ต ไดอ้ ินเทอร์เน็ตใชโ้ ปรโตคอลทีเรียกวา่ “TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol)” ในการสือสารขอ้ มูลผา่ นเครือข่าย ซึง โปรโตคอลนี เป็นผลจากโครงการหนึงของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการนีมีชือวา่ ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ในปี ค.ศ. 1975 จุดประสงคข์ องโครงการนีเพือ เชือมต่อคอมพิวเตอร์ทีอยหู่ ่างไกลกนั และภายหลงั จึงได้ ก าหนดใหเ้ ป็นโปรโตคอลมาตรฐาน ในเครือข่าย ในปัจจุบนั อินเทอร์เน็ตไดก้ ลายเป็น เครือข่ายสาธารณะ ซึงไม่มีผใู้ ดหรือองคก์ รใด องคก์ รหนึงเป็นเจา้ ของอยา่ งแทจ้ ริงการเชือมต่อเขา้ กบั อินเทอร์เน็ตตอ้ งเชือมต่อผา่ นองคก์ รที เรียกวา่ “ISP (Internet Service Provider)” ซึงจะทาํ หนา้ ทีใหบ้ ริการในการเชือมต่อเขา้ กบั อินเทอร์เน็ต นนั คือ ขอ้ มูลทุกอยา่ งทีส่งผา่ นเครือข่าย ทุกคนสามารถดูได้ นอกเสียจากจะมีการ เขา้ รหสั ลบั ซึงผใู้ ชต้ อ้ งทาํ เอง 2. อนิ ทราเน็ต (Intranet) เครือข่ายส่วนบุคคลหรือตรงกนั ขา้ มกบั อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคลทีใชเ้ ทคโนโลยอี ินเทอร์เน็ต เช่น เวบ็ อีเมล FTP เป็นตน้ อินทราเน็ตใชโ้ ปรโตคอล TCP/IP สาํ หรับการรับส่งขอ้ มูลเช่นเดียวกบั อินเทอร์เน็ต ซึง โปรโตคอลนีสามารถใชไ้ ดก้ บั ฮาร์ดแวร์หลายประเภท และสายสญั ญาณ หลายประเภท ฮาร์ดแวร์ทีใชส้ ร้างเครือข่ายไม่ใช่ปัจจยั หลกั ของอินทราเน็ต แต่เป็นซอฟตแ์ วร์ทีทาํ ใหอ้ ินทรา เน็ตท างานได้ อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายทีองคก์ รสร้างขึนสาํ หรับ ใหพ้ นกั งานขององคก์ รใช้ เท่านนั การแชร์ขอ้ มูลจะอยเู่ ฉพาะในอินทราเน็ตเท่านนั หรือถา้ มีการแลกเปลียนขอ้ มูลกบั โลก ภายนอกหรืออินเทอร์เน็ต องคก์ รนนั สามารถทีจะกาํ หนดนโยบายไดใ้ นขณะทีการแชร์ขอ้ มูล อินเทอร์เน็ตนนั ยงั ไม่มีองคก์ รใดทีสามารถควบคุมการแลกเปลียนขอ้ มูลได้ เมือเชือมต่อเขา้ กบั

อินเทอร์เน็ต พนกั งานบริษทั ของบริษทั สามารถติดต่อสือสารกบั โลกภายนอกเพือการคน้ หา ขอ้ มูล หรือทาํ ธุรกิจต่าง ๆ การใชโ้ ปรโตคอล TCP/IP ทาํ ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเขา้ ใชเ้ ครือข่ายจากที ห่างไกลได้ (Remote Access) เช่น จากที บา้ น หรือในเวลาทีตอ้ งเดินทางเพือติดต่อธุรกิจ การ เชือมต่อเขา้ กบั อินทราเน็ต โดยการใช้ โมเดม็ และสายโทรศพั ท์ กเ็ หมือนกบั การเชือมต่อเขา้ กบั อินเทอร์เน็ต แต่แตกต่างกนั ทีเป็น การเชือมต่อเขา้ กบั เครือข่ายส่วนบุคคลแทนทีจะเป็น เครือข่าย สาธารณะอยา่ งเช่น อินเทอร์เน็ต การเชือมต่อกนั ไดร้ ะหวา่ งอินทราเน็ตกบั อินเทอร์เน็ตถือเป็น ประโยชนท์ ีสาํ คญั อยา่ งหนึง 3. เอก็ ส์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายร่วม หรือเอก็ ส์ทราเน็ต (Extranet) เป็นเครือข่ายกึง อินเทอร์เน็ตกึงอินทราเน็ต กล่าวคือ เอก็ ส์ทราเน็ต คือ เครือข่ายทีเชือมต่อระหวา่ งอินทราเน็ต ของสององคก์ ร ดงั นนั จะมีบางส่วนของเครือข่ายที เป็นเจา้ ของร่วมกนั ระหวา่ งสององคก์ รหรือ บริษทั การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จ ากดั ดว้ ย เทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายทีเกียวกบั การ รักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลทีทงั สอง องคก์ รจะตอ้ งตกลงกนั เช่น องคก์ รหนึงอาจจะอนุญาต ใหผ้ ใู้ ชข้ องอีกองคก์ รหนึงลอ็ กอิน เขา้ สู่ระบบอินทราเน็ตของตวั เองหรือไม่ เป็นตน้ การสร้าง เอก็ ส์ทราเน็ตจะเนน้ ทีระบบการ รักษาความปลอดภยั ขอ้ มูล รวมถึงการติดตงั ไฟลว์ อลลห์ รือ ระหวา่ งอินทราเน็ตและการ เขา้ รหสั ขอ้ มูลและ สิงทีส าคญั ทีสุดกค็ ือ นโยบายการรักษาความ ปลอดภยั ขอ้ มูลและการ บงั คบั ใช้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook