Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสรุปการดำเนินงานอาหารปลอดภัย 2564

รายงานสรุปการดำเนินงานอาหารปลอดภัย 2564

Published by เพชรา จิตรบรรจง, 2022-08-04 10:19:36

Description: รายงานสรุปการดำเนินงานอาหารปลอดภัย 2564

Search

Read the Text Version

โครงการวิจัยพัฒนาประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ช่ือโครงการวจิ ยั /ชุดโครงการ (ภาษาไทย) การพัฒนาการตรวจหาสารพันธุกรรมของเช้ือไวรัสโคโรนาสาย พันธุ์กลมุ่ อาการทางเดนิ หายใจเฉียบพลนั รนุ แรง 2 บนบรรจุภัณฑ์ อาหารและอาหารแชแ่ ข็ง (ภาษาองั กฤษ) Development of SARS-CoV-2 detection on food packaging and frozen foods ช่ือแผนบรู ณาการ (ภาษาไทย)…-………………………………………………………………………………………………………… (ภาษาอังกฤษ)…-………………………………………………………………………………………………………… ส่วน ก : ลกั ษณะโครงการวจิ ัย/ชุดโครงการวิจัย  ใหม่ (เรม่ิ ต้นปีที่ 1) ระยะเวลา 1 ปี - เดือน ปีนี้เป็นปีที่ 1 (ระยะเวลาดาเนนิ การวิจยั ไมเ่ กนิ 5 ปี)  ตอ่ เนื่อง ระยะเวลา ปี เดือน ปีนี้เป็นปีที่ 2 (ระยะเวลาดาเนนิ การวิจัยไมเ่ กนิ 5 ปี) ประเภทโครงการ  โครงการวิจยั เดีย่ ว  ชดุ โครงการวจิ ยั ประเภทงานวจิ ัย  พ้ืนฐาน (basic Research)  พฒั นาและประยุกต์ (Development)  วิจยั เชิงปฏิบัติการ (Operational Research)  วจิ ัยทางด้านคลินิก (Clinical Trial)  วจิ ยั ตอ่ ยอด (Translational research)  การขยายผลงานวจิ ยั (Implementation) ประเภทการใชง้ บประมาณ  จดั จา้ งหนว่ ยงานอื่นวจิ ัย  หน่วยงานดาเนนิ การวิจัยเอง สว่ น ข : องคป์ ระกอบในการจัดทา 1. ผู้รบั ผิดชอบ คานาหนา้ ชอื่ -สกลุ ตาแหนง่ หน่วยงาน สดั สว่ นการมี ในโครงการ ส่วนร่วม สานกั คณุ ภาพและความปลอดภัยอาหาร 30 นาย กรกช พรหมจันทร์ หวั หนา้ โครงการ สานกั คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร 20 สานักคณุ ภาพและความปลอดภัยอาหาร 20 นางสาว จาเรียง ปุญญะประสทิ ธิ์ ผูร้ ่วมวจิ ยั สานกั คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร 10 สานกั คุณภาพและความปลอดภยั อาหาร 10 นางสาว ณฐั กานต์ ตยิ ศวิ าพร ผ้รู ว่ มวจิ ยั สานกั คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร 10 นางสาว ชุติกาญจน์ ปราณบี ตุ ร ผู้ร่วมวิจยั นาย พงศธร ลม้ิ สวสั ด์ิ ผู้ร่วมวิจยั นางสาว วิราศิณี กา้ นบัวแก้ว ผรู้ ว่ มวจิ ยั 2. สาขาทีส่ อดคล้องกบั งานวิจยั 3. วทิ ยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพ 2.1 สาขาการวจิ ยั หลัก OECD 3.1 วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์และสขุ ภาพ : วิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาการวจิ ัยย่อย OECD วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดา้ นการวจิ ัย 100

2.2 สาขา ISCED 09 Health and welfare 091 Health 0914 Medical diagnostic and treatment technology 3. คาสาคญั (keyword) คาสาคัญ (TH) ไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุกลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง 2, โควิด-19, เรยี ลไทม์ อาร์ที พีซอี าร์, บรรจภุ ณั ฑ์อาหาร, อาหารแช่แข็ง คาสาคญั (EN) SARS-CoV-2, COVID-19, Real-time RT PCR, Food packaging, Frozen foods, 4. เป้าหมายการวิจยั พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยาในตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 บนบรรจุภัณฑอ์ าหาร และอาหารแชแ่ ขง็ ดว้ ยวิธี Real-time RT-PCR 5. ความสาคัญและท่มี าของปญั หาที่ทาการวิจัย โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19; COVID-19) ที่ถือว่าเป็นโรคอุบัติการณ์ใหม่ที่ทาให้เกิด การระบาดไปทั่วโลก รวมทงั้ ประเทศไทยด้วย องคก์ ารอนามยั โลกแนะนาใหใ้ ช้วธิ ี nucleic acid amplification tests (NAAT) เช่น เทคนิควิธี RT-PCR ในการตรวจยืนยันการติดเชื้อจากการหาสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 จากตัวอย่างที่เก็บจากทางเดินหายใจและน้าลาย เกิดการแพร่กระจายเช้ือไดง้ ่ายท้ังทางอากาศ และทางการสัมผัส ทาให้มีการระบาดในประเทศต่างๆ ที่มียอดผู้ติดเชื้อสะสมจานวนมาก ด้านอาหารและ บรรจุภัณฑ์อาหารยงั ไม่พบรายงานวา่ มีผู้ตดิ เชอื้ จากการบริโภคหรือรับประทานอาหารท่มี ีการปนเปอื้ นของเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไรก็ตามเม่ือมีข่าวว่าสาธารณรัฐประชาชนจีนตรวจพบการปนเป้ือนของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 บนบรรจุภัณฑ์และอาหารทะเลแช่แข็งนาเข้าจากประเทศต่างๆ นาไปสู่การยกเลิกสั่งซื้อสินค้า ดังกล่าว ส่งผลให้ผู้ประกอบธุรกิจอาหารแช่แข็งส่งออกของไทยจานวนมากมีความตื่นตัวในการตรวจสอบเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 จากอาหารแช่แข็งก่อนส่งออก ซึ่งการตรวจหาสารพันธุกรรมของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหารและบรรจุภัณฑ์อาหารมีข้อจากัดหลายประการ ในข้ันตอนการสกัดสารพันธุกรรมจากตัวอย่างท่ีมี ความแตกต่างจากตัวอย่างที่เก็บจากคนโดยตรง ดังน้ันคณะผู้วิจัยจึงพัฒนาวิธีการตรวจหาสารพันธุกรรม เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 บนบรรจุภณั ฑ์อาหารและอาหารแช่แข็ง เพื่อเปน็ การคุ้มครองผูบ้ ริโภคในประเทศและ ลดการกีดกันทางการค้าของผลติ ภัณฑ์อาหารสง่ ออกไปยงั ต่างประเทศอีกดว้ ย 6. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการวิจยั 6.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยาในตรวจหาสารพันธุกรรมของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหาร 6.2 เพื่อพัฒนาการตรวจหาสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 บนบรรจุภัณฑ์อาหาร และอาหาร แช่แขง็ 7. ขอบเขตของการวจิ ัย 7.1 การตรวจหาสารพนั ธกุ รรมเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 บนบรรจภุ ณั ฑอ์ าหาร และอาหารแช่แขง็ - ตัวอยา่ งบรรจภุ ัณฑอ์ าหาร - ตัวอย่างอาหารแช่แข็ง เช่น อาหารทะเล (ปลา กุ้ง ปลาหมึก เน้ือสัตว์) ผลไม้แช่แข็ง (ทุเรียน เบอรี่ มะม่วง/มังคุด) เปน็ ต้น - อ้างอิงการตรวจหาสารพนั ธกุ รรมไวรัสในอาหาร ตาม ISO 15216-2:2019 101

7.2 พัฒนาวิธีการตรวจสารพันธกุ รรมเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหาร ด้วยวิธี real-time RT-PCR - ชุดน้ายา DMSc COVID-19 real-time RT-PCR กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นหลักในการ วเิ คราะห์ - ปรบั ชุดไพรเมอร์ (primer) และโพรบ (probe) ที่มคี วามจาเพาะต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ให้มี ความรวดเร็วและสามารถตรวจไดห้ นึง่ หลอด (single tube) ในคร้ังเดียว 8. ทฤษฎี สมมุติฐาน และกรอบแนวคิดของโครงการวจิ ยั ทฤษฏี Real-time RT-PCR เป็นเทคนิคที่ถูกพัฒนามาจากการทา PCR แบบด้ังเดิม (conventional PCR) โดยใช้การติดฉลากด้วยสารเรืองแสงประเภท fluorochrome ทาให้สามารถวัดปริมาณของอาร์เอ็นเอ เป้าหมายตั้งต้นจากสิ่งต้องการตรวจวัดได้ โดยเปลี่ยนอาร์เอ็นเอของไวรัสให้เป็นดีเอ็นเอด้วย reverse transcription (RT) และเพิ่มจานวนดีเอ็นเอให้มากขึ้นได้ทันที โดยไม่จาเป็นต้องรอให้กระบวนการเสร็จส้ิน ก่อน วิธีการ real-time RT-PCR เป็นวิธีการหาปรมิ าณดีเอน็ เอท่เี พิ่มขนึ้ ในปฎิกิริยา PCR ในแตล่ ะรอบทาใหไ้ ด้ ค่าปริมาณดีเอ็นเอที่เพ่ิมจานวนจริงจากค่าของ exponential phase ท่ีได้จากการเร่ิมต้นของดีเอ็นเอ เป้าหมาย RNase P (Ribonuclease P) คือเป็นไรโบไซมชนิดท่ีไม่ใช้ส่วนหนึ่งของตัวเองเป็นซับสเตรต (intermolecular catalysis) RNase P ประกอบด้วย RNA และโปรตีน โดย RNA มีความสามารถในการเร่ง ปฏิกิริยา โดยองค์การอนามัยโลกใช้ ยนี RNase P เปน็ ตัวควบคมุ ภายใน (internal control) สาหรับตรวจหา เชื้อก่อโรคไข้หวัดใหญ่จากสิ่งส่งตรวจของคน ที่บ่งชี้ถึงคุณภาพของตัวอย่างส่ิงส่งตรวจและการเก็บตัวอย่างท่ี เหมาะสม Process control virus คือไวรัสหรืออ่ืนๆ ที่มีคุณสมบัติคล้ายกับไวรัส ที่ใช้เป็นตัวควบคุมในข้ันตอน การสกัดอาร์เอ็นเอของไวรัสเพื่อติดตามถึงประสิทธิภาพซ่ึงเป็นการควบคุมคุณภาพผลวิเคราะห์ (ตั้งแต่เร่ิมต้น การสกัดตัวอย่างจนถึงผลของ real-time RT-PCR) หากกรณีที่ผลการวิเคราะห์เป็นลบหมายถึงตัวอย่าง ทว่ี ิเคราะห์ไมม่ ีไวรัสเปา้ หมายจริงๆ มิใช่ผลลบปลอม และการควบคมุ ตัวยับยง้ั ปฏิกิริยา RT-PCR (control for RT-PCR inhibition) สมมตุ ฐิ าน 1. ข้ันตอนการเตรียมตัวอย่างตามวิธีอ้างอิง ISO 15216-2:2019 สามารถนามาปรับและใช้ตรวจหา สารพนั ธุกรรมเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ในอาหาร ดว้ ยวิธี real-time RT-PCR ได้ 2. การเปลย่ี นยนี เป้าหมาย RNase P ของคนเป็น Process control virus ท่ีใชเ้ ป็นตวั ควบคมุ ภายใน กรอบแนวคดิ คณะผู้วิจัยได้นาแนวคิดตรวจวิเคราะห์โดยใช้วิธวี ิเคราะห์ไวรสั โนโร และไวรสั ตับอักเสบ เอ ในอาหาร เป็นแนวทางเบ้ืองต้นตามวธิ ีอ้างอิง ISO 15216-2:2019 แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ไดแ้ ก่ ข้ันตอนแรก การสกัดไวรัส จากอาหาร โดยใช้วิธีการสกัดไวรัสจากพ้ืนผิวสัมผัส และผลไม้กลุ่ม soft fruit และเลือกใช้วิธีการป้าย (swab method) และวิธีการล้าง (rinse method) เนื่องจากหากมีการปนเปื้อนของสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในตัวอยา่ ง เช้อื ไวรสั น่าจะอยทู่ บ่ี ริเวณผิวของตวั อย่างจากผูต้ ดิ เชือ้ สัมผัส ขัน้ ตอนที่สอง การสกัดอารเ์ อ็น เอ โดยเลือกใช้ชุดสกัดท่ีมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับการประยุกต์ในการตรวจในตัวอย่างอาหาร และ ข้ันตอนที่สาม การตรวจสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ด้วยเทคนิค real-time RT-PCR เลือกใช้ DMSc COVID-19 Real-time RT-PCR Kit ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นเทคนิคอ้างอิงหลัก และ พัฒนาตอ่ ยอดเพื่อใหเ้ หมาะสมกับการตรวจพันธุกรรมของเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหาร 102

พัฒนาวิธีการตรวจสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหาร ด้วยวิธี real-time RT-PCR ที่มี ปรับชุดไพรเมอร์ (primer) และโพรบ (probe) ที่มีความจาเพาะต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้มีความรวดเร็ว และสามารถตรวจได้หน่ึงหลอดในคร้ังเดียว และเปลี่ยนยีนเป้าหมาย RNase P ที่ตัวควบคุมภายใน (internal control) ของคน เป็น Process control virus ตามวิธีอ้างอิง ISO 15216-2:2019 ที่ใช้ตรวจสอบตั้งแต่ ขั้นตอนการสกดั ตวั อยา่ งอาหาร จนถงึ ขนั้ ทดสอบดว้ ยเทคนคิ real-time RT-PCR 9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ที่เกยี่ วขอ้ ง ไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุกลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง 2 (Severe Acute Respiratory Syndrome Coronavirus 2: SARS-CoV-2) เป็นไวรัสติดต่อที่ทาให้เกิดการติดเช้ือทางเดินหายใจ ซึ่งเป็น สาเหตุของการระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19; COVID-19) ทีถ่ ือวา่ เป็นโรคอบุ ตั ิการณ์ใหม่ ที่ทาให้เกิดการระบาดไปทั่วโลก รวมท้ังประเทศไทยด้วย จากรายงานสถิติผู้ติดเช้ือประจาวันโดยองค์การ อนามัยโลก (World Health Organization; WHO) ข้อมูล ณ วันที่ 16 ตุลาคม 2563 พบยอดผู้ติดเชื้อสะสม 39,023,292 ราย และเสียชีวิต 1,099,586 ราย โดยที่พบผู้ติดเชื้อสะสมมากท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ ประเทศ สหรัฐอเมริกา ประเทศอินเดีย และประเทศบราซิล ตามลาดับ(1) ส่วนประเทศไทยพบผู้ติดเช้ือสะสมจานวน 3,673 ราย และเสียชีวติ 59 ราย(2) ไวรัสโคโรนา 2019 มีสารพันธุกรรมเป็นอาร์เอ็นเอสายเดี่ยว แบบบวก ขนาดยีโนมประมาณ 30กิโล เบส ประกอบด้วย ยนี open reading frame (ORF) 1a และ 1b ทถ่ี อดรหัส (encode) เป็น nonstructural protein (nsp) และส่วนท่ีถอดรหัสเป็น structural protein ได้แก่ ยีน S (spike) ยีน E (envelope) ยีน M (membrane) แ ล ะ ยี น N (nucleocapsid) จั ด อ ยู่ ใ น ก ลุ่ ม ยี นั ส Betacoronavirus แ ล ะ ใ น ก ลุ่ ม ย่ อ ย Sarbecovirus (lineage B) ร่วมกับเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุท่ีพบในค้างคาว (ref) และเป็นยีนัสเดียวกันกับ เชื้อก่อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome; MERS-CoV) ท่ีก่อโรค ระบบทางเดินหายใจ สามารถแพร่กระจายผ่านละอองฝอยของสารคัดหลั่งระบบทางเดินหายใจ และมรี ายงาน พบเชอื้ ในอจุ จาระของผ้ตู ิดเชอ้ื ด้วย(3, 4) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้พัฒนาชุดน้ายา DMSc COVID-19 real-time RT-PCR เพ่ือตรวจ วินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยตรวจยีนเป้าหมายของยีน RdRp ยีน N และยีน RNase P เม่ือทดสอบการเตรียมตัวอย่างสารพันธุกรรมด้วยวิธีให้ความร้อน (heat) และวิธีโดยตรงด้วยน้ายาย่อยสลาย เซลล์ (direct lysis) ชุดน้ายา DMSc COVID-19 real-time RT-PCR มีความไวและความจาเพาะสูงมากกว่า ร้อยละ 94 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสามารถใช้งานชุดน้ายาโดยตรง โดยไม่ผ่านกระบวนการสกัดสารพันธุกรรมท่ีมี ข้นั ตอนยุ่งยากได้(5) วันที่ 13 มิถนุ ายน 2563 สานักข่าวซีจีทีเอ็น รายงานวา่ รัฐบาลจนี ส่ังปิดตลาดสดซินฟาตี้ในกรุงปักก่ิง หลังจากพบว่าพนักงานหลายคนติดเชื้อโรคโควิด-19 และพบเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 บนเขียงสาหรับ แลป่ ลาแซลมอนท่ีนาเข้าจากต่างประเทศ(6) และต่อมาเมอื่ วันที่ 10 กรกฎาคม 2563 สานักขา่ ว South China Morning Post รายงานพบการปนเป้ือนของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 บนบรรจุภัณฑ์กุ้งแช่แข็งนาเข้าจาก ประเทศประเทศเอกวาดอร์ โดยเป็นการพบเชอ้ื ด้านนอกบรรจุภณั ฑ์ และผนังด้านในของตบู้ รรจุสินค้า ส่วนตัว ก้งุ และภายในผลิตภัณฑ์ไม่พบเชอื้ ทาให้ทางการจีนได้ส่งกุ้งแช่แข็งทตี่ รวจพบเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ไปทาลาย ท้ิงและสั่งระงับการนาเข้ากุ้งจากประเทศดังกล่าว(7) อย่างไรก็ตามองค์การอนามัยโลก และสานักงานอาหาร และยาของสหรัฐอเมริกา (U.S. Food and Drug Administration; FDA) แถลงว่า ไมม่ ีหลักฐานว่าโรคติดเชื้อ โควิด-19 สามารถแพร่ผ่านทางอาหารหรือบรรจุภัณฑ์อาหาร(8) จากการรายงานพบเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหารแช่แข็งและบรรจุภัณฑ์อาหาร ทาให้ภาครัฐที่เก่ียวข้องและผู้ประกอบธุรกิจอาหารแช่แข็งส่งออก 103

ของไทย มีความต่ืนตัวในการตรวจสอบเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหารแช่แข็งและบรรจุภัณฑ์อาหาร ก่อนส่งออกไปยงั ต่างประเทศ การตรวจวิเคราะหไ์ วรัสในอาหารด้วยเทคนิค real-time RT-PCR(9) มีขั้นตอนในการตรวจ 3 ขั้นตอน คือ ข้ันตอนแรกการสกัดไวรัสจากอาหาร โดยมีวิธีสกัดไวรัสจากพื้นผิวสัมผัส น้าดื่ม ผักและผลไม้กลุ่ม soft fruit และหอยสองฝา ท่ีมีข้ันตอนและวิธีการที่แตกต่างกันขึ้นกับชนิดตัวอย่าง ข้ันตอนท่ีสอง การสกัด อาร์เอ็นเอ และขั้นตอนท่ีสาม การตรวจไวรัสในอาหารด้วยด้วยเทคนิค real-time RT-PCR โดยจะมีการ ควบคุมคณุ ภาพภายในของผลตรวจวเิ คราะห์ด้วยการเติม process control virus ทเ่ี ตมิ ตงั้ แต่เริ่มต้นการสกัด ตวั อย่างจนถึงขั้น real-time RT-PCR หากกรณีท่ีผลการวิเคราะห์เป็นลบหมายถึงตวั อย่างทว่ี ิเคราะห์ไม่มีไวรัส เป้าหมายจริงๆ มิใช่ผลลบปลอม และการควบคุมตวั ยับยงั้ ปฏิกิรยิ า RT-PCR(control for RT-PCR inhibition) เอกสารอ้างองิ 1. World Health Organization. Coronavirus disease (COVID-19) Weekly Epidemiological Update and Weekly Operational Update. [online]. 2020. [cite 2020 Oct 19]. Available from: URL: https://www.who.int/publications/m/item/weekly-update-on-covid-19---16-october-2020 2. กระทรวงมหาดไทย (ศบค.มท.). ศูนย์บริการสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019. [อ อ น ไ ล น์ ] . 2563. [19 ตุ ล า ค ม 2563]. สื บ ค้ น จ า ก : http://www.moicovid.com/ 16/10/2020/uncategorized/1901/ 3. Canrong Wu et al. Analysis of therapeutic targets for SARS-CoV-2 and discovery of potential drugs by computational methods. Acta Pharmaceutica Sinica B 2020. 10(5):766-788. 4. Michelle L. Holshue et al. First case of 2019 novel coronavirus in the United States. N Engl J Med 2020. 382:929-936 5. พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ และคณะ. การพัฒนาชุดน้ายา DMSc COVID-19 Real-time RT-PCR ว กรมวิทย พ 2563. 62(3):143-154 6. CGTN. Beijing closes markets over new COVID-19 cases. 2020. [cite 2020 Oct 19]. Available from: URL: https://news.cgtn.com/news/2020-06-13/Beijing-Xinfadi-wholesale-market-closed- to-curb-coronavirus-RhoNZemXlK/index.html 7. Holly Chik. Coronavirus found on frozen shrimp packaging but risk from food low, China says. South China Morning Post. 2020. [cite 2020 Oct 19]. Available from: URL: https://www.scmp.com/news/china/society/article/3092717/frozen-shrimp-packaging-found- positive-coronavirus-risk-food 8. AFP. WHO says food safe from coronavirus. 2020. [cite 2020 Oct 19]. Available from: URL: https://health.economictimes.indiatimes.com/news/industry/who-says-food-safe-from- coronavirus/77536794 9. International Organization for Standardization, ISO 15216-2:2019 Microbiology of the food chain-Horizontal method for determination of hepatitis A virus and norovirus using real-time RT-PCR – Part 2: Method for detection 104

10. ระดบั ความพรอ้ มท่มี อี ยู่ในปจั จุบนั 10.1 ระดับความพรอ้ มทางเทคโนโลยี (Technology Readiness Level: TRL) (สาหรบั เป้าหมายท่ี 1, 2) TRL ณ ปัจจบุ นั 1. Basic principles observed and reported อธิบาย ความพร้อมด้านเคร่ืองมือและสถานท่ี เช่น เคร่ือง real-time PCR, ตู้ BSC class II, ห้องปฏิบัติการระดบั 2 เป็นต้น พร้อมในการตรวจหาสารพันธกุ รรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 บนบรรจุ ภัณฑ์อาหารและอาหารแช่แขง็ TRL เม่ืองานวิจัยเสร็จสิ้น 1. Basic principles observed and reported อธิบาย พร้อมเปิดบริการตรวจหาสารพันธุกรรมเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 บนบรรจุภัณฑ์อาหารและ อาหารแช่แข็ง 10.2 ระดับความพร้อมทางสงั คม (Societal Readiness Level: SRL) (สาหรบั เป้าหมายที่ 2) SRL ณ ปัจจบุ ัน 1. identifying problem and identifying societal readiness อธิบาย เป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมและตอบสนองด้านการตรวจเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดบั ประเทศ SRL เมอ่ื งานวจิ ัยเสร็จสิ้น 1. identifying problem and identifying societal readiness อธิบาย ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตรวจวิเคราะห์แก่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์และหน่วยงานที่ สนใจ 11. ศกั ยภาพองค์ความรูเ้ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมท่จี ะพัฒนา 11.1) ศักยภาพทางการตลาดของเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีจะพัฒนา สาหรบั เป้าหมายที่ 1 (หากระบุ เป็นตวั เลขได้ โปรดระบุ) 11.1.1) ขนาดและแนวโน้มของตลาด/โอกาสทางการตลาด การพัฒนาในระดับห้องปฏิบัติการ เพื่อขยายงานและถ่ายทอดองค์ความรู้แก่หน่วยงาน ที่สนใจ รวมทั้งเปิดให้บริการการตรวจหาสารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 บนบรรจุภัณฑ์ อาหาร และอาหารแช่แข็ง สนองต่อความต้องการของท้ังภาครัฐและเอกชน รวมถึงลดการกีดกัน ทางการค้ากรณอี าหารแชแ่ ขง็ สง่ ออกไปยังตา่ งประเทศ ท่ีต้องการผลรับรองการตรวจดว้ ย 11.1.2) ลกั ษณะเฉพาะ/ความใหมข่ องผลงานวิจัยทแี่ ตกต่างจากทมี่ ใี นปัจจบุ ัน เป็นเทคนิคท่ีประยุกต์ใช้ Process control virus จากงานไวรัสในอาหาร (ISO 15216- 2:2019) ซ่ึงต้องใช้เป็นตัวควบคุมภายในของข้ันตอนการทดสอบแทนยีน RNase P ของคน ท่ีแตกต่างจากในชุดน้ายา DMSc COVID-19 Real-time RT-PCR ที่ใช้งานปัจจุบัน และการ วิเคราะห์ไวรัสในอาหารแต่ละชนิดมคี วามแตกต่างกัน ในข้ันตอนของการสกัดสารพันธกุ รรมอาร์เอ็น เอ ดังน้ันจงึ ตอ้ งปรับวธิ กี ารสกดั ให้เหมาะสมกบั อาหารแต่ละชนิด 11.2) ผลกระทบของโครงการทมี่ ีต่อสังคม ในรูปแบบของการกระจายรายได้ (Income distribution) และการแก้ไขปญั หาของชุมชน สาหรับเปา้ หมายที่ 2 11.2.1) ความต้องการของชุมชน/ปญั หาของชุมชน ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานของรัฐเปิดบริการตรวจหาสารพันธุกรรมเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 บนบรรจุภัณฑ์อาหารและอาหารแช่แข็ง ดังนั้นจึงควรมีหน่วยงานที่มีความพร้อมและสามารถตอบสนอง ตอ่ ความต้องการของผู้ประกอบการหรือหน่วยงานรัฐ และกระจายองค์ความรู้ด้านการตรวจหาสารพันธุกรรม เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 บนบรรจุภัณฑอ์ าหารและอาหารแช่แข็งแก่ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ต่อไป 105

11.2.2) ผลกระทบที่เกิดจากงานวิจัยในรูปแบบของการลดผลกระทบทางลบ หรือขยายผลกระทบ ทางบวก (หากระบุเปน็ ตัวเลขได้ โปรดระบุ) ทาให้ลดการกีดกันทางการค้ากรณีผู้ประกอบการอาหารแช่แข็งส่งออกไปยังต่างประเทศ ที่ยังคงต้องการผลการตรวจสารพันธุกรรมเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในอาหาร และลดความเสียหาย ทางเศรษฐกจิ ดา้ นการสง่ ออกของประเทศ 12. วธิ กี ารดาเนินการวิจัย 12.1 ตวั อย่างศกึ ษา 12.1.1 ตัวอยา่ งบรรจภุ ัณฑ์อาหาร 12.1.2 ตัวอย่างอาหารแช่แข็ง เช่น อาหารทะเล (ปลา กุ้ง ปลาหมึก เนื้อสัตว)์ ผลไม้แช่แข็ง (ทุเรียน เบอร่ี มะม่วง/มังคุด) เป็นตน้ 12.2 การเตรยี มสารพนั ธกุ รรมอารเ์ อน็ เอ 12.2.1 การเตรยี มตัวอยา่ งบรรจภุ ณั ฑอ์ าหาร ทาการป้าย (swab) บนบรรจุภัณฑ์อาหาร แล้วจุ่มลงในสารละลาย PBS จากนั้นหักหรือตัด ด้าม swab ท้งิ แลว้ นาไปสกัดสารพันธุกรรมอารเ์ อน็ เอ 12.2.2 การเตรียมตัวอย่างอาหารแช่แข็ง เช่น อาหารทะเล (ปลา กุ้ง ปลาหมึก เนื้อสัตว์) ผลไม้ แชแ่ ข็ง (ทุเรยี น เบอรี่ มะมว่ ง/มงั คดุ ) เป็นตน้ ทาการล้าง (rinse) ตวั อยา่ งอาหารแช่แขง็ แลว้ ดาเนินการตาม ISO 15216-2:2019 ซ่งึ ขน้ึ อยู่ กับชนิดของอาหารทีน่ ามาเตรยี ม แลว้ นาไปสกัดสารพันธกุ รรมอาร์เอน็ เอ 12.2.3 การสกัดสารพันธกุ รรมอาร์เอ็นเอ นาตัวอย่างจากการเตรียมมาสกัดสารพันธุกรรมด้วยชุดน้ายาสกัด RNA extraction kit ตามคาแนะนาของชุดน้ายา แล้วนาอาร์เอ็นเอท่ีบริสุทธิ์เป็นต้นแบบสาหรับปฏิกิริยา real-time RT-PCR 12.3 การทดสอบความจาเพาะ ทดสอบความจาเพาะของ primer และ probe ท่ีจาเพาะต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยใช้สาร พันธุกรรมไวรัสในอาหาร ได้แก่ Norovirus (genogroup GI and GII), Hepatitis A, Rotavirus A และ แบคทีเรยี ทกี่ อ่ โรคในอาหาร เพ่ือทดสอบในระดับหอ้ งปฏบิ ัติการตรวจไวรสั ในอาหาร 12.4 Real-time RT PCR 12.4.1 ชุดน้ายา DMSc COVID-19 real-time RT-PCR เตรียมน้ายาทดสอบ และดาเนินการตามคาแนะนาของชุดน้ายาในข้ันตอนการทา real-time RT-PCR(5) ส่วน process control virus ให้ดาเนินการตามคาแนะนาของชุดน้ายาเช่นกัน โดยแยกการทาปฏิกิริยา real-time RT-PCR คนละหลอดกับการตรวจหาสารพันธุกรรม เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 12.4.2 ปรับชุด primer และ probe ทาการปรบั primer หรือ probe เพ่อื ให้สามารถใช้ยีนของ process control virus แทนยีน RNase P ที่สามารถทาปฏิกิริยา real-time RT-PCR ในหลอดเดียวกันได้ เพื่อลดขั้นตอน และระยะเวลาการทดสอบ 106

12.5 การประเมนิ ผลวิเคราะห์ การวิเคราะห์ผลพิจารณาจากกราฟโดยตัวอย่างที่ตรวจพบยีนเป้าหมายต้องเป็นกราฟลักษณะคล้าย รูปตัวเอส (S-curve) ร่วมกับการพิจารณาค่า Cycle threshold (Ct) โดยค่า Ct ต้องอยู่ในเกณฑ์ตามท่ี กาหนด คือ ยีน RdRp และยีน N ถ้าพบค่า Ct มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 42 รายงานผลเป็นบวก (detection) หากตรวจไมพ่ บสัญญาณของสารเรืองแสง หรอื ค่า Ct ไม่เป็นตามเกณฑ์จะรายงานผลเป็นลบ (not detection) ส่วน process control virus พบค่า Ct อยู่ระหว่าง 30-35 รายงานผล กรณีตรวจ ไม่พบสัญญาณของสารเรืองแสง ใหท้ ดสอบซ้าใหม่ท้ังหมด เพ่ือลดความผิดพลาดที่จะเกิดขน้ึ ตง้ั แต่ข้ันตอน การเริ่มสกัดตัวอย่าง 13. สถานท่ีทาการวิจยั ในประเทศ/ ชอ่ื ประเทศ/ พน้ื ทท่ี ่ีทาวจิ ัย ชอ่ื สถานที่ ต่างประเทศ จังหวัด หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร สานกั คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร ในประเทศ นนทบรุ ี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 14. ระยะเวลาการวจิ ยั ระยะเวลาโครงการ 1 ปี 0 เดอื น วันทเี่ ร่มิ ตน้ 1 ตลุ าคม 2563 วันที่สิ้นสดุ 30 กันยายน 2564 แผนการดาเนนิ งานวจิ ยั (ปีทเี่ ร่มิ ตน้ -ส้นิ สุด) ปี ร้อยละของ (งบประมา กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย กจิ กรรมใน ณ) . . . . ปีงบประมา ณ 2564 เตรียมความพร้อมด้านเคร่อื งมอื XX X 10 และสารเคมี ชุดน้ายา เขา้ ร่วมแผนทดสอบความชานาญ X X X 10 ตรวจหาสารพันธุกรรมเชื้อไวรสั X X X 10 โคโรนา 2019 บนบรรจภุ ณั ฑ์ อาหาร ด้วยวิธี Swab ตรวจหาสารพนั ธุกรรมเช้อื ไวรัส X X X 10 โคโรนา 2019 ในอาหารแชแ่ ข็ง (ทุเรยี น อาหารทะเล) ด้วยวธิ ี Rinse พฒั นาวธิ สี กัดสารพนั ธุกรรมเชอื้ ไวรัส XXXX 20 โคโรนา 2019 จากตัวอยา่ งอาหาร แชแ่ ขง็ อน่ื ๆ เปรยี บเทยี บชุดน้ายาตรวจหาสาร XX 10 พันธุกรรมเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ประเมนิ วิธีวเิ คราะห์ XXXX 20 สรุปผลและสง่ รายงานโครงการ XX 10 รวม 100 107

15. ผลผลิต ผลลพั ธ์ และผลกระทบจากงานวิจยั (Output/Outcome/Impact) หน่วยนบั ผลลพั ธท์ ่ี ผลกระทบ ต้นแบบ คาดว่า ที่คาดวา่ จานวนนับ จะไดร้ บั จะได้รบั ผลงานท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ รายละเอียดของผลผลิต ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 ปี 2568 รวม เร่อื ง เรื่อง - 4. ตน้ แบบผลติ ภณั ฑ์- การตรวจสาร 1 - - - -1 - ระดับห้องปฏิบตั กิ าร พนั ธุกรรมเชือ้ ไวรัส - โคโรนา 2019 บน บรรจุภณั ฑอ์ าหารและ อาหารแชแ่ ขง็ 25. บทความทาง ตีพมิ พผ์ ลงานใน - 1 - - -1 วิชาการ-วารสาร วารสารระดบั ชาติ TCI ระดบั ชาติ กล่มุ ที่ 1 28. การประชุม/สมั มนา นาเสนอผลงานในงาน 1 - - - - 1 ระดบั ชาต-ิ นาเสนอแบบ ประชุมวิชาการ/ โปสเตอร์ สัมมนาระดับชาติ แบบโปสเตอร์หรือ แบบปากเปล่า 16. สถานทีใ่ ชป้ ระโยชน์ ในประเทศ/ ช่อื ประเทศ/ ช่อื สถานท่ี ตา่ งประเทศ จังหวดั ในประเทศ นนทบรุ ี สานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในประเทศ - ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 17. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยหี รอื ผลการวจิ ัยสกู่ ลมุ่ เปา้ หมาย (ถ้ามี) กรณีแผนการดาเนินงานโครงการวิจัยแล้วเสร็จ ทางสานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร มีแผนการถ่ายทอดหรือเปิดฝึกอบรมให้ตัวแทนศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์แต่ละแห่งเข้าร่วม เพื่อนาความรู้ ที่ได้ไปพัฒนาห้องปฏิบัติการให้สามารถตรวจวิเคราะห์สารพันธุกรรมเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 บนบรรจุภัณฑ์ และอาหารแชแ่ ข็งได้ 18. การตรวจสอบทรัพย์สินทางปญั ญาหรือสิทธบิ ตั รท่ีเก่ียวข้อง  ไมม่ ีการตรวจสอบทรพั ย์สนิ ทางปัญญา และ/หรือ สทิ ธิบัตรทีเ่ กย่ี วข้อง  ตรวจสอบทรพั ยส์ ินทางปญั ญาแลว้ ไม่มที รัพย์สินทางปัญญา และ/หรอื สิทธิบตั รทีเ่ กย่ี วขอ้ ง  ตรวจสอบทรัพยส์ นิ ทางปัญญาแล้ว มีทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา และ/หรอื สทิ ธบิ ัตรทเี่ กี่ยวขอ้ ง รายละเอียดทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาที่เก่ยี วข้อง ชอ่ื ทรพั ย์สินทางปญั ญา ชือ่ ผปู้ ระดษิ ฐ์ ช่ือผูค้ รอบครองสิทธิ์ หมายเลขทรัพยส์ ินทาง ประเภททรพั ยส์ นิ - - - ปญั ญา ทางปัญญา - - - -- -- 108

19. มาตรฐานการวจิ ัย (ถ้าม)ี มกี ารใชส้ ตั ว์ทดลอง มีการวิจยั ในมนษุ ย์ มีการวิจัยท่เี กี่ยวขอ้ งกบั งานดา้ นเทคโนโลยีชวี ภาพสมัยใหม่ มีการใช้ห้องปฏิบัติการทีเ่ กยี่ วกบั สารเคมี 20. หน่วยงานร่วมลงทุน รว่ มวิจัย รับจา้ งวิจยั หรอื Matching Fund ประเภท ชื่อหน่วยงาน/บริษัท แนวทางรว่ มดาเนนิ การ การรว่ มลงทนุ จานวนเงิน (In cash (บาท)) ภาคการศึกษา - - ไมร่ ะบุ - (มหาวทิ ยาลยั / สถาบนั วิจัย) ภาคอุตสาหกรรม (รฐั วสิ าหกจิ / - - ไม่ระบุ - บริษทั เอกชน) *กรณีมีการลงทนุ ร่วมกับภาคเอกชน ใหจ้ ดั ทาหนงั สอื แสดงเจตนาการรว่ มทุนวิจยั พฒั นาประกอบการเสนอขอ 109

แบบฟอร์มรายละเอยี ดข้อเสนอโครงการบรู ณาการเฝ้าระวงั เตือนภัยสขุ ภาพ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ชอ่ื โครงการ โครงการการประเมนิ ความเส่ียงของการปลอมปนปลาปักเปา้ โดยการตรวจเครื่องหมายโมเลกุล จาเพาะ การปนเปื้อนสารพิษเตโตรโดท็อกซนิ และจลุ ินทรีย์ที่ทาใหเ้ กิดโรคในอาหารแปรรูปทีผ่ ลิตจากปลา (ภาษาอังกฤษ) Preliminary risk assessment of tetrodotoxin, pathogens and adulterated puffer fish in food products derived from fish by identification of specific molecular marker gene  โครงการใหม่  โครงการตอ่ เนื่อง (หากเป็นโครงการตอ่ เน่ืองโปรดแนบผลการดาเนนิ โครงการปีทีผ่ ่านมา ตามแบบรายงาน ความกา้ วหนา้ แผนงานวิจยั /โครงการวจิ ยั และ โครงการเฝ้าระวัง เตอื นภัยสขุ ภาพ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปงี บประมาณ 0600 FM 0117 ) ระยะเวลาตลอดโครงการ........1…....ปี เริ่มปงี บประมาณ พ.ศ......2564.....สน้ิ สดุ ปงี บประมาณ พ.ศ....2564.... ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ ชอื่ -สกุล ตาแหนง่ หนว่ ยงาน ตาแหน่งใน สดั สว่ นการ โครงการ มีสว่ นรว่ ม นางปวณี า พานิชกุล นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยช์ านาญการ สคอ. หัวหนา้ โครงการ สคอ. ผรู้ ว่ มโครงการ 20 นางสาวชุตนิ นั ท์ พมุ ดวง นกั วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ปฏิบตั กิ าร สคอ. ผู้ร่วมโครงการ 15 สคอ. ผู้ร่วมโครงการ 15 นางสาวสวนนั ท์ ทองหยู นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัตกิ าร สคอ. ผู้รว่ มโครงการ 15 ศวก. ท่ี 5 15 นางสาวพนาวลั ย์ กลงึ กลางดอน นักวิทยาศาสตรก์ ารแพทยช์ านาญการพเิ ศษ สมุทรสงคราม ผรู้ ่วมโครงการ ศวก. ท่ี 5 10 นางสาวสธุ ริ า ฤทธิเสน นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ปฏบิ ตั กิ าร สมทุ รสงคราม ผ้รู ่วมโครงการ 10 นางสาววชริ าภา เขยี วรอด นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการ นางพัชรยี ์ จติ พิทักษ์ชยั นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการ ความสาคัญ/ความจาเปน็ /ท่ีมาของโครงการ ปลาปักเป้ามีท้ังสายพันธ์ุท่ีมีพิษและไม่มีพิษ ปริมาณท่ีจับได้มีมาก จึงถูกนามาใช้เป็นอาหาร เพราะ มีราคาถูก มีลักษณะคล้ายเน้ือไก่ จึงมีการจับและนามาจาหน่ายให้กับโรงงาน ร้านอาหารและตลาดสด ปลาปักเป้าที่มีมากในน่านน้าทะเลของประเทศไทย คือ Lagocephalus lunaris (LL) และ Lagocephalus spadiceus (LS) เน่ืองจากมีผู้ป่วยจากการบริโภคปลาปักเป้าท่ีมีสารพิษเตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin: TTX) แล้วมอี ันตรายถึงชีวิต จึงมีประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี 264) พ.ศ. 2545 เรื่อง กาหนดอาหาร ท่ีห้ามผลิต นาเข้า หรือจาหน่าย “ให้ปลาปักเป้าทุกชนิดและอาหารท่ีมีเน้ือปลาปักเป้าเป็นส่วนผสม เป็นอาหารที่ห้ามผลิต นาเข้า หรือจาหน่าย” ซ่ึงปลาปักเป้าชนิดที่มีพิษมาก คือ L. lunaris ส่วนชนิด L. spadiceus จะพบสารพิษต่าถึงไม่มีพิษ ท้ังนี้ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายในการรับรองปลาปักเป้าให้เป็น อาหารได้ ในการนาปลาปักเป้ามาทาอาหารบริโภคอาจพบสารพิษได้ เนื่องจากมีชาวประมงที่ไม่ชานาญหรือ ไม่คัดแยก ทาให้เกิดความผิดพลาดในการดูลักษณะทางกายภาพของปลา ดังน้ันการตรวจเอกลักษณ์ DNA เพิ่มจากการดูลักษณะทางกายภาพของตัวปลาจึงเป็นอีกวิธีที่จะช่วยให้มั่นใจว่าเนื้อสัตว์ที่บริโภคน้ัน เป็น ปลาปักเป้าหรือไม่ อีกทั้งการดูลักษณะทางกายภาพไม่สามารถทาได้ในอาหารท่ีแปรรูปแล้ว และมีอาหาร 110

แปรรูปท่ีหลากหลายชนิดผลิตจากปลา เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ได้ รบั ประทานอาหารท่ีมีคุณภาพ ไม่ปลอมปน และป้องกันอันตรายจากสารพิษ จึงใช้วิธีการตรวจสารพันธุกรรม เพ่ือหาปลาปักเป้าสายพันธ์ุ L. lunaris, L. spadiceus และ L. inermis โดยการตรวจยีนจาเพาะของ ปลาปักเป้า เช่น Cytochrome b gene เพ่ือพิสูจน์เอกลักษณ์และประเมินโอกาสการปนเปื้อนเบ้ืองต้น ในอาหารประเภทปลาเส้น ลูกชิ้นปลา ไส้กรอกปลา ปลาบด และปลาแห้งปรงุ รส ซึง่ มีในท้องตลาดเป็นจานวน มาก รวมถึงตรวจปริมาณสารพิษ TTX และการปนเปื้อนจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรคเพื่อเป็นการเฝ้าระวังความ ปลอดภัยและเป็นการประเมินอนั ตรายจากการปลอมปนปลาปกั เปา้ ในอาหารและปริมาณสาร TTX ท่ีปนเปือ้ น ซ่งึ สามารถนาข้อมลู มาใชป้ ระเมินความเสี่ยงในการไดร้ ับสัมผัสหรือการบริโภคตอ่ ไป วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ ตรวจเอกลักษณ์ปลาปักเป้า (DNA) ปริมาณสารพิษเตโตรโดท็อกซิน และจุลินทรีย์ท่ีทาให้เกิดโรค เพื่อประเมินความเสย่ี งเบ้ืองตน้ ของการปลอมปนปลาปักเป้าในอาหารแปรรูปผลติ ภณั ฑจ์ ากปลา เปา้ หมายของโครงการ  ขอ้ มลู ท่ีได้สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการประเมินความเส่ียงในการไดร้ ับสัมผัสปลาปักเป้าที่เปน็ พิษ จากอาหารแปรรูปทผี่ ลติ จากปลาต่อผูบ้ ริโภคได้  นาข้อมูลจากองค์ความรู้การวิเคราะห์ตรวจเอกลักษณ์ปลาปักเป้า (DNA) และการปนเป้ือนสารพิษ เตโตรโดทอ็ กซนิ เพอื่ เชื่อมโยงกบั แหล่งทมี่ าของวตั ถดุ ิบปลาปักเป้าท่ีเปน็ พิษ  เป็นข้อมูลทางวิชาการประกอบการจัดทากฎหมายให้ครอบคลุมต่อระบบเศรษฐกิจและสุขภาพชีวิต ของประชาชนทัง้ ในส่วนของผูบ้ รโิ ภคและผ้ผู ลิต ขอบเขตของการศึกษา  สารวจเก็บตัวอย่างจากเขตสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และชลบุรี และตรวจวิเคราะห์การปลอมปน ปลาปักเป้าในอาหารแปรรูปที่ผลิตจากปลา คือ ปลาเส้น ลูกชิ้นปลา ไส้กรอกปลา ปลาบด และ ปลาแหง้ ปรงุ รส จานวน 80 ตวั อยา่ ง  ตรวจปลาปักเป้าชนิด L. Lunaris, L. spadiceus และ L. inermis โดยการตรวจสารพันธุกรรม เช่น Cytochrome b gene โดยวิธี PCR/ PCR-RFLP  ตรวจวิเคราะหป์ ริมาณสารพษิ เตโตรโดท็อกซินในอาหารแปรรูป ด้วยเทคนิค LC-MS/ MS  ตรวจการปนเปือ้ นจลุ นิ ทรีย์ที่ทาใหเ้ กิดโรค B. cereus, C. perfringens, Salmonella spp., S. aureus, V. cholerae, V parahaemolyticus กรอบแนวคิดของโครงการ ปลาปักเป้าบางชนิดเป็นปลาท่ีมีพิษ และไม่มีการยอมรับให้นามาเป็นอาหาร ดังน้ันเพื่อเป็นการ เฝ้าระวัง และประเมินโอกาสเส่ียงที่คนไทยจะรับประทานปลาปักเป้าท่ีมีการปลอมปนในผลิตภัณฑ์อาหาร จากปลา จึงทาการตรวจวิเคราะห์การปลอมปนโดยการตรวจเอกลักษณ์สารพันธุกรรม ซึ่งมีข้ันตอน คือ การสกัดดีเอ็นเอตรวจวิเคราะห์ DNA โดยวิธี Polymerase Chain Reaction หรือ Polymerase Chain Reaction-Restriction Fragment Length Polymorphism (PCR-RFLP) แล้วนาผลที่ได้ประเมินความเส่ียง การปลอมปนปลาปกั เป้าในอาหารตอ่ ไป โดยการตรวจ DNA เป็นวิธที ่ีได้รบั การยอมรบั ทั่วไปว่ามปี ระสทิ ธภิ าพ สงู ในการตรวจในอาหารท่ผี ่านขบวนการผลิตแล้ว รวมท้ังตรวจสารพิษเตโตรโดท็อกซินท่ีพบในปลาปักเปา้ แล้ว ปนเปอ้ื นในอาหารแปรรปู ที่มีการใชป้ ลาปกั เปา้ เป็นสว่ นผสมในการผลติ ได้ 111

แนวทางการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน สานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประสานงานกับศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ท่ี 5 สมุทรสงคราม ในการเก็บตัวอย่างและตรวจวิเคราะห์ โดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 5 สมุทรสงคราม ตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ท่ีทาใหเ้ กิดโรค ส่วน สคอ. ตรวจสารพันธุกรรมปลาปักเป้า และสารพิษ เตโตรโดท็อกซิน รายละเอียดวิธีการ/ขั้นตอนการดาเนินโครงการ สารวจเก็บตัวอย่างอาหารแปรรูปที่ผลิตจากปลา คือ ปลาเส้น ลูกชิ้นปลา ไส้กรอกปลา ปลาบด และ ปลาแห้งปรุงรส นามาสกัดดีเอ็นเอด้วยวิธีที่เหมาะสม ตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี PCR/ PCR-RFLP เพื่อประเมิน ความเสี่ยงในการปลอมปนอาหาร ตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารพิษเตโตรโดท็อกซิน ด้วยเทคนิค LC-MS/MS และการปนเปื้อนจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค วิเคราะห์ผล และสรุปจัดทาเป็นรายงานผลการสารวจ และเสนอให้ ผู้เกี่ยวข้องไดน้ าไปเพื่อใชป้ ระโยชน์ แผนการดาเนินงาน ปี กิจกรรม รอ้ ยละของ (งบประมาณ) ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กิจกรรมใน ปีงบประมาณ 2564 จดั เตรยี มแผนการเกบ็ ตวั อยา่ งและวสั ดุ xxx 10 อปุ กรณท์ ่ีใช้ในการตรวจวเิ คราะห์ 2564 เตรียมสารมาตรฐาน xxxxx 10 2564 จัดซ้อื ตวั อยา่ ง xxxx 10 สกัดดเี อ็นเอจากอาหาร และตรวจปลาปกั เปา้ xxxxxx 25 2564 ชนิด L. lunaris และ L. spadiceus และ L. inermis โดยวธิ ี PCR/PCR-RFLP 2564 ตรวจวิเคราะห์ Tetrodotoxin ดว้ ยเทคนิค xxxxxx 20 LC-MS/MS 2564 ตรวจวิเคราะหจ์ ลุ ินทรยี ท์ ท่ี าให้เกิดโรค xxxxxx 15 6 ชนิด 2564 รวบรวมผลวเิ คราะห์ ประเมนิ และสรปุ ผล x x x 10 จัดทารายงาน รวม 100 ผลผลิต/ผลลพั ธ์/ผลกระทบจากโครงการ รายละเอียดผลผลติ ผลลัพธท์ ี่คาดว่าจะได้รบั ผลกระทบท่ีคาดวา่ จะเกิดข้ึน ข้อมลู ผลวเิ คราะห์จานวน 80 ได้ข้อมูลจากการประเมนิ ความเสย่ี ง ผูเ้ กยี่ วข้องกับการผลิตอาหาร และ หนว่ ยงานกากบั ดูแล สามารถใชข้ อ้ มลู ตวั อยา่ ง ท่ีแสดงการปนเปื้อนทาง ผลกระทบเบ้ืองตน้ ต่อผูบ้ รโิ ภค เป็นแนวทางในการแก้ไขป้องกัน เพ่ือคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค เคมแี ละทางจุลชวี วทิ ยา ท่บี ง่ ช้ถี ึง ทไ่ี ด้รับปริมาณสารพิษ ความปลอดภัยของตัวอย่าง เตโตรโดทอ็ กซนิ จากการปลอมปน อาหารแปรรปู ที่ผลติ จากปลา ปลาปักเปา้ และจลุ นิ ทรยี ์ก่อโรคท่ี ปลอมปนปลาปักเป้าในอาหาร ปนเป้อื นในอาหารทผี่ ลิตจากปลา ท่ีผลติ จากปลา 112

หน่วยงานทจี่ ะนาไปใชป้ ระโยชน์ - สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา - กรมประมง และผูป้ ระกอบการผลิตอาหารแปรรูปจากปลา - กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ลงชอ่ื .................................................ผูเ้ สนอโครงการ (นางปวีณา พานิชกลุ ) นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ านาญการ ลงชื่อ.................................................ผอู้ นุมตั โิ ครงการ (นางเลขา ปราสาททอง) ผ้อู านวยการสานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร 113

แบบฟอร์มแผนงานโครงการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 0604 FM 0010 ประจาปงี บประมาณ วันท่ปี ระกาศใช้ 15 ธนั วาคม 2560 แกไ้ ขครง้ั ท่ี 01 กองแผนงานและวชิ าการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หน้าท่ี 114 ของ 4 หน้า แบบฟอร์มแผนงานโครงการกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลผลติ โครงการพัฒนาศกั ยภาพดา้ นวิทยาศาสตร์การแพทยใ์ นการวินจิ ฉยั และปอ้ งกนั โรคเพื่อความม่ันคง ดา้ นสุขภาพ กจิ กรรมหลกั 4: พัฒนาขดี ความสามารถและเครือขา่ ยห้องปฏิบัตกิ ารเพ่ือความม่นั คงด้านสขุ ภาพ ประเภทเงินงบประมาณ  งบประมาณแผ่นดิน  เงินบารงุ  เงินเบกิ จา่ ยแทนกนั  งบอื่นๆ ประเภทงบประมาณ  งบรายจา่ ยอื่น  งบลงทุน  งบดาเนนิ งาน  งบบคุ ลากร  งบอดุ หนุน ช่ือโครงการ โครงการตรวจวเิ คราะหแ์ ละรบั รองอาหารปลอดภยั (Food Safety) ความสอดคล้องยทุ ธศาสตร์กระทรวง การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเส่ียงด้านสุขภาพ ประเภทโครงการ  โครงการภารกจิ หลกั  โครงการภารกจิ สนับสนนุ  โครงการสาคญั หลักการและเหตผุ ล ตามทีไ่ ด้มกี ารประชุมนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) ปี 2547 ทมี่ ีการประชุมรว่ ม ของหนว่ ยงานต่างๆ ทุกกระทรวง เมอื่ วันที่ 23 มกราคม 2547 และวันท่ี 30 พฤษภาคม 2548 ณ ห้องสีเขียว ตึกไทยคู่ฟ้า ทาเนียบรัฐบาล และวันท่ี 6 สิงหาคม 2547 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีนโยบายและแนวทางการดาเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร ร่วมกันในการ ดาเนินการอย่างต่อเน่ือง อย่างเป็นระบบเข้มแข็งและยั่งยืน รวมไปถึงการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ มีการตรวจสอบและรับรองอาหารปลอดภัย จัดทาคู่มือและพัฒนาชุดทดสอบอาหารอย่างง่าย เพื่อให้ ผู้ประกอบการสามารถดูแลคุณภาพอาหารของตนเองได้ เพ่ือมุ่งเน้นเป้าหมายให้คนไทยมีสขุ ภาพแข็งแรง และ อาหารไทยเป็นท่ียอมรับในระดับนานาชาติ เป็นการเผยแพร่ภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศไทย อันจะส่งผลดีต่อ การทอ่ งเที่ยวและการลงทนุ และให้สอดรบั กันนโยบายแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2565 ในเป้าหมายหลกั ทีม่ ีความปลอดภยั ของด้านอาหารโภชนาการ ยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ และส่ิงแวดล้อมและชุมชนเข้มแข็ง และมสี ่วนร่วม ในกจิ กรรมด้านสขุ ภาพ สาหรับกระทรวงสาธารณสขุ ได้รบั มอบหมายการจดั หาชุดทดสอบอาหาร อุปกรณ์ท่ีใช้ ในการรณรงค์ และการรับรองอาหารปลอดภัย และให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่องโดยไม่เป็นภาระกับ ผู้ประกอบการเพราะอาจไม่ไดร้ ับความร่วมมือเท่าที่ควร ดังนั้นกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์จึงได้จัดทาโครงการ อาหารปลอดภยั ของอาหารอย่างต่อเนอ่ื ง ท้งั ที่ตลาดสดและรา้ นอาหารท่วั ประเทศ และมีความจาเป็นท่ีจะตอ้ ง ดาเนินการโครงการอาหารปลอดภัยอย่างต่อเนื่องต่อไป 114

แบบฟอร์มแผนงานโครงการกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 0604 FM 0010 ประจาปงี บประมาณ วันทีป่ ระกาศใช้ 15 ธันวาคม 2560 แกไ้ ขคร้งั ที่ 01 กองแผนงานและวิชาการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หน้าท่ี 115 ของ 4 หนา้ วัตถุประสงคข์ องโครงการ 1. เพ่ือสนับสนุนการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ.2560-2565 2. เพอ่ื สรา้ งกระแสความตน่ื ตัวด้านความปลอดภัยอาหารอย่างต่อเน่ืองและท่วั ถึง 3. เพ่ือสร้างความเช่อื มั่นแก่ผู้บรโิ ภค ประชาชน และสรา้ งภาพพจนท์ ี่ดแี กป่ ระเทศไทย 4. เพอ่ื ใหย้ ทุ ธศาสตรค์ วามปลอดภัยด้านอาหารบรรลุผลสาเร็จทกุ ระดับช้ัน 5. เพ่ือสร้างความเขม้ แข็งแก่ผู้ประกอบการ และประชาชนท่วั ไปในการเฝ้าระวงั ความปลอดภัยด้านอาหาร 6. เพื่อตรวจสอบคุณภาพในห้องปฏิบัติการ ยืนยันผลก่อนดาเนินคดีในกรณีท่ีพบความไม่ปลอดภัย และผิดกฎหมายอาหารของกระทรวงสาธารณสขุ กลุ่มเป้าหมาย 1. ประชาชนได้บริโภคอาหารท่ีได้รับการตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัยอาหาร เช่น วัตถุดิบ ท่จี าหนา่ ยในตลาดสด ตลาดนัด ซุปเปอร์มาร์เก็ต ศูนยอ์ าหารในโรงเรียนมหาวทิ ยาลัย โรงพยาบาล ภัตตาคาร และสถานทป่ี ระกอบอาหาร 2. ประชาชนได้รบั ความร้เู รื่องอาหารปลอดภยั จากสอื่ เผยแพร่ เปา้ หมาย  ตวั อย่างอาหาร จานวน 5,000 หนว่ ยนับ ตัวอยา่ ง  รายงานผบู้ ริโภคและแจ้งเตือนภัย จานวน 5 หน่วยนับ เร่ือง คา่ นาหนกั โครงการ รอ้ ยละ 6 ตวั ชวี ัด ตวั ชีวดั ค่าเปา้ หมาย หน่วยนับ ลาดับ จานวนผลิตภณั ฑ์อาหารทีต่ รวจวิเคราะห์และรับรองอาหารปลอดภยั 5,000 ตัวอยา่ ง 1 จานวนรายงานผ้บู รโิ ภคและแจง้ เตอื นภยั ทีไ่ ดจ้ ากผลิตภณั ฑ์กลุ่มเสยี่ ง 5 เรื่อง 2 ระยะเวลาการดาเนินงาน วนั ท่เี ร่ิมโครงการ 1 ตุลาคม 2563 วันที่สนิ้ สดุ โครงการ 30 กันยายน 2564 แผนปฏิบตั ิการ/กิจกรรม ลาดบั แผนการปฏบิ ัติ/กิจกรรม ตค. พย. ธค. มค. กพ. มคี . เมย. พค. มิย. กค. สค กย. สัดส่วนงาน (ร้อยละ) 1 เก็บตัวอย่างและตรวจวเิ คราะห์             50 ทสี่ มคั รเข้าร่วมโครงการ 2 สารวจคณุ ภาพความปลอดภยั             20 อาหารกลมุ่ เสยี่ งเปา้ หมาย 3 จดั ทารายงานผู้บรโิ ภคและ   10 แจง้ เตอื นภัย (consumer report) จากขอ้ มลู การสารวจคณุ ภาพและ ความปลอดภยั อาหารกลมุ่ เสย่ี ง เป้าหมาย 115

แบบฟอร์มแผนงานโครงการกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 0604 FM 0010 ประจาปีงบประมาณ วนั ทป่ี ระกาศใช้ 15 ธนั วาคม 2560 แก้ไขครั้งท่ี 01 กองแผนงานและวชิ าการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หนา้ ท่ี 116 ของ 4 หนา้ ลาดับ แผนการปฏบิ ตั /ิ กจิ กรรม ตค. พย. ธค. มค. กพ. มีค. เมย. พค. มยิ . กค. สค กย. สัดสว่ นงาน (ร้อยละ) 4 บารงุ รักษา ซอ่ มแซมเครือ่ งมอื   5 อุปกรณ์ 5 จัดและเข้ารว่ มจัดนิทรรศการต่างๆ             5 เพอื่ รณรงค์/ถา่ ยทอดเทคโนโลยีการ ตรวจวเิ คราะห์ ท่ีเก่ยี วกบั ความ ปลอดภัยด้านอาหาร 6 จดั ทาสื่อเผยแพร่ประชาสมั พันธ์             10 เพอ่ื ใชใ้ นการรณรงค์ใหม้ ีความรู้ และ สนบั สนุนสือ่ สิง่ พิมพ/์ ชุดทดสอบ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. อาหารสดท่ีจาหน่ายในตลาดสด ตลาดนัด ซุปเปอร์มาร์เก็ต และอาหารพร้อมบริโภค อาหารปรุง สาเร็จทจี่ าหน่ายในสถานประกอบการดา้ นอาหารไดร้ ับการตรวจความปลอดภัยอาหาร 2. ประชาชนมีความรู้เร่ืองอาหารปลอดภัยจากส่ือเผยแพร่ สาหรับใช้ในการเลือกซ้ือวัตถุดิบท่ีนา มาปรงุ ประกอบอาหารและอาหารพร้อมบริโภค หนว่ ยงานผู้รับผดิ ชอบโครงการ สานกั คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ผูร้ ายงาน นางสาววนิดา ยรุ ญาติ และนางสาวอุบลวรรณ รอดประดิษฐ์ 116

117

118

119

120

121

122

123

124

125

126

127

คา่ นิยมกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ คา่ นยิ มกระทรวงสาธารณสขุ ยอมรบั ฟังความเหน็ ของผอู้ ่นื M Mastery อย่างสรา้ งสรรค์ ทางานเป็นทมี เป็นนายตนเอง ปฏบิ ัติงานด้วยความซื่อสัตย์ สจุ รติ มคี วามโปรง่ ใส O Originality เรง่ สรา้ งสิ่งใหม่ D M S Cตรวจสอบได้ P People center approach ใส่ใจประชาชน H Humility ถ่อมตนออ่ นน้อม นาความรูม้ าประยกุ ต์ใช้ในการ ทางานอยา่ งมมี าตรฐานตามหลักวิชาการ ทางานได้อยา่ งเหมาะสม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook