Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสรุปการดำเนินงานอาหารปลอดภัย 2564

รายงานสรุปการดำเนินงานอาหารปลอดภัย 2564

Published by เพชรา จิตรบรรจง, 2022-08-04 10:19:36

Description: รายงานสรุปการดำเนินงานอาหารปลอดภัย 2564

Search

Read the Text Version

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมดุ แหง่ ชาติ ISBN (e-book) 978-616-11-4910-9 พมิ พ์ครงั้ ท่ี 1 กรกฎาคม 2565 ทปี่ รกึ ษา อธบิ ดกี รมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ นายแพทย์ศุภกิจ ศิรลิ ักษณ์ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นายแพทย์พเิ ชฐ บัญญัติ รองอธิบดีกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ นายแพทย์บลั ลังก์ อุปพงษ์ ผอู้ านวยการสานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร นายแพทย์ปยิ ะ ศริ ิลกั ษณ์ นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์เชี่ยวชาญ นางเลขา ปราสาททอง นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทยเ์ ช่ียวชาญ นางอุมา บรบิ รู ณ์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์เชี่ยวชาญ นางสาวจิตผกา สันทัดรบ นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการพิเศษ นางสาวขันทอง เพช็ รนอก นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการพิเศษ นางปราณี นาคประสิทธ์ิ นางสาววนดิ า ยรุ ญาติ ผูจ้ ัดทา สานักคณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ผู้จัดทารูปเลม่ สานักคณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร สานกั คุณภาพและความปลอดภยั อาหาร นางสาวเพชรา จติ รบรรจง นางสาวประภสั รา บุตรพรม เจ้าของ สานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จงั หวดั นนทบุรี โทร 0-2951-0000 ตอ่ 99526-8 โทรสาร 0 2951 1021

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 คานา อาหารเป็นปัจจัยสข่ี องการดารงชีวิต ในการรับประทานอาหารจึงจาเป็นต้องคานึงถึงหลกั โภชนาการ และความปลอดภัย และด้วยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านอาหารของประเทศ มีบทบาทหน้าท่ีตรวจวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อนาไปใช้แก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านการ คุ้มครองผู้บริโภค และมีเครอื ข่ายการทางานทง้ั ส่วนกลาง ได้แก่ สานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร และ ส่วนภูมิภาค ได้แก่ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท้ัง 15 แห่ง กระจายท่ัวประเทศ จึงได้จัดทาโครงการสารวจ อาหารปลอดภัย (Food Safety) ดาเนินการในรูปแบบการเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance) เป็นการ กาหนดอาหารและผลิตภัณฑ์ที่มีความเส่ียงสูงใน 2 มิติ ได้แก่ มิติหลัก (Agenda base) และมิติพ้ืนท่ี (Area base) นอกจากน้ันยังมกี ารเฝา้ ระวังในผลิตภัณฑท์ ่ีเปน็ ความเส่ียงระดับประเทศและตามพฤติกรรมการบริโภค ทั้งน้ีเพื่อให้ครอบคลุมกับบริบทของสังคมท่ีปรับเปล่ียนไป วัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ข้อมูลคุณภาพและความ ปลอดภยั ด้านอาหารของประเทศ (Big data) สาหรับนาไปใช้ในการวางแผนการตรวจเฝ้าระวงั อย่างเป็นระบบ ตลอดห่วงโซอ่ าหาร ตอบโต้ภาวะฉกุ เฉนิ ด้านอาหาร สอื่ สารสาธารณะด้านสขุ ภาพ (Health Communication) และไดเ้ ผยแพรง่ านนวัตกรรมของหนว่ ยงานท่มี ีการนามาปรบั ใช้เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานอกี ด้วย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลจากรายงานฉบับนี้จะสามารถนาไปใช้ให้เกิด ประโยชน์กับงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ในการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยอาหารได้อย่าง มีประสิทธิภาพอย่างท่ีต้ังใจ ท้ังนี้เพ่ือให้อาหารไทยอร่อยถูกปากอย่างมีคุณภาพและความปลอดภัย เป็นการ สรา้ งเสรมิ สุขภาพประชาชน ส่งเสริมการท่องเที่ยว และขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศใหเ้ กิดความ “มั่นคง มัง่ ค่ัง ยงั่ ยนื ” กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กรกฎาคม 2565

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 กิตตกิ รรมประกาศ โครงการนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เพราะได้รับความร่วมมือและความอนุเคราะห์จากท่านทั้งหลาย ดงั รายนาม คณะดาเนินงานจึงขอกราบขอบพระคุณทุกท่านมา ณ โอกาสน้ี 1. นายแพทย์ศภุ กิจ ศริ ลิ กั ษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2. นายแพทย์พิเชฐ บัญญัติ รองอธบิ ดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. นายแพทย์บัลลังก์ อปุ พงษ์ รองอธิบดีกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 4. นายแพทย์ปิยะ ศิรลิ ักษณ์ รองอธบิ ดีกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 5. นางเลขา ปราสาททอง ผู้อานวยการสานกั คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร 6. ผู้อานวยการศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 1 เชยี งใหม่ และเจา้ หน้าท่ีทกุ ท่าน 7. ผู้อานวยการศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 1/1 เชยี งราย และเจ้าหนา้ ที่ทุกทา่ น 8. ผอู้ านวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 2 พิษณุโลก และเจ้าหน้าท่ีทกุ ท่าน 9. ผู้อานวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 3 นครสวรรค์ และเจา้ หนา้ ที่ทุกทา่ น 10. ผอู้ านวยการศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 4 สระบรุ ี และเจ้าหน้าที่ทกุ ท่าน 11. ผู้อานวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 5 สมุทรสงคราม และเจา้ หน้าทท่ี ุกทา่ น 12. ผู้อานวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 6 ชลบรุ ี และเจ้าหนา้ ทีท่ ุกทา่ น 13. ผู้อานวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 7 ขอนแกน่ และเจา้ หน้าที่ทุกทา่ น 14. ผอู้ านวยการศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อดุ รธานี และเจา้ หน้าที่ทกุ ท่าน 15. ผอู้ านวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 9 นครราชสีมา และเจา้ หนา้ ท่ีทุกท่าน 16. ผูอ้ านวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 10 อุบลราชธานี และเจา้ หน้าทท่ี ุกทา่ น 17. ผูอ้ านวยการศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 11 สรุ าษฎรธ์ านี และเจ้าหน้าท่ที ุกท่าน 18. ผอู้ านวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11/1 ภูเก็ต และเจ้าหนา้ ที่ทุกท่าน 19. ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา และเจา้ หน้าท่ีทกุ ท่าน 20. ผู้อานวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 12/1 ตรัง และเจ้าหน้าที่ทกุ ท่าน 21. หัวหนา้ ฝา่ ยประชาสัมพนั ธ์ และเจ้าหนา้ ท่ที ุกท่าน 22. สานกั สง่ เสริมและสนบั สนนุ อาหารปลอดภัย สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ทมี การจัดการความรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ สานักคณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรกฎาคม 2565

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 บทสรปุ ผูบ้ รหิ าร การดาเนินงานดา้ นอาหารปลอดภัย (Food Safety) ปีงบประมาณ 2564 กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ต้ังแต่ปี 2547 จนถึงปัจจุบัน ได้กาหนด นโยบายและแนวทางการดาเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารอย่างต่อเนื่อง และพัฒนารูปแบบการ ดาเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลง โดยมีการดาเนินงานร่วมกับสานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา สานักงานสาธารณสุขจังหวัดท่ัวประเทศ กรุงเทพมหานคร และหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ ยวข้อง ทงั้ ภาครฐั และเอกชน โดยมกี ารดาเนนิ การเฝ้าระวงั เชิงรุก (Active Surveillance) เป็นการกาหนดอาหารและ ผลิตภัณฑ์ที่มีความเส่ียงสูง ได้มีการดาเนินงานใน 2 มิติ ได้แก่ มิติหลัก (Agenda base) และมิติพื้นท่ี (Area base) ข้อมูลที่ได้จะนามาประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงด้านอาหารในภาพรวมของประเทศและวาง ทิศทางการดาเนินการในแต่ละปี และให้ประเทศมีฐานข้อมูลคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร เพื่อตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านอาหาร และส่ือสารสาธารณะด้านสุขภาพ (Health Communication) เป้าหมายให้คนไทย มีสุขภาพแข็งแรง และอาหารไทยเป็นท่ียอมรับในระดับนานาชาติ สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสาธารณสุขระยะ 20 ปี ตามนโยบายรัฐบาลที่จะนาประเทศไทยก้าวสู่ Thailand 4.0 รองรับสังคม ผูส้ งู อายใุ นปี พ.ศ. 2573 ตงั้ เป้าหมายให้ \"ประชาชนสขุ ภาพดี เจา้ หน้าทมี่ คี วามสขุ ระบบสุขภาพย่ังยืน” รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2564 โดยสานักคุณภาพและ ความปลอดภัยอาหาร ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 15 แห่ง ได้ดาเนินการตรวจเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance) ตามมิติหลกั (Agenda base) จานวน 3 เรือ่ ง และตามมิติพนื้ ท่ี (Area base) จานวน 6 เร่ือง พร้อมกบั เผยแพร่ผลงานนวัตกรรมเพื่อปรับปรุงประสิทธภิ าพการทางานของหนว่ ยงาน จานวน 2 เร่อื ง ผลการดาเนนิ งาน  มติ หิ ลกั (Agenda base) 1. โครงการสารวจเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ ยาต้านจุลชีพ และสารเร่งเนื้อแดงกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ตกค้าง ในเนือ้ สัตวห์ มักพร้อมปรุงในประเทศไทยตามยุทธศาสตร์เชื้อด้ือยาระดบั ประเทศ ในปี 2564 ซ่ึงเป็นการดาเนินการตามกรอบการเฝ้าระวังเช้ือด้ือยาระดับประเทศ ( Nation surveillance for antimicrobial resistance in food) เพ่ือให้ทราบสถานการณ์การดื้อยาของเชื้อแบคทีเรีย ทปี่ นเป้ือน ควบคู่ไปกบั สถานการณ์การตกค้างยาต้านจุลชีพและสารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ในเน้ือสัตว์หมัก พร้อมปรุง โดยตรวจหาการปนเป้ือนเชื้อด้ือยาต้านจุลชีพในแบคทีเรีย จานวน 5 ชนิด ได้แก่ Escherichia coli, Enterococcus faecalis, Enterococcus faecium, Salmonella spp., แ ล ะ Staphylococcus aureus และยาตา้ นจลุ ชีพตกค้าง7กลุ่ม (กลมุ่ amphenicol, -lactam, macrolide, quinolone, sulfonamide tetracycline และ nitrofuran metabolite รวม 51 ชนิด) และสารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ 4 ชนิด ด้วยเทคนิค LC-MS/MS ในตัวอย่างเนื้อหมู เนื้อวัว เนื้อไก่ หมักพร้อมปรุง จากแหล่งจาหน่ายที่เป็นตัวแทน จาก 5 ภาค โดยแต่ละแห่งเก็บตัวอย่างจาก 3 จังหวัด จังหวัดละ 2 แหล่ง ได้แก่ ตลาดสดขนาดใหญ่/ รา้ นจาหนา่ ย 1 แห่ง หา้ งสรรพสินคา้ /ซปุ เปอร์มาร์เกต็ 1 แห่ง เกบ็ ตัวอย่างจากทั้งหมด 22 จังหวัด รวมท้ังสิ้น 150 ตัวอย่าง ผลการศึกษาเนื้อสัตว์หมักพร้อมปรุง 150 ตัวอย่าง เป็นเนื้อหมู เน้ือไก่ และเน้ือวัว จานวน 60 5

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 47 และ 43 ตัวอย่าง ตามลาดับ ผลการวิเคราะห์พบการปนเปื้อนแบคทีเรียในเน้ือสัตว์หมักพร้อมปรุง จานวน 135 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 90.0 ของตัวอย่างทั้งหมด (เป็นเนื้อหมู 54 เนื้อไก่ 42 และเน้ือวัว 39 ตัวอย่าง) โดยเนื้อวัวหมักพร้อมปรุงพบเชื้อปนเปื้อนมากที่สุด คือ ร้อยละ 90.7 ส่วนเนื้อหมูและเน้ือไก่ พบเชื้อปนเป้ือน ร้อยละ 90.0 และ 89.4 ตามลาดับ โดยพบการปนเป้ือนเชื้อ E. coli มากท่ีสุด จานวน 113 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 75.3 รองลงมาคอื เชื้อ E. faecalis จานวน 79 ตัวอย่าง คดิ เป็นร้อยละ 52.7 เชื้อ Salmonella spp. และ S. aureus พบใกลเ้ คียงกนั คือ 73 และ 69 ตวั อยา่ ง ตามลาดับ คดิ เป็นร้อยละ 48.7 และ 46.0 ตามลาดบั และพบเชอ้ื E. faecium นอ้ ยทีส่ ดุ คือ 21 ตวั อยา่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.0 ผลการทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพ พบการปนเป้ือนเช้ือด้ือยา จานวน 126 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 93.3 ของตัวอย่างทั้งหมดที่พบการปนเป้ือนเช้ือแบคทีเรีย โดยเน้ือหมูหมักพร้อมปรุงพบปนเป้ือน เช้อื ดอื้ ยาต้านจุลชีพมากท่ีสดุ จานวน 52 ตัวอย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ 96.3 รองลงมาคือ เนอ้ื ไก่หมกั พร้อมปรุง พบ เชื้อด้ือยาต้านจุลชีพ จานวน 39 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 92.9 และเนื้อวัวหมักพร้อมปรุง พบเชื้อดื้อยา ต้านจุลชีพ จานวน 35 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 89.7 โดยเช้ือ E. coli พบว่าดื้อต่อยา Ampicillin และ Tetracycline มากทสี่ ุดร้อยละ 71.7 ผลการวิเคราะห์กลุ่มยาต้านจุลชีพตกค้าง 7 กลุ่ม และสารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ รวม 8 กลุ่ม ในเนอ้ื สัตวห์ มักพรอ้ มปรุง 150 ตัวอยา่ ง พบการตกคา้ ง 48 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 32.0 โดยพบยาต้านจุลชีพ ตกค้างใน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม amphenicol พบ chloramphenicol และ florphenicol กลุ่ม nitrofuran metabolites พบ 3-amino-2-oxazolidinone, AOZ กลุ่ม quinolone พบ ciprofloxacin, enrofloxacin, marbofloxacin และ nalidixic acid กลุม่ sulfonamide พบ sulfadimidine, sulfadoxine และ trimetoprim โดยภาพรวมเช้ือดื้อยา การตกค้างของยาต้านจุลชีพ และสารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ยังเป็น ปัญหาสาคัญของประเทศ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรให้ความรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพในการเล้ียงสัตว์ ส่งเสริม การผลิตสัตว์เพ่ือการบริโภคแบบปลอดยา โดยข้อมูลที่ได้จากการสารวจน้ีจะถูกนาไปส่ือสารความเสี่ยง แล ะ แจ้งเตือนภัยให้แก่ผู้บริโภค และเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังของประเทศ ด้านเชื้อด้ือยา ยาต้านจุลชีพตกค้าง และ สารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ตกค้างในเนื้อสัตว์หมักพร้อมปรุงในอาหารประเภทป้ิงย่าง ชาบู รวมถึงประสาน กบั หน่วยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งเพ่อื ดาเนินงานป้องกนั เชงิ รุกและแก้ไขปญั หาอย่างเหมาะสมตอ่ ไป 2. โครงการตรวจสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชตกค้างในผักและผลไม้ เพื่อสนับสนุนอาหารปลอดภัย ในโรงพยาบาลและ Green & Clean Hospital การตรวจวิเคราะห์สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชตกค้างทางห้องปฏิบัติการ 8 กลุ่ม 132 ชนิดสาร (รวม chlorpyrifos) สาร paraquat และ glyphosate ตามนโยบายรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข จากโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท่ีอยู่ในกรมวิชาการหรือโรงพยาบาล ในสังกัดกระทรวงอื่นๆ ท่ีอยู่ในเขตสุขภาพท่ี 13 กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลละ 2 คร้ังๆ ละ 5 ตัวอย่าง จานวน 6 แห่ง ได้แก่ 1) โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 2) โรงพยาบาลราชวิถี 3) โรงพยาบาลเลิดสิน 4) โรงพยาบาลสงฆ์ 5) สถาบนั สขุ ภาพเดก็ แหง่ ชาติมหาราชินี 6) สถาบันมะเรง็ แหง่ ชาติ รวมท้ังส้นิ 60 ตวั อย่าง เพื่อตรวจสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช 134 ชนิดสาร ด้วยวิธีทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจวิเคราะห์ดังนี้ จากผลการตรวจวิเคราะห์สถานการณ์การตกค้างในภาพรวม พบว่าในภาพรวมมีการตกค้างเกินมาตรฐาน ร้อยละ 30-40 โดยมีการตรวจพบวัตถุอนั ตรายชนิดท่ี 4 ท่ีเป็นสารห้ามใช้ ได้แก่ methamidophos ในมะเขือ เปราะ และ chlorpyrifos ในคะนา้ และมะเขือเปราะ ซึ่งต้องมีการจดั การในการคัดเลือกแหล่งวตั ถุดิบใหม่และ เพ่ิมการกากับดูแลเฝ้าระวังการตกค้างให้มากข้ึน สาหรับการตรวจเฝ้าระวังสาร paraquat ตรวจไม่พบ 6

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 การตกค้างในผักผลไม้ท่สี ่มุ สารวจ แต่พบการตกคา้ งของ glyphosate ในตัวอยา่ งถัว่ ฝกั ยาว จานวน 1 ตวั อยา่ ง ในปรมิ าณ 0.09 มิลลกิ รมั ต่อกโิ ลกรัม ซ่ึงมากกว่าค่า default limit ทีก่ าหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบบั ท่ี 387 พ.ศ. 2560 เร่ือง อาหารท่มี ีสารพิษตกค้าง 3. โครงการสารวจหาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ปนเปื้อนบนบรรจุภัณฑ์ อาหาร ผลไม้ น้า นา้ แขง็ และพนื้ ผิวสัมผสั เป็นการตรวจวิเคราะห์หาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ที่ปนเปื้อนบนบรรจุภัณฑ์ อาหาร ผลไม้ น้า น้าแข็ง และพื้นผิวสัมผัส นอกจากน้ันยังได้ดาเนินการสุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพความปลอดภัย อาหารทะเลอย่างต่อเนื่อง โดยทางานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทาการสุ่มเก็บตัวอย่าง อาหารทะเล สัตว์น้า และผลิตภัณฑ์ ในห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์มาร์เก็ต ตลาดสด และร้านค้าปลีกในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลในเดือนธันวาคม 2563 จานวน 110 ตัวอย่าง และตัวอย่างที่เก่ียวข้องกับงาน คุ้มครองผู้บริโภคจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ส่งตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 กับสานัก คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ต้ังแต่เดือนมกราคม 2564 ถึงเดือนกันยายน 2564 ชนิดตัวอย่าง บรรจุภัณฑ์อาหาร ผลไม้ น้า น้าแข็ง และพ้ืนผิวสัมผัส จานวน 692 ตัวอย่าง รวมท้ังหมด 802 ตัวอย่าง ผลการตรวจวิเคราะห์จากการสุ่มตัวอย่างในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จานวน 110 ตัวอย่าง ทุกตัวอย่างไม่พบการปนเปื้อนสารพันธุกรรมไวรัส SAR-CoV-2 และตัวอย่างที่ส่งตรวจจากภาครัฐและเอกชน พบการปนเปื้อนสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 จานวน 24 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 3.0 ของตัวอย่าง ทั้งหมด ได้แก่ ผลไม้ จานวน 1 ตัวอย่าง น้าและน้าแข็ง จานวน 2 ตัวอย่าง และพื้นผิวสัมผัส จานวน 21 ตัวอยา่ ง  มติ พิ ้นื ท่ี (Area base) 1. โครงการประเมินความเส่ียงของการปลอมปนปลาปักเป้า โดยการตรวจเครื่องหมายโมเลกุล จาเพาะการปนเปอ้ื นสารพษิ เตโตรโดท็อกซินและจุลนิ ทรีย์ทท่ี าใหเ้ กิดโรคในอาหารแปรรูปทผ่ี ลติ จากปลา การตรวจเอกลักษณ์ DNA ปลาปักเป้า ปริมาณสารพิษเตโตรโดท็อกซิน และจุลินทรีย์ท่ีทาให้ เกิดโรคเพื่อประเมินความเสี่ยงเบ้ืองต้นของการปลอมปนปลาปักเป้าในอาหารแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลา คือ ปลาเส้นปรงุ รส ลูกช้ินปลา ไส้กรอกปลา ปลาบดปรงุ รส และปลาแห้งปรุงรส จานวน 69 ตวั อยา่ ง ในช่วงเดือน มีนาคมและเมษายน 2564 จากตลาดในจังหวัดชลบุรี สมุทรสงคราม และสมุทรสาคร ประกอบด้วยตัวอย่าง ท่ีมีฉลาก 29 ตัวอย่าง (ร้อยละ 42) และไม่มีฉลาก 40 ตัวอย่าง (ร้อยละ 58) โดยการตรวจวิเคราะห์ดีเอ็นเอ จาเพาะของปลาปักเป้าท้ัง 3 สายพันธ์ุ ด้วยวิธี PCR-RFLP พบการปลอมปนปลาปักเป้า ทั้งหมด 10 ตัวอย่าง จากตัวอย่างท่ีไม่มีฉลาก คิดเป็นร้อยละ 14.5 และตรวจวเิ คราะห์ปริมาณสารพิษเตโตรโดทอ็ กซิน ด้วยเทคนิค LC-MS/MS ผลการตรวจวิเคราะห์พบสารพิษเตโตรโดท็อกซิน 8 ตัวอย่าง โดยมีปริมาณท่ีพบอยู่ระหว่าง น้อยกวา่ 0.100-1.27 มลิ ลิกรัมต่อกิโลกรมั ผลติ ภณั ฑ์อาหารแปรรูปที่พบปรมิ าณสารพิษเตโตรโดท็อกซินสูงสุด คือ ปลาแห้งปรุงรส มีค่าเฉล่ีย 0.200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และตรวจการปนเป้ือนจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค 6ชนดิ ไดแ้ ก่ B.cereus, C. perfringens, Salmonella spp., S. aureus, V.cholera และ V. Parahaemolyticus ผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างอาหารแปรรปู ท่ีผลิตจากปลา 69 ตวั อยา่ ง พบการปนเปื้อน Salmonella spp. ใน 2 ตัวอยา่ ง คือ ลูกชิ้นปลาและปลาบดปรงุ รส ซึ่งมีปริมาณเชอื้ จุลนิ ทรยี ์ทต่ี รวจพบเกนิ มาตรฐานกาหนด 7

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 2. โครงการสารวจการปะปนของพืชดัดแปรพันธุกรรมของข้าวโพด ถ่ัวเหลือง มะละกอ ข้าว และ ขา้ วสาลี ในผลติ ภัณฑอ์ าหาร ปัจจุบนั การผลติ พชื ดัดแปรพันธกุ รรมหลากหลายทงั้ ชนิดของพืชและจานวนสายพันธุ์ที่มีการพัฒนา มีการดัดแปลงพันธุ์ข้าวโพดมากกว่า 20 สายพันธุ์ ถั่วเหลืองมากกว่า 10 สายพันธุ์ และมะละกออีกหลาย สายพันธุ์ ซ่ึงข้อกาหนดตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี 251) พ.ศ. 2545 เร่ือง การแสดงฉลาก อาหารท่ีได้จากเทคนิคการดัดแปรพันธุกรรมหรือพันธุวิศวกรรม ควบคุมเฉพาะข้าวโพดและถั่วเหลือง และ อยู่ระหว่างการแก้ไขข้อกาหนดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และกาหนดให้มี positive list สาหรับ รายชื่อพืชดัดแปรพันธุกรรมที่ผ่านการประเมินความปลอดภัยจากหน่วยงานท่ีรับผิดชอบแล้ว การสารวจน้ี จงึ ทาเพื่อดแู นวโนม้ ของสายพนั ธ์ุพืชดดั แปรพนั ธุกรรมทม่ี ีในอาหารทจี่ าหนา่ ยในประเทศ โดยมีการเกบ็ ตวั อย่าง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืช 5 ชนิด คือ ข้าวโพด ถั่วเหลือง มะละกอ ข้าว และข้าวสาลี จากแหล่งจาหน่ายห้างสรรพสินค้า ร้านค้า ตลาดสด ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัด อุทัยธานี และจังหวัดพิจิตร จานวน 150 ตัวอย่าง เพ่ือตรวจวิเคราะห์ ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรมทั้งหมด 18 ชนิด ถั่วเหลืองดัดแปรพันธุกรรมท้ังหมด 12 ชนิด และมะละกอดัดแปรพันธุกรรม 2 ชนิด ด้วยวิธี PCR หรือ Real Time PCR ผลการสารวจตรวจพบพืชดัดแปรพันธุกรรม 43 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 28.7 พบเฉพาะข้าวโพด ถั่วเหลือง และมะละกอ และตรวจไม่พบพืชดัดแปรพันธุกรรมในข้าวและข้าวสาลี ทุกตัวอย่าง เมอ่ื แยกเป็นตามชนิดอาหาร ตรวจพบถ่ัวเหลืองดัดแปรพันธุกรรม 27 ตัวอย่าง สายพันธ์ุท่ีพบ คือ A2704, A5547, DAS44406, DP305423, MON89788 RRs และ MON87708 ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม 9 ตัวอย่าง สายพันธ์ุที่พบ คือ Bt11, 3272, 59122, GA21, MON810, MON88017, MON89034, MIR162, MIR604, NK603, T25 และ TC1507 สว่ นมะละกอตรวจพบเปน็ coat protein PRSV 7 ตัวอย่าง 3. โครงการสารวจลกู ช้ินเนอื้ ววั ที่จาหน่ายในท้องตลาด โดยวธิ ี PCR จากข้อมูลปริมาณการบริโภคอาหารของประเทศไทย จัดทาโดยสานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2559 พบว่าประชากรไทยอายุ 3 ปีขึ้นไปบริโภคลูกชิ้นจากเน้ือสัตว์ต่างๆ ประมาณ 18 กรัมต่อคนต่อวัน ซ่ึงกระบวนการการแปรรูปเหล่าน้ีทาให้ลักษณะกายภาพภายนอกไม่สามารถบ่งบอกได้ ว่าแปรรูปมาจากเนื้อชนิดใด และข้อกาหนดตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 (ฉบับปรับปรุง 2560) มกี ารควบคุมอาหารตามมาตรา 25 (1) และ (2) ระบุไว้วา่ ห้ามมิใหผ้ ้ใู ดผลติ นาเข้าเพอื่ จาหน่าย หรือจาหนา่ ย ซงึ่ อาหารดงั ต่อไปนี้ อาหารไม่บรสิ ุทธิ์ อาหารปลอม จึงไดจ้ ัดทาการสารวจลูกชนิ้ เนือ้ ท่ีจาหน่ายอยใู่ นท้องตลาด นามาตรวจเอกลักษณ์สารพันธุกรรมโดยวิธี PCR เพ่ือดูการปลอมปน โดยโครงการนี้จะเป็นการคุ้มครอง ผูบ้ ริโภคให้ได้รับประทานอาหารท่ีมีคุณภาพ ไม่ปลอมปน เก็บตัวอย่างลูกช้ินเนอ้ื วัวท่ีจาหน่ายในตลาดสดและ ห้างสรรพสินค้าในพื้นท่ีจังหวัดกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยเก็บตวั อย่างลูกชน้ิ เน้ือววั ชนิดท่ีมฉี ลากและ ไม่มีฉลากรวมท้ังหมด 64 ตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์หาสารพันธุกรรมของเน้ือสัตว์ท่ีนิยมบริโภค 3 ชนิด ประกอบด้วย หมู ไก่ และวัว ด้วยวิธี PCR (Polymerase Chain Reaction) ผลการตรวจวิเคราะห์พบว่า ตรวจพบสารพันธุกรรมวัว จานวน 61 ตัวอย่าง (มีฉลาก 37 ตัวอย่าง ไม่มีฉลาก 24 ตัวอย่าง) คิดเป็นร้อยละ 95.3 เมื่อพิจารณาตัวอย่างที่ตรวจพบสารพันธุกรรมวัวจะพบสารพันธุกรรมของสัตว์อื่นปะปนอ ยู่ด้วย โดยสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มที่พบสารพันธุกรรมหมูปะปนกับสารพันธุกรรมวัว จานวน 4 ตัวอย่าง (มฉี ลากทุกตัวอย่าง) คิดเปน็ ร้อยละ 6.25 2) กลุ่มท่ีพบสารพันธุกรรมไก่ปะปนกับสารพันธุกรรมวัว จานวน 37 ตัวอย่าง (มีฉลาก 20 ตัวอย่าง ไม่มีฉลาก 17 ตัวอย่าง) คิดเป็นร้อยละ 57.8 และ 3) กลุ่มที่พบ ท้ังสารพันธุกรรมหมูและไก่ปะปนกับสารพันธุกรรมวัว จานวน 20 ตัวอย่าง (มีฉลาก 13 ตัวอย่าง ไม่มีฉลาก 8

รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 7 ตัวอย่าง) คิดเป็นร้อยละ 31.2 และตรวจพบเฉพาะสารพันธุกรรมไก่เท่าน้ัน จานวน 3 ตัวอย่าง (มีฉลากทุก ตัวอย่าง) คิดเป็นร้อยละ 4.7 4. การสารวจบอร์แรกซ์ในปาท่องโก๋ ในพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล การทาปาท่องโก๋ พบว่าสารที่ให้ความกรอบ คือ แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต ( Ammonium Bicarbonate) หรือ เบคก้ิงแอมโมเนีย (Baking Ammonia) ภาษาจีนเรียกว่า “เฉาก่า” (แอมโมเนียตกผลึก) ลักษณะทางกายภาพของแอมโมเนียมไบคาร์บอเนต มีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวที่อุณหภูมิห้อง มีสูตรทางเคมี NH4HCO3 สามารถละลายน้าได้ จะสลายตัวเม่ือได้รับความร้อนท่ีอุณหภูมิ 36-70 องศาเซลเซียส โดยเมื่อ สลายตัวจะให้สาร 3 ชนิด คือ คาร์บอนไดออกไซด์ (แก๊ส) แอมโมเนีย (แก๊ส) และน้า (ทาให้ปาท่องโก๋ฟูมีรู ใหญ่ๆ) นอกจากน้ียังมีสูตรทาแป้งท่ีไม่มีแอมโมเนีย จะมีการใช้ยีสต์ โซเดียมไบคาร์บอเนต (เบคกิ้งโซดา) และ ผงฟู สานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหารจึงได้จัดทาโครงการสารวจการปนปลอมสารบอร์แรกซ์ ในปาท่องโก๋ท่ีทาให้เกิดความกรุบกรอบ ในพ้ืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตัวอย่างปาท่องโก๋ท้ังหมด จานวน 80 ตัวอย่าง แบ่งตัวอย่างออกเป็น 3 ประเภท คือ ปาท่องโก๋แบบคู่ 58 ตัวอย่าง ซาลาเปา 2 ตัวอย่าง ปาท่องโก๋แบบจ๋ิวกรอบ 15 ตัวอย่าง และปาท่องโก๋ท่ีได้รับความนิยมสูง (แบรนด์ดัง) 5 ตัวอย่าง ผลจากการ ตรวจด้วยชุดทดสอบบอร์แรกซ์ ไม่พบบอร์แรกซ์ทุกตัวอย่าง และจากการดมกลิ่น พบว่ามีจานวน 7 ตัวอย่าง (ร้อยละ 9) ท่ีพบว่ามีกลน่ิ แอมโมเนยี 5. โครงการสารวจคณุ ภาพและความปลอดภยั ของสว่ นผสมหรอื ท็อปป้ิงเมด็ ไข่มุก และเยลล่ขี องชานม จากข้อมูลการสารวจของ Grab Food ในปี 2561 พบว่าคนไทยบริโภคชานมไข่มุกมากที่สุด ของเอเชีย เฉลีย่ คนละ 6 แกว้ ตอ่ เดือน และมีมลู คา่ ทางการตลาดท่ีสูง สานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร จึงได้จัดทาการสารวจคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์เม็ดไข่มุกและเยลล่ีในชานม โดยเก็บตัวอย่าง ไข่มุกและเยลล่ีท้ังหมด 40 ตัวอย่าง ประกอบด้วย กลุ่มประเภทบรรจุถึงปิดสนิทแบบพร้อมรับประทาน หรือ พร้อมใช้ จานวน 14 ตัวอย่าง และกลุ่มประเภทเตรียมเองจากเม็ดไข่มุกแบบแห้งจากซุ้มร้านชานม (คีออส) จานวน 26 ตัวอย่าง นามาตรวจวิเคราะห์หาวัตถุกันเสีย และการปนเป้ือนจุลินทรีย์ที่บ่งช้ีสุขลักษณะ และ ทาให้เกิดโรค ผลการสารวจพบว่าตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มประเภท ไม่ผ่านมาตรฐานคุณภาพทางเคมีและ ทางจุลชีววิทยา รวมท้ังสิ้น 15 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 37.5 โดยไม่ผ่านคุณภาพทางเคมี พบสารกันเสียหรือ สารกันบูดท้ัง 40 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 100 โดยเกินเกณฑ์มาตรฐาน 9 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 22.5 และ ไม่ผ่านเกณฑ์ด้านจุลชีววิทยา 7 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 17.5 พบ Coliforms ต้ังแต่ 3.6 ถึง >1,100 MPN/ กรัมจานวน 15 ตวั อยา่ ง Faecal coliforms ปริมาณ 14 ถึง 110 MPN/กรัมจานวน2 ตัวอยา่ ง Escherichia coli เกินเกณฑ์ในปริมาณ 3 MPN/กรัม จานวน 1 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 2.5 ยีสต์ปริมาณตั้งแต่ 20 ถึง 1,100 CFU/กรัม จานวน 13 ตัวอย่าง โดยยีสต์เกินเกณฑ์มาตรฐาน 1x103 CFU/กรัม จานวน 1 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 2.5 ราปริมาณ 30 CFU/กรมั จานวน 1 ตวั อย่าง ซึ่งอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน 6. โครงการสารวจคณุ ภาพและความปลอดภัยของชาจากพืช โครงการสารวจคุณภาพและความปลอดภัยของชาจากพืช โดยเก็บตัวอย่างจากแหลง่ จาหนา่ ย และ ตรวจวิเคราะห์ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 426) พ.ศ. 2564 เพื่อทราบถึงคุณภาพและความ ปลอดภัยของชาจากพชื ระหวา่ งเดอื นมีนาคมถงึ เดอื นพฤษภาคม 2564 เก็บตวั อยา่ งชาจากพืชบรรจุในภาชนะ บรรจุที่ปิดสนิท ได้แก่ ใบเตย มะตูม ขิง ตะไคร้ ดอกคาฝอย กระเจยี๊ บ เก๊กฮวย ใบหม่อน หล่อฮังก๊วย พุทราจีน อัญชัน หญ้าหวาน ที่อยู่ในรูปซองชงและแบบต้ม รวมท้ังส้ิน 40 ตัวอย่าง ท่ีจาหน่ายในร้านค้าปลีก ร้านค้าส่ง ห้างสรรพสินค้า และออนไลน์ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตรวจวิเคราะห์ความช้ืน จุลินทรีย์ที่ทาให้ 9

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 เกิดโรค (Salmonella spp. และ Staphylococcus aureus) สารปนเปื้อน (แคดเมี่ยม สารหนู และตะก่ัว) สารพิษตกค้าง (สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช) และวัตถุเจือปนอาหาร (สีสังเคราะห์ และซัลเฟอร์ไดออกไซด์) ยีสต์และรา ส่ิงแปลกปลอม และกรดซาลิซิลิค ผลการสารวจพบว่าแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 ประเภท คือ ชนิดบรรจุซองชง (24 ตัวอย่าง) และแบบต้ม (16 ตัวอย่าง) ผ่านมาตรฐาน 16 ตัวอย่าง (ร้อยละ 40.0) และ ไม่ผ่านมาตรฐาน 24 ตัวอย่าง (ร้อยละ 60.0) สาเหตุที่ไม่ผ่านมาตรฐานจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ความชื้น สารเคมีปอ้ งกันกาจัดศัตรพู ืช สีสงั เคราะห์ แคดเมยี ม และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ตามลาดับ เม่ือแยกตามประเภท พบชนิดบรรจุซองชงไม่ผ่านมาตรฐาน 11 ตัวอย่าง (ร้อยละ 45.8) และแบบต้มไม่ผ่านมาตรฐาน 13 ตัวอย่าง (ร้อยละ 81.3)  ผลงานนวตั กรรม 1. การบริหารจดั การบันทึก primer/probe โดยใช้ QR code ในห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์มีการใช้ Primer และ probe เป็นสารเคมีที่ทาหน้าที่จับกับ ดีเอ็นเอเป้าหมาย ทาให้สามารถเพ่ิมจานวนอย่างรวดเร็วจนได้ปริมาณมากพอท่ีเครื่องจะสามารถตรวจจับได้ ซ่ึงมีการควบคุมคุณภาพโดยกาหนดวันหมดอายุของ stock primer ท่ี 3 ปีหลังจากการเตรียม แต่เน่ืองจาก primer ท่ีใชง้ านในห้องปฏบิ ตั กิ ารมีไม่น้อยกว่า 70 คู่ของ primer และรวม probe ด้วยอีกไมน่ อ้ ยกว่า 30 เส้น การบันทึกและการทบทวนข้อมูลในเอกสารเป็นงานท่ีใช้ท้ังกาลังคนและเวลาในการตรวจสอบวันหมดอายุ จึงได้ศึกษาการนาระบบสารสนเทศมาช่วยในการจัดการ โดยการนา QR code มาใช้เป็นเครื่องมือในการ บันทึกวันที่เตรียมทั้ง stock และ working เป็น soft-file เพื่อท่ีจะสามารถตรวจสอบวันหมดอายุได้อย่าง สะดวก ตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลาผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือ และลดเวลาและแรงงาน ในการตรวจสอบ รวมถึงลดการใช้กระดาษในการบันทึกข้อมูล โดยได้ประยุกต์ใช้ QR code เป็นล้ิงค์ เพ่ือลง ขอ้ มลู ใน google form สามารถใช้งานไดด้ ี 2. การบรหิ ารจัดการข้อมูลคุณภาพของเครื่องมอื โดยใช้ QR code ในปัจจุบนั เคร่ืองมือในห้องปฏบิ ัติการที่เราใชต้ ้องมีการควบคุมคุณภาพ ต้องใช้เอกสารหลายอย่าง ประกอบกันเพ่ือควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่ยอมรับได้ ซ่ึงบ่อยครั้งจะมีอุปสรรคในการค้นหาเอกสาร และข้อมูล เน่ืองจากข้อมูลถูกจัดเก็บอยู่คนละแห่ง และไม่มีระบบระเบียบในการจัดเก็บ ทาให้การทางานไม่มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเท่าที่ควร เพราะฉะน้ันการแก้ปัญหาโดยการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาช่วยในการจัดการข้อมูลโดยการใช้ QR code เป็นตัวเชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลของเครื่องมือแต่ละเคร่ือง โดยนา QR code ติดไว้ท่เี ครื่องมือเพ่ือให้ง่ายต่อการคน้ หาข้อมูล ลดระยะเวลา และแรงงานในการทางานได้ พร้อมทั้ง ยังเป็นการลดการใช้กระดาษ โดยจัดทาข้อมูลเคร่ืองมือในห้องปฏิบัติการลงไว้ใน google drive และสร้าง QR code ที่เป็นล้ิงค์ของข้อมูลแต่ละเคร่ืองมือ สามารถจัดทาได้ 17 เคร่ืองมือ โดยข้อมูลประกอบด้วย วิธีการใชง้ านเครื่องมือ ประวัตเิ คร่ืองมอื ใบ CERTIFICATE OF CARIBRATION แบบประเมนิ ผลการสอบเทยี บ ผลการทา intermediate check แบบบนั ทกึ แสดงสถานะการสอบเทยี บ 10

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 สารบญั คำนำ หน้า กิตตกิ รรมประกำศ 3 บทสรปุ ผู้บริหำร 4 บทนำ 5 วตั ถปุ ระสงค์ 13 วิธดี ำเนินงำน 13 ประโยชน์ทคี่ ำดว่ำจะได้รบั 14 ผลกำรดำเนินงำน 15 16 - โครงกำรสำรวจเชอ้ื ด้ือยำต้ำนจลุ ชีพ ยำตำ้ นจุลชีพ และสำรเรง่ เนอื้ แดง 17 กลุ่มเบต้ำ-อะโกนิสต์ ตกคำ้ ง ในเนื้อสัตวห์ มกั พร้อมปรงุ ในประเทศไทย ตำมยทุ ธศำสตรเ์ ช้อื ด้อื ยำระดับประเทศ 31 - โครงกำรตรวจสำรเคมีปอ้ งกันกำจดั ศตั รูพืชตกค้ำงในผกั และผลไม้ เพ่อื สนบั สนุนอำหำรปลอดภยั ในโรงพยำบำลและ Green & Clean Hospital 36 - โครงกำรสำรวจหำสำรพนั ธกุ รรมไวรัส SARS-CoV-2 ปนเป้อื นบนบรรจุภัณฑ์ อำหำร ผลไม้ น้ำ นำ้ แข็ง และพนื้ ผวิ สมั ผสั 44 - โครงกำรประเมินควำมเสี่ยงของกำรปลอมปนปลำปกั เป้ำ โดยกำรตรวจเคร่ืองหมำย โมเลกุลจำเพำะกำรปนเปือ้ นสำรพิษเตโตรโดทอ็ กซนิ และจลุ นิ ทรียท์ ี่ทำให้เกิดโรค 50 ในอำหำรแปรรูปทผี่ ลติ จำกปลำ - โครงกำรสำรวจกำรปะปนของพชื ดัดแปรพันธุกรรมของข้ำวโพด ถว่ั เหลอื ง 54 มะละกอ ขำ้ ว และข้ำวสำลี ในผลติ ภัณฑ์อำหำร 58 - โครงกำรสำรวจลกู ชนิ้ เน้ือวัวทีจ่ ำหน่ำยในทอ้ งตลำด โดยวธิ ี PCR 64 - กำรสำรวจบอร์แรกซใ์ นปำท่องโก๋ ในพน้ื ท่กี รุงเทพมหำนครและปริมณฑล - โครงกำรสำรวจคณุ ภำพและควำมปลอดภยั ของสว่ นผสมหรือท็อปป้งิ เมด็ ไข่มกุ 73 และเยลลข่ี องชำนม 78 - โครงกำรสำรวจคณุ ภำพและควำมปลอดภัยของชำจำกพืช - กำรบรหิ ำรจดั กำรบนั ทึก primer/probe โดยใช้ QR code

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) หน้า ประจาปงี บประมาณ 2564 82 สารบญั (ตอ่ ) 88 89 - กำรบรหิ ำรจัดกำรข้อมลู คุณภำพของเครื่องมือโดยใช้ QR code 117 ภำคผนวก โครงกำรและแผนปฏบิ ัตกิ ำร อนิ โฟกรำฟกิ (Infographics)

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 การดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ปงี บประมาณ 2564 บทนา ความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี ก่อให้เกิดความหลากหลายทางด้านการผลิต มีการนาเข้าผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยเฉพาะอาหารและผลิตภัณฑ์ เข้าสู่ประเทศไทยจานวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาและความวิตกกังวลของผู้บริโภคด้านคุณภาพและความ ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพเพ่ิมมากข้ึน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์มีภารกิจหลักในการตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพหรือท่ีเกี่ยวกับอาหาร เพ่ือควบคุมคุณภาพ ประสิทธิภาพ และ มาตรฐานให้เป็นไปตามกฎหมายและเป็นหลักฐานทางคดี รวมท้ังเพ่ือสนับสนุนการป้องกันและควบคุมโรค โดยมีการดาเนนิ งานรว่ มกบั หน่วยงานต่างๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งทง้ั ภาครฐั และเอกชน นอกจากการตรวจสอบเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ยังได้มีการ ดาเนินงานตามนโยบายความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) มาตั้งแต่ปี 2547 และได้กาหนดเป็น นโยบายและแนวทางการดาเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารอย่างต่อเน่ือง เป็นระบบเข้มแข็ง รวมไปถึ ง การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ มีการตรวจสอบและรับรองอาหารปลอดภัย จัดทาคู่มือ และพัฒนา ชุดทดสอบอาหารอย่างง่าย เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถดูแลคุณภาพอาหารของตนเองได้ เพื่อมุ่งเน้น เป้าหมายให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรง และอาหารไทยเป็นท่ียอมรับในระดับนานาชาติ เป็นการเผยแพร่ ภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศไทย อันจะส่งผลดีต่อการท่องเท่ียวและการลงทุน และให้สอดรับกับ แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านสาธารณสุขระยะ 20 ปี ตามนโยบายรัฐบาลทจี่ ะนาประเทศไทยก้าวสู่ Thailand 4.0 รองรบั อนาคตทมี่ ีความเป็นสงั คมเมือง สังคมผู้สูงอายุ ซงึ่ ในปี 2573 ไทยจะมีผู้สูงอายุถงึ 1 ใน 4 ของประชากร ทั้งหมด การเชื่อมต่อการค้าและการลงทุน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และลดความเหล่ือมล้าการเข้าถึง ระบบสุขภาพ ต้ังเป้าหมายให้ \"ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพย่ังยืน\" ภายใต้ ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ 4 ด้าน สู่การปฏิบัติใน 15 แผนงาน 45 โครงการ และมีการถ่ายทอดลงส่หู น่วยงาน ภายในกระทรวง ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์สนับสนุนการดาเนินงานตามนโยบายด้าน Prevention & Promotion Excellence (สง่ เสรมิ สขุ ภาพและป้องกันโรคเปน็ เลศิ ) ดังน้ันในปีงบประมาณ 2564 จึงได้จัดทารายงานการดาเนินงานอาหารปลอดภัยข้ึน เพื่อกาหนดให้มี การตรวจเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่มีข้อมูลที่เป็นระบบ และมีความเส่ียงเป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุข มีการประเมินสถานการณ์ในภาพรวมให้มีความครอบคลุมทั่วถึง จัดทาข้อมูลทางวิชาการ ในภาพรวมของประเทศ ส่งผลให้การดาเนินงานด้านการให้ความคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัย มีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลสงู สุด วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื สนบั สนนุ แผนยุทธศาสตรช์ าติดา้ นสาธารณสขุ ระยะ 20 ปี 2. เพอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพทางหอ้ งปฏบิ ัติการ และประเมนิ สถานการณค์ วามปลอดภัยของอาหาร 3. เพอื่ สร้างความเชือ่ มนั่ แกผ่ บู้ รโิ ภค ประชาชน และสรา้ งภาพพจนท์ ด่ี ีแกป่ ระเทศไทย 13

รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 4. เพื่อสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการ และประชาชนท่ัวไป ในการเฝ้าระวัง ความปลอดภยั ด้านอาหาร 5. เพ่ือสร้างฐานข้อมูลด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหารที่มีคุณภาพถูกต้องอย่างต่อเน่ือง เป็นระบบ วิธดี าเนินงาน 1. การตรวจเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร จาแนกเป็น 1.1 ดาเนินการตรวจเฝา้ ระวงั เชงิ รกุ (Active Surveillance)  ตามมติ ิหลกั (Agenda base) จานวน 3 เร่ือง ได้แก่ 1.1.1 โครงการสารวจเช้ือดื้อยาต้านจุลชีพ ยาต้านจุลชีพ และสารเร่งเนื้อแดงกลุ่มเบต้า- อะโกนิสต์ ตกค้างในเน้ือสัตว์หมักพร้อมปรุงในประเทศไทยตามยุทธศาสตร์ เช้อื ด้อื ยาระดับประเทศ 1.1.2 โครงการตรวจสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชตกค้างในผักและผลไม้ เพ่ือสนับสนุน อาหารปลอดภัยในโรงพยาบาลและ Green & Clean Hospital 1.1.3 โครงการสารวจหาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ปนเป้ือนบนบรรจุภัณฑ์ อาหาร ผลไม้ นา้ นา้ แข็ง และพื้นผวิ สัมผสั  ตามมิตพิ ืน้ ที่ (Area base) จานวน 6 เรอ่ื ง ได้แก่ 1.1.4 โครงการประเมินความเส่ยี งของการปลอมปนปลาปกั เปา้ โดยการตรวจเครื่องหมาย โมเลกุลจาเพาะการปนเป้ือนสารพิษเตโตรโดท็อกซินและจุลินทรีย์ท่ีทาให้เกิดโรค ในอาหารแปรรูปทผ่ี ลติ จากปลา 1.1.5 โครงการสารวจการปะปนของพืชดัดแปรพันธุกรรมของข้าวโพด ถ่ัวเหลือง มะละกอ ขา้ ว และขา้ วสาลี ในผลติ ภณั ฑอ์ าหาร 1.1.6 โครงการสารวจลกู ช้ินเน้อื ววั ที่จาหนา่ ยในท้องตลาด โดยวิธี PCR 1.1.7 การสารวจบอรแ์ รกซ์ในปาท่องโก๋ ในพน้ื ที่กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล 1.1.8 โครงการสารวจคุณภาพและความปลอดภัยของส่วนผสมหรือท็อปป้ิงเม็ดไข่มุก และเยลลี่ของชานม 1.1.9 โครงการสารวจคุณภาพและความปลอดภัยของชาจากพชื 1.2 ผลงานนวัตกรรม จานวน 2 เร่ือง ได้แก่ 1.2.1 การบริหารจัดการบันทึก primer/probe โดยใช้ QR code 1.2.2 การบริหารจัดการขอ้ มูลคุณภาพของเคร่ืองมือโดยใช้ QR code 2. ประสานงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารแต่ละโครงการกบั หน่วยงานภายนอกท่เี ก่ียวข้อง 3. ดาเนนิ การตามแผน เก็บตวั อยา่ ง ตรวจวิเคราะห์ และประเมนิ ผลโครงการ 4. กากับติดตามความก้าวหน้า 5. จัดทาหนังสือรายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 เพอื่ ส่งขอ้ มลู ใหห้ น่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ งนาไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป 14

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั ทราบสถานการณ์การตกค้างและการปนเปื้อนด้านสารเคมี ด้านจุลินทรีย์ ในอาหารและผลิตภัณฑ์ ในภาพรวมของประเทศ และพฒั นาศักยภาพการตรวจวิเคราะหด์ ้านอาหารให้ครอบคลมุ และขยายเครือขา่ ย  เพอ่ื ให้มขี อ้ มูล/สถานการณด์ ้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหารของประเทศ  เพอื่ ตอบโต้ภาวะฉกุ เฉินดา้ นความปลอดภัยอาหารของประเทศ พร้อมส่อื สารแจง้ เตือนภยั ผ้บู ริโภค  เพื่อปรบั ปรุง แก้ไข เพ่มิ เติม ข้อกาหนดทางกฎหมายของประเทศ  เพ่ือพัฒนาศักยภาพผปู้ ระกอบการผลิตอาหารใหม้ สี ว่ นร่วมในเรอื่ งความปลอดภัยอาหาร  เพอื่ พัฒนาศกั ยภาพผบู้ รโิ ภคใหร้ ูจ้ ักเลือกซอ้ื -บริโภคอาหารที่มีคุณภาพและความปลอดภัย  เพื่อสง่ เสริมการทอ่ งเท่ยี ว และสร้างภาพลักษณท์ ี่ดีของประเทศไทย  เพ่ือสนับสนุนเศรษฐกิจและผู้ประกอบการอาหารในประเทศ และผู้นาเข้า/ส่งออกอุตสาหกรรม อาหาร  เพอื่ สนบั สนนุ ยทุ ธศาสตรค์ วามปลอดภัยด้านอาหารตลอดหว่ งโซ่ใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ทกุ ระดบั ช้นั 15

ผลการดาเ ินนงาน cccccccccccccccccccccccccccccccc cccccccccccccccccccccc

cccccccccccccccccccccccccccccccccccรายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) cccccccccccccccccccประจาปงี บประมาณ 2564 โครงการสารวจเชือ้ ดอื้ ยาต้านจลุ ชีพ ยาต้านจุลชีพ และสารเรง่ เนือ้ แดง กลุ่มเบตา้ -อะโกนสิ ต์ ตกคา้ งในเนือ้ สตั วห์ มักพรอ้ มปรุงในประเทศไทย ตามยุทธศาสตร์เชอ้ื ดื้อยาระดบั ประเทศ บทนา ปจั จุบนั อาหารประเภทบุฟเฟต์ปงิ้ ย่าง ชาบู เป็นที่นิยมบริโภคอย่างแพร่หลาย ซ่งึ วัตถุดบิ ท่ีใช้ส่วนใหญ่ คือ เน้ือสัตว์ดิบ ได้แก่ เน้ือหมู เน้ือวัว และเนื้อไก่ โดยนามาตัดแต่งและหมักปรุงรสเพ่ิมเติม อีกทั้งด้วยวิธี การบริโภคอาหารประเภทนี้ มักผ่านการให้ความร้อนในเวลาส้ัน เช่น การปิ้งย่าง หรือการจุ่มแช่ในน้าเดือด และมีการใช้ภาชนะปนกันระหว่างเนื้อสัตว์สุกและเนื้อสัตว์ดิบ ทาให้เพิ่มความเส่ียงท่ีผู้บริโภคจะรับ เช้ือจุลินทรีย์ ซึ่งรวมไปถึงเชื้อจุลินทรีย์ที่ด้ือต่อยาต้านจุลชีพด้วย และในกระบวนการเพาะเลี้ยงสัตว์นอกจาก จะมีการใช้ยากลุ่มยาตา้ นจุลชพี เพื่อการป้องกันและรกั ษาโรคในสัตว์แล้ว ยังมกี ารใช้ยาเพ่ือเร่งการเจริญเติบโต (growth promotion) หรือเพ่ือการอื่นซึ่งผิดวัตถุประสงค์ เช่น ใช้สารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ในการ ปรับปรงุ คุณภาพซากของเน้ือหมูและเนื้อวัว ซึ่งทาให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภคถ้ามีระยะการหยุด ยาไม่เหมาะสม ดังนั้นกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยสานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ร่วมกับศูนย์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ 6 แห่ง ได้แก่ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงใหม่ นครสวรรค์ สมุทรสงคราม นครราชสีมา ชลบุรี สุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค จึงจัดทาโครงการ สารวจการปนเป้ือนเชื้อด้ือยาต้านจุลชีพ ยาต้านจุลชีพและสารเร่งเนื้อแดงกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ตกค้าง ในเน้ือสัตว์หมักพร้อมปรุงของประเทศไทยในปี 2564 ซ่ึงเป็นการดาเนินการตามกรอบการเฝ้าระวังเช้ือดื้อยา ระดับประเทศ (Nation surveillance for antimicrobial resistance in food) เพื่อให้ทราบสถานการณ์ การด้ือยาของเชื้อแบคทีเรียท่ปี นเปอ้ื น ควบค่ไู ปกบั สถานการณก์ ารตกค้างยาต้านจุลชพี และสารเคมกี ลุ่มเบตา้ - อะโกนสิ ต์ ในเน้ือสตั วห์ มักพรอ้ มปรงุ โดยตรวจหาการปนเป้อื นเช้อื ดือ้ ยาตา้ นจลุ ชพี ในแบคทีเรยี ท่ีสนใจจานวน 5 ชนิด ได้แก่ Escherichia coli, Enterococcus faecalis, Enterococcus faecium, Salmonella spp., และ Staphylococcus aureus และยาต้านจุลชพี ตกค้าง 7กลุ่ม (กลมุ่ amphenicol, -lactam, macrolide, quinolone, sulfonamide, tetracycline และ nitrofuran metabolite รวม 51 ชนิด) และสารเคมี กลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ 4 ชนิด ด้วยเทคนิค LC-MS/MS ในตัวอย่างเนื้อหมู เน้ือวัว เนื้อไก่ หมักพร้อมปรุง จากแหล่งจาหน่ายที่เป็นตัวแทนจาก 5 ภาค โดยแต่ละแห่งเก็บตัวอย่างจาก 3 จังหวัด จังหวัดละ 2 แหล่ง ได้แก่ ตลาดสดขนาดใหญ่/ร้านจาหน่าย 1 แห่ง ห้างสรรพสินค้า/ซุปเปอร์มาร์เก็ต 1 แห่ง เก็บตัวอย่างจาก ท้ังหมด 22 จังหวดั รวมท้ังสิ้น 150 ตัวอย่าง 17

รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อทราบสถานการณ์การด้ือยาต้านจุลชีพของเชื้อแบคทีเรียท่ีปนเป้ือนในเนื้อสัตว์หมักพร้อมปรุง ควบคู่ไปกับสถานการณ์การตกค้างของยาต้านจุลชีพ และการตกค้างสารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ของประเทศไทย 2. เพ่ือดคู วามเช่ือมโยงของยาต้านจุลชพี ตกคา้ งกบั การดอื้ ยาตา้ นจลุ ชีพของเชื้อแบคทีเรยี ทปี่ นเปือ้ น 3. เพื่อจัดทาข้อมูลการด้ือยาต้านจุลชีพในเชื้อแบคทีเรียที่ปนเป้ือนในเนื้อสัตว์หมักพร้อมปรุง เพ่ือนาไปเขา้ สู่ระบบเฝา้ ระวงั และแจ้งเตือนเช้ือดื้อยาของประเทศแบบบูรณาการ 4. เพ่ือส่ือสารความเส่ียงเชอ้ื ดอ้ื ยาต้านจลุ ชพี ยาตา้ นจลุ ชีพ และสารเคมกี ลุม่ เบตา้ -อะโกนสิ ต์ ตกค้าง กับการบริโภคเนื้อสัตว์หมักพร้อมปรุงในอาหารประเภทปิ้งย่าง ชาบู ให้แก่ผู้บริโภค และข้อมูลที่ได้ให้กับ หนว่ ยงานทม่ี ีอานาจหน้าท่ีในการออกกฎหมายใช้ในการทวนสอบความเหมาะสมของมาตรการ วธิ ีดาเนนิ งาน 1. เดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2563 รวบรวมข้อมูลและสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับเชื้อดื้อยา ต้านจุลชีพและยาต้านจุลชีพ และสารเร่งเน้ือแดงกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ตกค้างในเน้ือสัตว์ดิบ และเน้ือสัตว์ หมักพร้อมปรุงในประเทศและต่างประเทศ เตรียมความพร้อมด้านวิธีวิเคราะห์ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือ และสารมาตรฐานท่เี ก่ียวขอ้ ง 2. เดือนธันวาคม 2563 ถึงเดือนมกราคม 2564 สานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประสานงานกับหน่วยงานเครือข่ายศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท้ัง 6 แห่ง ได้แก่ ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยเ์ ชียงใหม่ นครสวรรค์ สมุทรสงคราม นครราชสีมา ชลบรุ ี และสรุ าษฎร์ธานี 2.1 แจ้งจังหวัดที่คัดเลือกให้เป็นตัวแทนในการเก็บตัวอย่างกับศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ท่รี บั ผดิ ชอบ 2.2 แจ้งแนวทางการเกบ็ ตัวอยา่ งและการจัดการตวั อย่าง ชนิดตวั อย่าง แหล่งเกบ็ ปริมาณ จานวน การส่งตัวอย่างมาสานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร เพื่อวิเคราะห์ยาต้านจุลชีพและสารเร่งเนื้อแดง กลมุ่ เบตา้ -อะโกนิสต์ ตกค้าง 2.3 แจ้งรายละเอียดวิธีวิเคราะห์ท่ีใช้คัดแยกเช้ือแบคทีเรียที่สนใจ พร้อมทั้งแนวทางการส่งเชื้อ ที่แยกได้จากตวั อยา่ งมาสานกั คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร 2.4 การจัดสรรงบประมาณให้แต่ละหน่วยงานท่ีร่วมดาเนินการ และจัดหาอาหารเลี้ยงเช้ือและ นา้ ยาที่ใชใ้ นการตรวจวิเคราะห์ 3. เดือนกุมภาพันธถ์ ึงเดือนกรกฎาคม 2564 ดาเนินการเก็บตวั อย่าง โดยศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ท้ัง 6 แหง่ แต่ละแหง่ รบั ผดิ ชอบ 3 จังหวดั รวม 18 จังหวัด จานวน 108 ตวั อยา่ ง และสานักคุณภาพและความ ปลอดภัยอาหาร รับผิดชอบกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ จานวน 42 ตัวอย่าง รวมตัวอย่างท้ังหมด 150 ตัวอย่าง โดยเก็บจากแหล่งจาหน่าย 2 แหล่ง ได้แก่ ตลาดสดขนาดใหญ่/ ร้านจาหน่าย 1 แห่ง ห้างสรรพสนิ ค้า/ซุปเปอร์มาร์เกต็ 1 แห่ง โดยเก็บ 3 ตัวอย่าง/แห่ง ประกอบด้วยเน้ือหมู เน้อื ไก่ และเน้ือวัวหมักพร้อมปรงุ 18

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 ลาดบั ท่ี หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ จงั หวัดทเี่ ก็บตัวอย่าง จานวนตวั อย่าง 1 ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 1 เชยี งใหม่ 18 2 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 3 นครสวรรค์ เชยี งใหม่ ลาพนู ลาปาง 18 3 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 5 สมุทรสงคราม 18 4 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 6 ชลบุรี พษิ ณโุ ลก ชยั นาท กาแพงเพชร 18 5 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 9 นครราชสมี า 18 6 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 สรุ าษฎรธ์ านี สมุทรสงคราม นครปฐม ราชบุรี 18 7 สานกั คณุ ภาพและความปลอดภัยอาหาร ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา 42 รวม นครราชสมี า บรุ รี มั ย์ ชัยภมู ิ 150 สุราษฎรธ์ านี นครศรธี รรมราช ชมุ พร กรุงเทพมหานคร นนทบรุ ี ปทมุ ธานี สมุทรปราการ 3.1 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์นาตัวอย่างที่เก็บ วิเคราะห์แยกเชื้อแบคทีเรีย 4 ชนิดที่ปนเป้ือน ในตัวอย่าง ไดแ้ ก่ E. coli, Enterococcus spp., Salmonella spp. และ Staphylococcus aureus (สาหรับ เชื้อ Enterococcus spp. ส่งเชื้อมาให้สานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหารเป็นผู้คัดแยกเฉพาะเช้ือ E. faecalis และ E. faecium) 3.2 นาเชื้อทีแ่ ยกไดแ้ ละยืนยันผลเรียบรอ้ ยแลว้ มาทดสอบความไวต่อยาตา้ นจุลชีพด้วยวิธี broth microdilution เพอื่ หาคา่ Minimum Inhibitory Concentration (MIC) ด้วยเคร่ืองตรวจหาความไวของเชื้อ ต่อยาตา้ นจลุ ชีพแบบอัตโนมัติ (Automated antimicrobial susceptibility testing) (BD PhoenixTM M50; USA) โดยอา้ งอิงชนิดยาตา้ นจุลชพี ท่ที ดสอบ และเกณฑต์ ัดสินตามทกี่ าหนดใน CLSI (Clinical & Laboratory Standards Institute) ของประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงตรวจสอบการดื้อยา colistin ในเช้ือ E. coli และ Salmonella spp. โดยตรวจหายีนด้ือยา mcr ด้วยวิธี multiplex PCR และกรณีพบ ยืนยันด้วยวิธี broth microdilution 3.3 ตรวจวิเคราะห์ยาต้านจุลชีพตกค้าง 7 กลุ่ม (กลุ่ม Amphenicol, -lactam, Macrolide, Quinolone, Sulfonamide, Tetracycline และ Nitrofuran metabolite) รวม 51 ชนิด รวมท้ังสารเร่งเน้ือ แดงอีก 4 ชนดิ ด้วยเทคนคิ LC-MS/MS 19

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 ตารางที่ 1 ขอบขา่ ยยาสตั ว์ตกคา้ งที่ตรวจวเิ คราะห์ จานวน 8 กลมุ่ รวม 55 ชนิดสาร ลาดบั ที่ กลุม่ ลาดบั ท่ี ชือ่ ยา 1 Antimicrobial-Amphenicol จานวน 3 สาร 1 chloramphenicol 2 Antimicrobial--lactams 2 florphenicol จานวน 9 สาร 3 thiamphenicol 3 Antimicrobial-Macrolides 4 amoxicillin จานวน 4 สาร 5 ampicillin 6 cloxacillin 4 Antimicrobial-Quinolones 7 dicloxacillin จานวน 12 สาร 8 oxacillin 9 cefalexin 5 Antimicrobial-Sulfonamides 10 cefapirin จานวน 15 สาร 11 cefazolin 12 nafcilin 13 erythromycin 14 josamycin 15 lincomycin 16 tilmicosin 17 ciprofloxacin 18 danofloxacin 19 difloxacin 20 enrofloxacin 21 flumequine 22 levofloxacin 23 marbofloxacin 24 nalidixic acid 25 norfloxacin 26 ofloxacin 27 oxolinic acid 28 sarafloxacin 29 dapsone 30 ormetoprim 31 sulfadiazine 32 sulfadimidine 33 sulfadimethoxine 34 sulfadoxine 20

รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 ตารางที่ 1 ขอบข่ายยาสตั ว์ตกค้างที่ตรวจวเิ คราะห์ จานวน 8 กลุม่ รวม 55 ชนดิ สาร (ตอ่ ) ลาดับท่ี กล่มุ ลาดับท่ี ชอ่ื ยา 5 Antimicrobial-Sulfonamides (ต่อ) จานวน 15 สาร (ตอ่ ) 35 sulfamerazine 36 sulfamethoxazole 6 Antimicrobial-Tetracycline 37 sulfamonomethoxine จานวน 4 สาร 38 sulfapyridine 39 sulfaquinoxaline 7 Nitrofuran metabolites 40 sulfisoxazone จานวน 4 สาร 41 sulfathiazole 42 sulfisoxazole 8 -agonists 43 trimethoprim จานวน 4 สาร 44 chlortetracycline 45 doxytetracycline 46 oxytetracycline 47 tetracycline 48 AMOZ 49 AOZ 50 AHD 51 SEM 52 brombuterol 53 clenbuterol 54 ractopamine 55 salbutamol 4. เดอื นสงิ หาคมถงึ เดือนกนั ยายน 2564 สรุปและรายงานผลการสารวจเชื้อดื้อยา ยาต้านจลุ ชพี และ สารเร่งเน้ือแดงกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ตกค้าง โดยจัดทารายงานผู้บริโภค และเผยแพร่ข้อมูลสื่อสารความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยให้แก่ประชาชน รวมทั้งจัดข้อมูลส่งเขา้ สู่ระบบเฝ้าระวังและแจ้งเตือนเช้ือดื้อยาของประเทศ แบบบรู ณาการ ผลการดาเนนิ งาน เนือ้ สตั ว์หมกั พรอ้ มปรุง 150 ตวั อย่าง จาก 22 จงั หวัด เป็นเนื้อหมู เนอ้ื ไก่ และเนอ้ื ววั จานวน 60, 47 และ 43 ตัวอย่าง ตามลาดับ ผลการวิเคราะห์ พบการปนเป้ือนแบคทีเรียในเน้ือสัตว์หมักพร้อมปรุง จานวน 135 ตัวอย่าง คดิ เป็นร้อยละ 90.0 ของตัวอย่างท้ังหมด (เป็นเนื้อหมู 54, เนื้อไก่ 42 และเน้ือวัว 39 ตวั อย่าง) โดยเนื้อวัวหมักพร้อมปรุงพบเช้ือปนเป้ือนมากท่ีสุดคือ ร้อยละ 90.7 ส่วนเนื้อหมูและเน้ือไก่ พบเชื้อปนเปื้อน ร้อยละ 90.0 และ 89.4 ตามลาดับ โดยพบการปนเป้ือนเชื้อ E. coli มากท่ีสุด จานวน 113 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 75.3 รองลงมาคอื เช้ือ E. faecalis จานวน 79 ตวั อยา่ ง คดิ เป็นร้อยละ 52.7 เชอ้ื Salmonella spp. 21

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 และ S. aureus พบใกล้เคียงกนั คือ 73 และ 69 ตวั อย่าง ตามลาดับ คดิ เปน็ ร้อยละ 48.7 และ 46.0 ตามลาดับ และพบเชอ้ื E. faecium นอ้ ยท่ีสุด คือ 21 ตวั อย่าง คิดเปน็ ร้อยละ 14.0 ผลการทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพ พบการปนเปื้อนเชื้อดื้อยา จานวน 126 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 93.3 ของตัวอย่างท้ังหมดท่ีพบการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรีย โดยเน้ือหมูหมักพร้อมปรุงพบปนเป้ือน เชื้อด้ือยาต้านจุลชีพมากท่ีสุด จานวน 52 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 96.3 ของตัวอย่างท่ีพบการปนเป้ือน รองลงมาคือ เนื้อไก่หมักพร้อมปรุง พบเชื้อด้ือยาต้านจุลชีพจานวน 39 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 92.9 และ เน้ือวัวหมักพร้อมปรุง พบเช้ือดื้อยาต้านจุลชีพจานวน 35 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 89.7 ของตัวอย่างท่ีพบ การปนเป้ือน โดยเช้ือ E. coli พบว่าดื้อต่อยา Ampicillin และ Tetracycline มากที่สุดร้อยละ 71.7 ท้ังสอง ชนดิ ยา (81 isolates) รองลงมาคอื Chloramphenicol รอ้ ยละ 42.5 (48 isolates) ขณะท่ีเชอื้ Salmonella spp. พบปนเปื้อน 94 ไอโซเลทจาก 73 ตัวอย่าง โดยดื้อต่อยา Ampicillin มากท่ีสุดคือ ร้อยละ 69.1 (65 isolates) รองลงมาคือ Tetracycline ร้อยละ 57.4 เชื้อ E. faecalis พบว่าด้ือต่อยา Ciprofloxacin มากท่ีสุดประมาณร้อยละ 39.2 รองลงมาคือ Norfloxacin ร้อยละ 36.7 เช้ือ E. faecium พบว่าด้ือต่อยา Erythromycin มากท่ีสดุ ประมาณร้อยละ 42.9 รองลงมาคอื ดอื้ ตอ่ ยา Nitrofurantoin ร้อยละ 38.1 ส่วนเช้ือ S. aureus ด้ือต่อยา Penicillin G มากที่สุด ร้อยละ 75.4 รองลงมาด้ือต่อยา Chloramphenicol ร้อยละ 18.8 โดยจากตัวอย่างแบคทีเรียท่ีปนเป้ือนท้ังหมดพบเป็นเช้ือดื้อยาแบบ ESBL (Extended Spectrum Beta-lactamase) 5 ตัวอย่าง เป็นตัวอย่างเน้ือหมูและเน้ือไก่อย่างละ 2 ตัวอย่าง และเนื้อวัว 1 ตัวอย่าง เป็นเชื้อ MRSA (Methicillin Resistance S. aureus) 7 ตัวอย่าง เป็นตัวอย่างเน้ือหมู จานวน 5 ตัวอย่าง และเน้ือไก่และเน้ือวัวอย่างละ 1 ตัวอย่าง และจากตัวอย่างเชื้อปนเปื้อนท่ีแยกได้ พบว่าดื้อต่อยา Colistin 7 ตัวอยา่ ง โดยเป็นเชื้อ E. coli 6 ตัวอย่าง เชื้อ Salmonella spp. 1 ตัวอย่าง เมอ่ื ทาการศึกษายนี ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง (mcr 1-9) ท่ีทาให้เกิดการดื้อตอ่ ยา colistin พบวา่ เช้ือ E. coli จานวน 5 ตัวอยา่ ง มยี ีนที่เก่ียวขอ้ งคือ mcr 1 โดยเป็นเช้ือท่ีแยกจากตัวอย่างหมู 3 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อวัวหมัก 1 ตัวอย่าง ส่วนอีก 1 ตัวอย่าง มียีน ทเ่ี ก่ียวข้องคือ mcr 7 เปน็ เชื้อท่ีแยกจากตัวอย่างเนื้อวัวหมัก 1 ตัวอย่าง เช่นเดียวกับเชื้อ Salmonella spp. 1 ตวั อยา่ ง มยี นี ท่ีเกยี่ วข้องคือ mcr 7 เป็นเช้ือที่แยกจากตวั อย่างเนือ้ ววั หมกั เช่นเดยี วกัน ผลการวิเคราะห์กลุ่มยาต้านจุลชีพตกค้าง 7 กลุ่ม และสารเคมีกลุ่มเบต้าอะโกนิสต์ รวม 8 กลุ่ม ในเนื้อสตั วห์ มักพร้อมปรุง 150 ตวั อยา่ ง พบการตกค้าง 48 ตวั อย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ 32.0 โดยพบยาตา้ นจลุ ชีพ ตกค้างใน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม amphenicol พบ chloramphenicol และ florphenicol กลุ่ม nitrofuran metabolites พบ 3-amino-2-oxazolidinone, AOZ กล่มุ quinolone พบ ciprofloxacin, enrofloxacin, marbofloxacin และ nalidixic acid กลมุ่ sulfonamide พบ sulfadimidine, sulfadoxine และ trimetoprim ตวั อยา่ งท่พี บการตกคา้ งมที งั้ ท่ีพบยาเพียงชนิดเดียว พบมากกกว่า 1 ชนิดในยากล่มุ เดียวกัน เชน่ enrofloxacin พบร่วมกับ ciprofloxacin หรือ enrofloxacin พบร่วมกับ marbofloxacin นอกจากน้ีมีการตรวจพบยา มากกวา่ 1 ชนดิ ในหลายกลุ่มยา เช่น AOZ พบรว่ มกับ enrofloxacin, marbofloxacin และ sulfadimidine เนื้อหมูหมักพร้อมปรุงพบยาต้านจุลชีพตกค้าง 23 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 38.3 ของจานวนเนื้อหมูหมัก พร้อมปรุงท้ังหมด โดยพบปริมาณยาต้านจุลชีพตกค้างเกินค่ากาหนดมากท่ีสุด 4 ตัวอย่าง พบ enrofloxacin 2 ตัวอย่าง ปริมาณ 101.8, 183.3 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม enrofloxacin ร่วมกับ ciprofloxacin 1 ตัวอย่าง ปริมาณ 282.1 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม และ trimethoprim 1 ตัวอย่าง ปริมาณ 141.4 ไมโครกรัมตอ่ กโิ ลกรัม (ปริมาณสารตกค้างสูงสุดท่ีกาหนดให้พบได้; Maximum Residue Limit, MRL ของ enrofloxacin หรือ ผลรวมของ enrofloxacin กับ ciprofloxacin 100 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม trimethoprim 50 ไมโครกรัมต่อ 22

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 กิโลกรัม; commission regulation (EU) No.37/2010 และพบสารที่ห้ามพบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง โดยพบ AOZ ซ่ึงเป็นเมตาโบไลท์ของยา furazolidone จานวน 8 ตัวอย่าง ปริมาณน้อยกว่า 0.3-5.6 ไมโครกรมั ตอ่ กิโลกรมั chloramphenicol 2 ตัวอย่าง ปริมาณ 0.4 ไมโครกรัมตอ่ กโิ ลกรัม (ประกาศกระทรวง สาธารณสขุ กาหนดใหอ้ าหารทุกชนิดมมี าตรฐาน โดยตรวจไมพ่ บการปนเป้อื นของสารเคมี chloramphenicol และเกลือของสารน้ี และ furazolidone และเกลือของสารนี้ รวมถึงสารในกระบวนการสร้างและสลายของ สารดังกล่าวด้วย; ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี 299) พ.ศ. 2549) นอกจากนี้ พบ nalidixic acid 1 ตัวอย่าง ปริมาณ 424.0 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งไม่มีค่า MRL ท่ีกาหนด เนื้อวัวหมักพร้อมปรุงพบยา ต้านจุลชีพตกค้าง 17 ตวั อย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ 39.5 ของจานวนเนื้อวัวหมักพรอ้ มปรงุ ท้ังหมด พบยาที่ห้ามพบ การปนเป้อื น 4 ตัวอยา่ ง AOZ 3 ตัวอยา่ ง ปริมาณนอ้ ยกว่า 0.3-0.3 ไมโครกรัมตอ่ กโิ ลกรัม chloramphenicol 1 ตัวอย่าง ปริมาณ 0.9 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม และพบ nalidixic acid 1 ตัวอย่าง ปริมาณ 29.5 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัม ส่วนเน้ือไก่หมักพบยาต้านจุลชีพตกค้างในสัดส่วนน้อยที่สุด โดยพบ 8 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 17.0 ของจานวนเน้อื ไกห่ มักพร้อมปรงุ ทั้งหมด พบยาท่ีห้ามพบการปนเป้ือน AOZ จานวน 1 ตวั อยา่ ง ปริมาณ น้อยกว่า 0.3 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม และพบ nalidixic acid จานวน 4 ตัวอย่าง ปริมาณน้อยกว่า 10-265.5 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม ผลการวิเคราะห์การตกค้างของสารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ เน้ือวัวหมักมีการตกค้าง มากท่สี ุด พบ 10 ตวั อย่าง คิดเปน็ รอ้ ยละ 23.3 พบ brombuterol 3 ตวั อย่าง ปริมาณ 1.0-1.3 ไมโครกรมั ต่อ กิโลกรัม salbutamol 7 ตัวอย่าง ปริมาณ 1.0-11.9 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม สาหรับเน้ือหมูพบ 7 ตัวอย่าง คดิ เป็นร้อยละ 11.7พบ brombuterol 2 ตวั อยา่ ง ปริมาณ 1.0 และ 1.8 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม clenbuterol 1 ตัวอย่าง ปริมาณ 2.1 ไมโครกรัมตอ่ กโิ ลกรมั และพบ salbutamol 4 ตัวอย่าง ปริมาณ 1.1-8.8 ไมโครกรัม ต่อกิโลกรัม ส่วนเนื้อไก่หมัก พบการตกค้าง 3 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 6.4 พบ brombuterol 1 ตัวอย่าง ปริมาณ 2.6 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม พบ salbutamol 1 ตัวอย่าง ปริมาณ 8.8 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม พบการ ปนเป้ือน 2 สาร ได้แก่ salbutamol และ clenbuterol ปริมาณ 1.9 และ 1.0 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม ตามลาดับ (ประกาศกระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้อาหารทุกชนิดมีมาตรฐาน โดยตรวจไม่พบการปนเปื้อน สารเคมีกลุ่มเบต้า-อะนิสต์ และเกลอื ของสารกลุ่มน้ี รวมถงึ สารในกระบวนการสรา้ งและสลายของสารดังกล่าว ด้วย; ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี 269) พ.ศ. 2546) รายละเอียดชนิดและปริมาณการตรวจพบ แสดงดงั ตารางท่ี 5 23

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 ตารางที่ 2 ผลสารวจการปนเป้ือนเช้อื แบคทเี รีย 5 ชนิด ในเน้ือหมหู มักพร้อมปรงุ เน้ือวัวหมักพร้อมปรุง และ เน้อื ไก่หมักพร้อมปรงุ ตัวอย่างที่ตรวจพบ เนอ้ื หมหู มักพร้อมปรงุ เนอื้ ไก่หมกั พรอ้ มปรุง เนือ้ ววั หมักพร้อมปรงุ รวมทง้ั หมด การปนเป้อื น (จานวน 60 ตัวอยา่ ง) (จานวน 47 ตัวอยา่ ง) (จานวน 43 ตัวอย่าง) (จานวน 150 Escherichia coli จานวน คดิ เปน็ จานวน คิดเป็น จานวน คดิ เปน็ ตวั อย่าง) ตัวอย่าง รอ้ ยละ ตวั อย่าง ร้อยละ ตวั อยา่ ง ร้อยละ จานวน คิดเปน็ ตัวอยา่ ง ร้อยละ 44 73.3 35 74.5 34 79.1 113 75.3 Enterococcus faecalis 34 56.7 23 48.9 22 51.2 79 52.7 Enterococcus faecium 4 6.7 9 19.1 8 18.6 21 14.0 Salmonella spp. 37 61.7 16 34.0 20 46.5 73 48.7 (48 isolates) (20 isolates) (26 isolate) (94 isolate) Staphylococcus aureus 27 45.0 24 51.1 18 41.9 69 46.0 ตารางที่ 3 อัตราการด้ือยาของแบคทีเรีย 5 ชนิด จาแนกตามชนิดเนื้อสัตว์ เปรียบเทียบจากจานวน การปนเปือ้ นเชอื้ จานวนตวั อยา่ ง จานวนตวั อยา่ ง อัตรารอ้ ยละของการพบเชอื้ ดื้อยา (ร้อยละ) ทพี่ บปนเป้อื น ทพี่ บเชอ้ื ดือ้ ยา ชนิดเน้อื สตั ว์ เช้ือแบคทีเรยี E. coli E. faecalis E. faecium Salmonella S. aureus หมักพรอ้ มปรุง (รอ้ ยละ) (113 isolate) (79 isolate) (21 isolate) spp. (69 isolate) (ร้อยละ) 40 (90.9) 21 (61.8) 4 (80.0) (94 isolate) 25 (92.6) เนื้อหมู 54 (90.0) 52 (96.3) 37 (80.4) เนอ้ื ไก่ 42 (89.4) 39 (92.9) 31 (88.6) 13 (56.5) 3 (37.5) 16 (72.7) 18 (75.0) เน้ือวัว 39 (90.7) 35 (89.7) 20 (58.8) 13 (59.1) 2 (25.0) 20 (76.9) 11 (61.1) รวม 135 (90.0) 126 (93.3) 91 (80.5) 47 (59.5) 9 (42.9) 73 (77.7) 54 (78.3) 24

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 25 รปู ที่ 1 กราฟแสดงการด้ือต่อยาตา้ นจุลชพี ของแบคทีเรยี ที่แยกไดจ้ ากเน้ือสัตวห์ มักพรอ้ มปรงุ ปี 2564

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 ตารางที่ 4 แสดงร้อยละการด้ือตอ่ ยาตา้ นจลุ ชพี ของแบคทเี รยี ที่แยกไดจ้ ากเนื้อสัตว์หมักพรอ้ มปรุง ปี 2564 เช้ือทท่ี ดสอบ E. coli Salmonella spp. E. faecalis E. faecium S. aureus (n=113) (n=94) (n=79) ยาตา้ นจลุ ชีพ ไอโซเลท รอ้ ยละ (n=21) (n=69) Amoxi/Clav 3 2.7 ไอโซเลท รอ้ ยละ ไอโซเลท รอ้ ยละ Ampicillin 81 71.7 1 1.1 ไอโซเลท ร้อยละ ไอโซเลท รอ้ ยละ Aztreonam 6 5.3 65 69.1 8 10.1 Cefazolin 14 12.4 14 14.9 31 39.2 1 4.8 Cefepime 6 5.3 17 18.1 Ceftazidime 4 3.5 16 17.0 2 2.5 1 4.8 13 18.8 Ceftriaxone 11 9.7 11 11.7 22 27.8 4 19.0 9 13.0 Chloramphenicol 48 42.5 16 17.0 11 13.9 Ciprofloxacin 20 17.7 40 42.6 28 35.4 11 15.9 Clindamycin 18 19.1 1 1.3 Colistin 6 5.3 10 12.7 1 4.8 Daptomycin 1 1.1 1 1.3 9 42.9 10 14.5 Erythromycin 24 21.2 29 36.7 Gentamicin 12 12.8 1 1.3 12 17.4 HLGR 11 9.7 1 4.8 HLSR 1 1.1 1 1.3 6 28.6 Imipenem 81 71.7 Linzolid 4 4.3 1 1.3 1 4.8 1 1.5 Moxifloxacin 4 3.5 9 13.0 Nitrofurantoin 6 5.3 54 57.4 Norfloxacin 12 10.6 8 38.1 Oxacillin 47 41.6 10 10.6 4 19.0 9 13.0 Penicillin G 47 41.6 Quinuprist/Dalfo 3 3.2 8 11.6 Rifampin 5 4.4 19 20.2 3 14.3 52 75.4 Tetracycline 18 19.1 6 28.6 3 4.3 Teicoplanin Ticarcillin/Clav 1 1.4 Tigecycline Tobramycin 1 4.8 Trimethoprim Trimethoprim/Sulfa 9 13.0 Vancomycin 9 13.0 ESBL MRSA 7 10.1 26

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 ตารางที่ 5 ผลวเิ คราะห์ยาต้านจุลชีพตกค้าง 7 กลุ่ม และสารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ในเนื้อหมู เน้ือวัว และ เนอ้ื ไก่หมัก ชนิดสาร เกณฑ์กาหนด จานวนตวั อยา่ ง จานวนตวั อยา่ ง ปริมาณทีพ่ บ (µg/kg) ทพ่ี บ ทเี่ กนิ เกณฑ์ (µg/kg) เนอื้ หมหู มัก (60 ตวั อยา่ ง พบ 23 ตวั อย่าง) 300 7 (11.7%) 0 (0%) <3.0-13.1 Amphenicol group florfenicol ไมพ่ บ 2 (3.3%) 2 (3.3%) 0.4 ไม่พบ 8 (13.3%) 8 (13.3%) chloramphenicol 100 2 (3.3%) 0 (0%) <3.0-5.6 100 8 (13.3%) 3 (5.0%) <10.0-12.8 Nitrofuran metabolite gr. AOZ 150 2 (3.3%) 0 (0%) <10.0-269.3 ไม่มขี อ้ กาหนด 1 (1.7%) 1 (1.7%) <10.0-78.8 Quinolone group ciprofloxacin 100 1 (1.7%) 0 (0%) 100 1 (1.7%) 0 (0%) 424.0 enrofloxacin 50 1 (1.7%) 1 (1.7%) <10.0 <10.0 marbofloxacin 141.4 nalidixic acid Sulfonamide group sulfadimidine sulfadoxine trimethoprim β-agonist group brombuterol ไมพ่ บ 2 (3.3%) 2 (3.3%) 1.0, 1.8 ไมพ่ บ 1 (1.7%) 1 (1.7%) 2.1 clenbuterol ไม่พบ 4 (6.7%) 4 (6.7%) 1.1-8.8 salbutamol ไม่พบ 1 (2.3%) 1 (2.3%) 200 3 (7.0%) 0 (0%) 0.9 เนอ้ื ววั หมกั (43 ตัวอยา่ ง พบ 17 ตวั อย่าง) ไมพ่ บ 3 (7.0%) 3 (7.0%) <3.0-6.1 100 2 (4.6%) 0 (0%) <0.3-0.3 Amphenicol group chloramphenicol 150 1 (2.3%) 0 (0%) <10.0 ไม่มขี อ้ กาหนด 1 (2.3%) 1 (2.3%) Nitrofuran metabolite gr. florfenicol 100 1 (2.3%) 0 (0%) 45.9 AOZ 29.5 13.5 Quinolone group enrofloxacin marbofloxacin nalidixic acid Sulfonamide group sulfadimidine β-agonist group brombuterol ไม่พบ 3 (7.0%) 3 (7.0%) 1.0-1.3 ไมพ่ บ 7 (16.3%) 7 (16.3%) 1.0-11.9 salbutamol ≤100 1 (2.1%) 0 (0%) 13.1 เน้ือไก่หมัก (47 ตวั อยา่ ง พบ 8ตวั อยา่ ง) ไม่พบ 1 (2.1%) 1 (2.1%) <0.3 ไมม่ ขี ้อกาหนด 4 (8.5%) 0 (0%) <10.0-265.5 amphenicol group florfenicol ไม่พบ 1 (2.1%) 1 (2.1%) 2.6 ไม่พบ 1 (2.1%) 1 (2.1%) 1.0 Nitrofuran metabolite gr. AOZ ไม่พบ 2 (4.2%) 2 (4.2%) 1.9, 8.8 Quinolone gr. nalidixic acid β-agonist group brombuterol clenbuterol salbutamol 27

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 สรปุ และวจิ ารณ์ จากผลการสารวจแสดงให้เห็นวา่ ผู้บรโิ ภคมีความเสี่ยงท่จี ะไดร้ บั เชื้อดอื้ ยา ยาต้านจุลชพี และสารเคมี กลุ่มเบต้าอะ-โกนิสต์ จากการบริโภคอาหารประเภทเน้ือสัตว์หมักพร้อมปรุง แม้ว่าหน่วยงานท่ีเป็นผู้ดูแล การผลติ เน้ือสตั วเ์ พ่ือการบริโภคมีการวางระบบการควบคุมการใชย้ าเพ่ือใหใ้ ช้ยาอย่างสมเหตุผล มปี ระสทิ ธิภาพ และมีความปลอดภัย แต่ยังพบเช้ือดื้อยาต้านจุลชีพในอัตราท่ีสูง ด้านการตกค้างยาต้านจุลชีพ ยาที่พบ ส่วนมากจะอยู่ในกลุ่มยาที่อนุญาตให้ใช้ในการเลี้ยงสัตว์ และส่วนมากตรวจพบไม่เกินค่ามาตรฐานกาหนด แต่ก็ยังคงพบยาที่ไม่อนุญาตให้ใช้ เช่น Nitrofurans และ chloramphenicol นอกจากนี้สารเคมีกลุ่มเบต้า- อะโกนิสต์ ถึงแม้จะมีการรณรงค์ห้ามใช้สารกลุ่มน้ีในการเล้ียงสัตว์มาต้ังแต่ปี 2546 แต่ยังคงมีการตรวจพบสูง จานวนถึงร้อยละ 13.3 อาจเนอื่ งจากมลู เหตุจูงใจ ฟารม์ ปศุสตั วห์ ลายแหง่ ยังคงมีการใช้สารกลมุ่ น้ีเพื่อปรับปรุง คุณภาพเน้ือสัตว์ โดยไม่คานึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค และจากการสารวจพบเช้ือด้ือยามีปริมาณ สูง ซ่ึงอาจมีสาเหตุจากการท่ีได้รับยาต้านจุลชีพเพื่อการรักษาและป้องกันโรค หรือเร่งการเจริญเติบโต ทาให้ แบคทีเรยี ทอ่ี าศัยอย่ใู นสัตว์และสิง่ แวดลอ้ มมีโอกาสได้รบั ยาตา้ นจุลชีพ และเกิดการพัฒนาจนดื้อตอ่ ยาชนดิ น้ัน หรืออาจดื้อต่อยาชนิดอื่นๆ ได้ หรือการปนเป้ือนเช้ือดื้อยาอาจมาจากกระบวนการอื่นๆ เช่น ในขั้นตอน การผลิต แหล่งจาหน่าย รวมทั้งการขนส่ง อย่างไรก็ตาม การปนเปื้อนของเชื้อดื้อยาในสัดส่วนท่ีมากเช่นนี้ อาจสง่ ผลเสียต่อสุขภาพของผู้บรโิ ภคและระบบสาธารณสุข เน่ืองจากทาให้การรักษามปี ัญหาเพ่ิมขน้ึ โดยภาพรวมเชื้อดื้อยา การตกค้างของยาต้านจุลชีพ และสารเคมีกลุ่มเบต้า-อะโกนิสต์ ยังคงเป็น ปัญหาสาคัญของประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้ในการใช้ยาต้านจุลชีพในการเล้ียงสัตว์ ส่งเสริม การผลิตสัตว์เพ่ือการบริโภคแบบปลอดยา โดยข้อมูลท่ีได้จากการสารวจนี้จะถูกนาไปส่ือสารความเสี่ยง และ แจ้งเตือนภัยให้แก่ผู้บริโภค และเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังของประเทศ ด้านเชื้อด้ือยา ยาต้านจุลชีพตกค้าง และ สารเคมีกล่มุ เบต้า-อะโกนิสต์ ตกค้างในเนื้อสัตว์หมักพร้อมปรุงในอาหารประเภทป้ิงย่าง ชาบู รวมถึงประสาน กบั หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อดาเนนิ งานป้องกันเชิงรุกและแก้ไขปัญหาอยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป เอกสารอา้ งองิ 1. The Review on Antimicrobial Resistance. Tackling Drug-Resistant Infections Globally: Final Report and Recommendations (Wellcome Trust and UK Government, 2016). 2. ไทยรัฐ+สถาบันอาหารโครงการอาหารปลอดภัย, เช้ือก่อโรคกับเมนูชาบู สุก้ี ป้ิงย่างพร้อมปรุง, [online], Available: https://www.thairath.co.th/lifestyle/food/2287470 [14 ม.ค. 2565] 3. คณะกรรมการประสานและบูรณาการงานด้านการด้ือยาต้านจุลชีพ, แผนยุทธศาสตร์การจัดการ การด้ือยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 [online], Available: http://dmsic.moph.go.th /index/detail/6849 [30 ธ.ค. 2559] 4 . Clinical and Laboratory Standards Institute. Methods for dilution antimicrobial susceptibility tests for bacteria that grow aerobically. CLSI document M07, 11th edition. Wayne, Pa: 2018. (1-112). 5. Clinical and Laboratory Standards Institute. Performance standards for antimicrobial susceptibility testing. CLSI document M100, 31th edition. Wayne, Pa: 2021. (1-352). 28

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 6. ศศิ เจริญพจน์, การพัฒนาระบบควบคุมยาสัตว์ วัตถุอันตราย (ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อ) และช้ือด้อยาใน การเลี้ยงสัตว์, ฝ่ายยาสัตว์และการจัดการเชื้อด้ือยา กองควบคุมอาหารและยาสัตว์ กรมปศุสัตว์, 2560 [online], Available: http://tsva.or.th/wp-content/uploads/2020/07/dept-livestock-th-book-animal- med-rev2560.pdf [20 ก.พ. 2565] 7. ศศิ เจริญพจน์, ระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยของสัตว์ท่ีเป็นอาหารจากการใช้ยาต้านจุลชีพ และการป้องกันเช้ือด้ือยาต้านจุลชีพจากสัตว์สู่มนุษย์ ในประเทศไทย, วางสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีท่ี 6 ฉบับที่ 3 กค.-กย. 2555 (326-338) 8. วิษณุ ธรรมลขิ ติ กุล, เชอ้ื โรคดอ้ื ยาปฏิชวี นะ (ยาตา้ นจุลชพี ) และการควบคุมและปอ้ งกนั โรคติดเชื้อ ดอื้ ยาปฏชิ ีวนะ, เวชบันทึกศริ ิราช มกราคม-มิถนุ ายน 2557, ปที ่ี 7, ฉบบั ที่ 1, (26-29) 9. สานักงานงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ . ปัญหายาตกคา้ งในเนื้อสัตว์และ แนวทางแกไ้ ข. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ; 2545. หนา้ 145-146. 10. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบับท่ี 299) พ.ศ. 2549 เรื่อง มาตรฐานอาหารทีม่ กี ารปนเป้ือน สารเคมีบางชนิด (ฉบับท่ี 2) ราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 123 ตอนพิเศษ 97 ง. (ลงวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2549) 11. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี 269) พ.ศ. 2546 เรือ่ ง มาตรฐานอาหารทีม่ กี ารปนเป้ือน สารเคมกี ลุ่มเบต้าอะโกนิสต์ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 120 ตอนพิเศษ 47 ง. (ลงวนั ท่ี 23 เมษายน พ.ศ. 2546) หน้า 13 12. Commission Regulation (EU) No. 37/2010 on pharmacologically active substances and their classification regarding maximum residue limits in foodstuffs of animal. Official Journal of the European Union L 15/1. 22 December 2009. 29

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 คณะผูว้ ิจยั ทปี่ รึกษา นางเลขา ปราสาททอง ผูอ้ านวยการสานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร หัวหน้าโครงการ สานกั คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร นางสาวปทั มา แดงชาติ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการ ผรู้ ่วมวจิ ัย สานักคณุ ภาพและความปลอดภัยอาหาร นางลดั ดา แก้วกล้าปัญญาเจริญ นักวิทยาศาสตร์การแพทยช์ านาญการพิเศษ นางทองสุข ปายะนนั ทน์ นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการพิเศษ นางสาวนพรัตน์ ศรมี าก นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบตั กิ าร นายกฤตานน จาปาแพง นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทยป์ ฏิบตั กิ าร นางสาวภทั ราภรณ์ ศรีไหม นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติการ นางสาวพรชนก เมอื งพรหม นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบตั ิการ นางสาวเสาวนยี ์ วาจาสทิ ธิ์ นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบตั ิการ นางสาวสวุ ิมล หมวดหมะ๊ นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบตั กิ าร หน่วยงานสนับสนุน ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 1 เชียงใหม่ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 3 นครสวรรค์ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 5 สมุทรสงคราม ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 6 ชลบุรี ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 9 นครราชสมี า ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 11 สรุ าษฎรธ์ านี 30

ccccccccccccccccccccccccccccccccccรายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ccccccccccccccccccccประจาปงี บประมาณ 2564 โครงการตรวจสารเคมปี อ้ งกนั กาจดั ศตั รูพชื ตกค้างในผกั และผลไม้ เพื่อสนับสนุนอาหารปลอดภยั ในโรงพยาบาลและ Green & Clean Hospital บทนา ตามท่ีองค์การอนามัยโลกมีคาแนะนาให้บริโภคผักผลไม้อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพ่ือช่วยลด ความเส่ียงจากการเป็นโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง (NCDs) ได้ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด เส้นเลือดในสมองตีบ มะเร็ง กระเพาะอาหาร มะเร็งลาไสใ้ หญ่ เปน็ ต้น แต่จากการสารวจของหลายหน่วยงาน พบวา่ ปัจจุบันคนไทยมากกว่า 75% บริโภคผักและผลไม้น้อยกว่า 400 กรัม/วัน สาเหตุสาคัญอย่างหนึ่งท่ีทาให้การบริโภคผักผลไม้น้อย มาจากผู้บริโภคไม่ม่ันใจในความปลอดภัยของสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในผักผลไม้ ตามท่ีได้มี การนาเสนอข่าว ซ่ึงก่อให้เกิดผลกระทบทั้งต่อสุขภาพและเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นค่ารักษาพยาบาลท่ีเพ่ิมข้ึน มูลค่าการบริโภคผักผลไม้ทั้งในประเทศและส่งออกลดลง ดังนั้นเพ่ือให้สอดรับกับการนโยบาย Thailand 4.0 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และก้าวเข้าสู่เป้าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (sustainable development Goals) รัฐบาลจึงได้มีนโยบายส่งเสริม ให้คนไทยบริโภคผักผลไม้ให้มากขึ้น เป็นการดาเนินงานแบบบูรณาการของ 2 กระทรวงสาคัญด้านอาหาร ปลอดภัย (food safety) ท่ีดูแลอาหารตลอดทั้งห่วงโซ่ (food chain) ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุขและ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีหน่วยงานสนับสนุนจากภาครัฐ ได้แก่ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวง มหาดไทย และกระทรวงการคลัง เป็นต้น และภาคเอกชน ได้แก่ กลุ่ม NGO สมาคมห้างค้าปลีก สมาคม ตลาดสด เปน็ ต้น ทั้งน้ีเพอื่ ใหก้ ารดาเนนิ งานเปน็ ไปในทิศทางเป้าหมายเดยี วกันอย่างมปี ระสิทธภิ าพ อาหารปลอดภัยในโรงพยาบาลเป็นโครงการท่ีได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข ให้ดาเนินการ โดยมีเป้าหมายสร้างสุขภาพให้ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัยและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สนับสนุนกลุ่มเกษตรกร สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้แข็งขันได้อย่างย่ังยืน (Smart Hospital) โดยวาง แผนการผลิตกับกลุ่มเกษตรกรให้ผลิตผักผลไม้ปลอดภัยในพื้นท่ี เป็นการสร้างรายได้และสร้างแรงจูงใจให้เกิด กลุ่มเกษตรกรท่ีเป็นคนรุ่นใหม่ที่สามารถพัฒนาต่อยอดความคิดให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ได้ นอกจากน้ันยังเป็น การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้โปร่งใส ยุติธรรม ลดความเล่ือมล้าในสังคมได้ การดาเนินงาน ภายใต้ 3 กลยทุ ธ์ ได้แก่ 1) การควบคมุ มาตรฐาน 2) การส่ือสาร 3) สร้างสิ่งแวดล้อมทเ่ี อ้ือต่อการจัดซอ้ื จดั จา้ ง อีกท้ังโรงพยาบาลซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีให้บริการประชาชน ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน และรักษาสุขภาพ ในแต่ละวันจึงมีกิจกรรมจากผู้มาใช้บริการ รวมท้ังเจ้าหน้าท่ีของโรงพยาบาลจานวนมาก ก่อให้เกิดของเสีย อาทิ เศษอาหารจากโรงอาหาร ร้านอาหาร สิ่งปฏิกูลท่ีเกิดจากการขับถ่าย น้าเสีย ตลอดจนมูลฝอยติดเชื้อ การใช้พลังงาน และการใช้สารเคมีในกิจกรรมต่างๆ ซ่ึงกระบวนการเหล่าน้ี ล้วนส่งผลกระทบต่อปัญหา ส่ิงแวดล้อมของโรงพยาบาลและชุมชนโดยรอบ ดังน้ันกระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายการปฏิบัติภายใต้ ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค (PP&P Excellence) กาหนดให้มี การดาเนินงานเพ่ือดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล ภายใต้โครงการ GREEN & CLEAN Hospital เพื่อให้เกิด 31

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 การพฒั นาอนามยั สิง่ แวดล้อมในโรงพยาบาลได้อยา่ งถูกต้องตามหลักวิชาการและเปน็ มาตรฐานเดียวกันภายใต้ ยุทธศาสตร์หลัก กลยทุ ธ์หลัก CLEAN ไดแ้ ก่ C: Communication การสื่อสารสาธารณะเพือ่ สรา้ งความเข้าใจ L: Leader สร้างบทบาทนาเพื่อเป็นตัวอย่างในการดาเนินงาน E: Effectiveness เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ A: Activity สรา้ งกิจกรรมเพือ่ สร้างจิตสานึกอย่างมีส่วนร่วม N: Network ความร่วมมอื กับภาคีเครือข่ายชมุ ชน และท้องถน่ิ สว่ นกิจกรรม GREEN ประกอบดว้ ย G: Garbage คอื การจดั การมลู ฝอยทกุ ประเภท R: Restroom คือ การพัฒนาส้วมมาตรฐานสะอาด เพียงพอ และปลอดภัย (HAS) E: Energy คือ การจัดการด้านพลังงาน E: Environment คือ การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล N: Nutrition การจัดการสุขาภิบาลอาหารและ การจัดการน้าบริโภคในโรงพยาบาล กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้จัดทาโครงการนี้ขึ้น เพ่ือสนับสนุนอาหาร ปลอดภัยในโรงพยาบาลและ Green & Clean Hospital ในการสร้างระบบการเฝ้าระวังให้เข้มแข็งและย่ังยืน ในรูปแบบบรู ณการท่มี ุ่งเนน้ ความต้องการของประชาชนเปน็ สาคญั วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื สนบั สนุนโครงการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย และ GREEN & CLEAN hospital ของกระทรวง สาธารณสขุ 2. เพ่ือทราบสถานการณก์ ารตกค้างของสารเคมีปอ้ งกันกาจัดศัตรูพืชในผักและผลไม้สดท่ีเป็นวัตถุดิบ ในการปรงุ ประกอบอาหารสาหรับผู้ป่วยในโรงพยาบาล 3. ทวนสอบเกณฑ์กาหนดในการคัดเลือกวัตถุดิบของโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย กระทรวง สาธารณสขุ 4. ประเมินผลการตรวจวิเคราะห์รายงานให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อหาแนวทาง ปรับปรุงแก้ไข ในการควบคมุ การใช้สารเคมปี ้องกันกาจดั ศัตรูพชื ให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ วิธดี าเนินงาน ตรวจวิเคราะห์สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชตกค้างทางห้องปฏิบัติการ 8 กลุ่ม 132 ชนิดสาร (รวม chlorpyrifos) สาร paraquat และ glyphosate ตามนโยบายรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข จากโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่อยู่ในกรมวิชาการหรือโรงพยาบาล ในสังกัดกระทรวงอ่ืนๆ ท่ีอยู่ในเขตสุขภาพที่ 13 กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลละ 2 คร้ังๆ ละ 5 ตัวอย่าง จานวน 6 แห่ง ได้แก่ 1) โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 2) โรงพยาบาลราชวิถี 3) โรงพยาบาลเลิดสิน 4) โรงพยาบาลสงฆ์ 5) สถาบนั สขุ ภาพเดก็ แหง่ ชาติมหาราชินี 6) สถาบันมะเรง็ แห่งชาติ ผลการดาเนนิ งาน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์รวมกับโรงพยาบาลเป้าหมาย ดาเนินการเก็บตัวอย่างผักและผลไม้สด จากโรงพยาบาลในเขตสุขภาพท่ี 13 จานวน 6 แห่งๆ ละ 2 ครั้งๆ ละ 5 ตัวอย่าง รวมท้ังสิ้น 60 ตัวอย่าง เพ่ือตรวจสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช 134 ชนิดสาร (รวม paraquat และ glyphosate) ด้วยวิธีทาง ห้องปฏิบัตกิ าร ผลการตรวจวเิ คราะห์ดังนี้ 32

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 การตรวจวเิ คราะห์ 134 สาร คร้ังท่ี 1 การตรวจวิเคราะห์ 134 สาร คร้ังท่ี 2  ไมพ่ บ รอ้ ยละ 47  ไม่พบ ร้อยละ 64  พบการตกคา้ ง รอ้ ยละ 13  พบการตกค้าง ร้อยละ 3  พบเกินคา่ มาตรฐาน ร้อยละ 40  พบเกินคา่ มาตรฐาน รอ้ ยละ 33 รูปท่ี 1 ผลการตรวจสารเคมีกาจัดศัตรูพืช 134 สาร ในผักและผลไม้ จากโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 13 จานวน 6 แหง่ การตรวจวเิ คราะห์ 3 สาร ครงั้ ท่ี 1 การตรวจวเิ คราะห์ 3 สาร คร้งั ที่ 2  Chlorpyrifos พบ 1 ตัวอยา่ ง ในคะนา้  Chlorpyrifos พบ 1 ตวั อย่าง ในมะเขอื เปราะ คิดเป็นรอ้ ยละ 3 คดิ เปน็ ร้อยละ 3  Paraquat ไม่พบทกุ ตวั อย่าง  Paraquat ไมพ่ บทุกตวั อย่าง  Glyphosate ไม่พบทุกตัวอย่าง  Glyphosate พบ 1 ตวั อยา่ ง ในถั่วฝักยาว คดิ เป็นรอ้ ยละ 3 รูปที่ 2 ผลการตรวจสารเคมีกาจัดศัตรูพืช คลอไพรีฟอส (chlorpyrifos) พาราควอต (paraquat) และ ไกลโฟเซต (glyphosate) ในผกั และผลไม้ จากโรงพยาบาลเขตสขุ ภาพท่ี 13 จานวน 6 แห่ง 33

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 สรปุ และวจิ ารณ์ สาหรับปี 2564 มีเป้าหมายเป็นโรงพยาบาลในพ้ืนท่ีเขตสุขภาพท่ี 13 กรุงเทพมหานคร พบว่า ในภาพรวมมีการตกค้างเกินมาตรฐานร้อยละ 30-40 โดยมีการตรวจพบวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ที่เป็นสาร ห้ามใช้ ได้แก่ methamidophos ในมะเขือเปราะ และ chlorpyrifos ในคะน้าและมะเขือเปราะ ซ่ึงต้องมี การจดั การในการคัดเลอื กแหลง่ วัตถุดิบใหมแ่ ละเพม่ิ การกากบั ดูแลเฝ้าระวงั การตกคา้ งให้มากข้ึน สาหรับการตรวจเฝ้าระวังสาร paraquat ตรวจไม่พบการตกค้างในผักผลไม้ที่สุ่มสารวจ แต่พบ การตกค้างของ glyphosate ในตัวอย่างถั่วฝักยาว จานวน 1 ตัวอย่าง ในปริมาณ 0.09 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซ่งึ มากกว่าค่า default limit ท่ีกาหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี 387 พ.ศ. 2560 เร่ือง อาหาร ทีม่ สี ารพิษตกคา้ ง ปญั หาอปุ สรรค 1. เกษตรกรมผี ลผลติ ไม่เพยี งพอตอ่ ความต้องการของโรงพยาบาลท้ังชนิดและปรมิ าณ 2. การตรวจคัดกรองไมม่ คี วามสม่าเสมอหรือไม่มีการดาเนินการ เนื่องจากโรงพยาบาลขาดงบประมาณ ในการจัดซื้อชุดทดสอบสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช ขาดเจ้าหน้าท่ี และสถานท่ีไม่เอ้ืออานวยเนื่องจาก ชดุ ทดสอบมีกลน่ิ สารเคมีทเ่ี ป็นอนั ตรายต่อผูป้ ฏิบัตงิ าน ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการบูรณาการการตรวจเฝ้าระวังระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรว ง สาธารณสุข เพื่อใหผ้ ลการดาเนินงานเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั 2. หน่วยงานตรวจเฝ้าระวังควรมีโครงการสนับสนุนการตรวจสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชด้วยวิธี มาตรฐานใหก้ บั โรงพยาบาลมากข้ึน เพอ่ื ให้อาหารมคี วามปลอดภยั กบั ผู้ป่วยมากขึ้น 3. ควรมกี ารพฒั นาชดุ ตรวจคดั กรองทง่ี า่ ย สะดวก และราคาถูก มากกวา่ ในปจั จุบัน 34

รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 คณะผู้วิจยั นางเลขา ปราสาททอง ผูอ้ านวยการสานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ที่ปรกึ ษา หัวหน้าโครงการ สานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร นางสาววนิดา ยรุ ญาติ นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการพิเศษ ผรู้ ่วมวจิ ัย สานักคณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร นางสาวจิตผกา สนั ทัดรบ นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์เช่ียวชาญ นางวชิ าดา จงมวี าสนา นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการพิเศษ นายวรี วฒุ ิ วิทยานนั ท์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการพิเศษ นางรตั ิยากร ศรโี คตร นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ านาญ นายธรณศิ วร์ ไชยมงคล นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทยป์ ฏิบตั กิ าร นางสาวสริ ิลกั ษณ์ ชัยรินทร์ นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทยป์ ฏิบัตกิ าร นางสาวนฤมล อิฐรตั น์ นักวิทยาศาสตร์การแพทยป์ ฏิบตั กิ าร นางสาวภรพรรณ สง่ ศรี นกั วิทยาศาสตร์การแพทยป์ ฏิบตั กิ าร นางสาวณิชนนั ท์ บุญนิ่ม นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบตั ิการ นางสาวศรวี ตาภรณ์ เกิดอดุ ม นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติการ 35

cccccccccccccccccccccccccccccccccccรายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย (Food Safety) cccccccccccccccccccประจาปีงบประมาณ 2564 โครงการสารวจหาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ปนเป้อื นบนบรรจุภณั ฑ์ อาหาร ผลไม้ นา้ น้าแขง็ และพน้ื ผิวสัมผัส บทนา โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุกลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง 2 (Severe Acute Respiratory Syndrome Coronavirus 2: SARS-CoV-2) ห รื อ โ ค วิ ด -19 (Coronavirus Disease 2019; COVID-19) ท่ีเป็นโรคอุบัติการณ์ใหม่เกิดการระบาดไปทั่วโลก (Pandemic) ผู้ติดเชื้อรายแรกรายงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ทที่ าให้ยอดผู้ตดิ เช้อื สะสมรายใหมใ่ นประเทศ ต่างๆ เพ่ิมข้ึน ซ่ึงในวันท่ี 1 มีนาคม 2565 ประเทศไทยรายงานจานวนผู้ติดเชื้อสะสมต้ังแต่ปี 2563 มากกว่า 2,900,000 คน โรคติดเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 ท่ีเป็นปญั หาดา้ นสาธารณสุขทวั่ โลก องค์การอนามัยโลกแนะนา วิธี Nucleic Acid Amplification Tests (NAAT) เช่น Reverse Transcription-Polymerase Chain Reaction (RT-PCR) ในการตรวจยืนยันการติดเช้ือจากการหาสารพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 จากตัวอย่างที่เก็บ จากทางเดินหายใจและน้าลายในผู้ติดเชื้อ อีกทั้งเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 สามารถแพร่กระจายได้ง่ายทั้งทาง อากาศและทางการสมั ผสั เมื่อวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2563 องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations; FAO) รายงานว่า รัฐบาลจีนส่ังปิดตลาดสดซินฟาต้ี (Xinfadi market) ในกรุงปักก่ิง หลังพบประชากรหลายคนป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ที่มี ความเกี่ยวข้องกับตลาดดังกล่าว และได้ทาการวิเคราะห์หาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 จากสิ่งแวดล้อม พ้ืนผิวสัมผัส และอาหาร พบสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 บนเขียงแล่ปลาแซลมอนท่ีเชื่อมโยงข้อมูล สายพันธ์ุที่สอดคล้องกับประเทศผู้ผลิต ทาให้ทางการจีนสั่งระงับการนาเข้าปลาแซลมอนจากประเทศดังกล่าว อย่างไรก็ตามองค์การอนามัยโลก ( World Health Organization; WHO) สานักงานอาหารและยา ของสหรัฐอเมริกา (U.S. Food and Drug Administration; FDA) และหน่วยงานความปลอดภัยด้านอาหาร แห่งสหภาพยุโรป (European Food Safety Authority; EFSA) รายงานว่าไม่มีหลักฐานว่าโรคติดเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 สามารถแพร่ผา่ นทางอาหารหรือบรรจุภณั ฑอ์ าหาร จากการรายงานพบสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ในอาหารแช่แข็งและบรรจุภัณฑ์อาหาร ส่งผล ให้ภาครัฐท่ีเก่ียวข้องและผู้ประกอบธุรกิจอาหารแชแ่ ข็งส่งออกของไทยมีความต่ืนตัวในการตรวจสอบเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 ในอาหารแช่แข็งและบรรจุภัณฑ์อาหารก่อนส่งออกไปยังต่างประเทศ และจากสถานการณ์ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 ระลอกใหม่ท่ีมีจุดเร่ิมต้นมาจากแพกุ้ง จังหวัดสมุทรสาคร ทาให้ ประชาชนเกิดความไม่ม่ันใจในการบริโภคอาหารทะเล ส่งผลกระทบในวงกว้างท้ังในด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดห่วงโซ่การผลิตสัตว์น้า การจาหน่ายสินค้าสัตว์น้า และการประกอบอาชีพชาวประมงเป็นอย่างมาก ส่งผลให้แต่ละประเทศมีข้อกาหนดท่ีเข้มงวดโดยเฉพาะการเคลื่อนย้ายข้ามพ้ืนท่ี ไม่ว่าจะเป็นคน สิ่งของ อาหารส่งออกไปยังบางประเทศต้องผ่านการตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ดังนั้นกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ โดยสานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงตรวจวิเคราะห์ด้านอาหาร 36

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 ของประเทศไทย จึงได้พัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์หาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ท่ีปนเปื้อนบน บรรจุภัณฑ์อาหารสดและแช่แข็ง พ้ืนผิวสัมผัส นอกจากนั้นยังได้ดาเนินการสุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพ ความปลอดภัยอาหารทะเลอย่างต่อเนื่อง โดยทางานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เช่น ดา่ นอาหารนาเข้า สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ด่านตรวจประมง กรมประมง สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ตลาดปลาสหกรณ์ สานักสุขาภิบาลอาหารและน้า กรมอนามัย และบริษัทเอกชน เป็นต้น ท้ังนี้ เพอื่ สนับสนุนการส่งออกสนิ คา้ รวมถงึ ลดการกดี กันทางการคา้ ของผลิตภัณฑ์อาหารทส่ี ่งออกไปยงั ต่างประเทศ และใหก้ ารตรวจเฝา้ ระวงั มปี ระสิทธิภาพอย่างสงู สุด วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือทราบสถานการณ์การปนเป้ือนไวรัส SARS-CoV-2 ปนเป้ือนบนบรรจุภัณฑ์อาหาร ผลไม้ น้า นา้ แข็ง และพ้นื ผิวสมั ผัส 2. เพื่อสื่อสารความเสี่ยงของไวรัส SARS-CoV-2 ปนเปื้อนบนบรรจุภัณฑ์อาหาร ผลไม้ น้า น้าแข็ง และพ้ืนผิวสมั ผสั 3. เพื่อสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหาร และสนับสนุนผู้ประกอบการส่งออกสินค้าไปยัง ตา่ งประเทศ ขอบขา่ ย 1. ตัวอยา่ งทีต่ รวจวเิ คราะห์ สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารทะเล สัตว์น้าและผลิตภัณฑ์ ในห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์มาร์เก็ต ตลาดสด และร้านค้าปลีกในเขตกรุงเทพและปริมณฑลในเดือนธันวาคม 2563 จากบรเิ วณหรือพื้นท่ีท่ีมีรายงานผู้ติดเช้ือ ไวรัส SARS-CoV-2 เช่ือมโยงและเก่ียวข้องกับอาหาร รวมถึงตัวอย่างที่เก่ียวข้องกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ส่งตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 กับสานักคุณภาพและ ความปลอดภัยอาหาร ต้ังแต่เดือนมกราคม 2564 ถึงเดือนกันยายน 2564 ซ่ึงขอบข่ายชนิดตัวอย่างท่ีตรวจ วิเคราะห์ ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ อาหารสดและแช่แข็ง อาหารพร้อมบริโภค ผักผลไม้สดและแช่แข็ง น้า น้าแข็ง และพ้ืนผิวสัมผัส (ตารางท่ี 1) 2. การตรวจวเิ คราะหแ์ ละการประเมินผล 2.1 การตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัสจากอาหารด้วยเทคนิค real-time RT-PCR มีขั้นตอนใน การตรวจ 3 ขั้นตอน คือ ข้ันตอนที่หน่ึง การสกัดไวรัสจากอาหาร โดยมีวิธีสกัดไวรัสจากพ้ืนผิวสัมผัส น้าดื่ม ผกั และผลไม้กลุ่ม soft fruit และหอยสองฝา ท่ีมีข้ันตอนและวิธีการที่แตกต่างกันขึ้นกับชนิดตัวอย่าง ข้ันตอน ที่สอง การสกัดสารพันธุกรรม และข้ันตอนท่ีสาม การตรวจสารพันธุกรรมไวรัสในอาหารด้วยเทคนิค real-time RT-PCR โดยมีการควบคุมคุณภาพภายใน (internal control) ของผลการทดสอบด้วยการเติม RNA process control ท่ีเติมตั้งแต่เร่ิมต้นการสกัดตัวอย่างจนถึงข้ัน real-time RT-PCR เพื่อยืนยันผลการ ทดสอบกรณีผลเป็นลบ หมายถึง ตัวอย่างท่ีทดสอบไม่มีไวรัสเป้าหมายจริง มิใช่ผลลบปลอม และการควบคุม ตัวยับยั้งปฏิกิริยา RT-PCR (Control for RT-PCR inhibition) ซ่ึงการตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ในอาหารและบรรจุภัณฑ์มีข้อจากัดหลายประการ เช่น ตัวควบคุมภายในของขั้นตอนการตรวจ วินิจฉัยไวรัส SARS-CoV-2 ของคนใช้ยีน Human RNase P ซึ่งยีนน้ีไม่สามารถเป็นตัวควบคุมภายในของการ 37

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 ตรวจวิเคราะห์บนบรรจุภัณฑ์อาหาร อาหาร ผลไม้ น้า น้าแข็ง และพ้ืนผิวสัมผัสได้ และตัวอย่างอาหาร บางชนิดมีส่วนประกอบทห่ี ลากหลาย สง่ ผลต่อการทาปฏกิ ิริยา RT-PCR เปน็ ต้น 2.2 การวิเคราะห์ชุดน้ายาตรวจสารพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 ใช้วิธีมาตรฐาน ทางห้องปฏบิ ตั กิ ารท่ผี า่ นการทดสอบความใชไ้ ด้ของวิธี และประเมินผลการวเิ คราะห์เชิงคณุ ภาพ พบหรือไม่พบ สารพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 พร้อมระบุค่า Ct ของยีนจาเพาะต่อไวรัส SARS-CoV-2 ที่อ้างอิง ตามเกณฑ์กาหนดของแต่ละชุดนา้ ยาตรวจสารพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 วิธีดาเนนิ งาน 1. สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารทะเล สัตว์น้าและผลิตภัณฑ์ ในห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์มาร์เก็ต ตลาดสด และร้านค้าปลีกในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในเดือนธันวาคม 2563 จานวน 110 ตัวอย่าง และ ตัวอย่างท่ีเกี่ยวข้องกับงานคุ้มครองผู้บริโภคจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนส่งตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 กับสานักคณุ ภาพและความปลอดภัยอาหาร ตัง้ แต่เดือนมกราคม 2564 ถึงเดอื นกันยายน 2564 จานวน 692 ตวั อย่าง รวมทง้ั หมด 802 ตวั อย่าง ชนิดตวั อย่างบรรจุภัณฑ์อาหาร ผลไม้ น้า น้าแข็ง และพนื้ ผิว สัมผัส แสดงในตารางที่ 1 2. การตรวจวเิ คราะห์ 2.1 การเตรียมตัวอย่าง ดาเนินตามวิธีวิเคราะห์มาตรฐานทางห้องปฏิบัติการฝ่ายจุลชีววิทยา อาหารและฝ่ายไวรัส สานกั คณุ ภาพและความปลอดภัยอาหาร ทไี่ ด้มกี ารควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ และได้รบั รองมาตรฐานสากล ISO/IEC 17025:2017 จากสานกั มาตรฐานหอ้ งปฏิบัตกิ าร 2.2 การสกัดสารพันธุกรรมไวรัส การสกัดอาร์เอ็นเอมีหลายวิธี การเลือกใช้งานขึ้นกับ ความเหมาะสมของแต่ละห้องปฏิบัติการ และดาเนินการตามคาแนะนาของแต่ละชุดน้ายาท่ีเลือกใช้ เช่น การสกัดสารพันธุกรรมไวรัสด้วยชุดน้ายา bioMérieux NucliSENS® nucleic acid extraction การสกัด สารพันธุกรรมไวรัสด้วยชุดน้ายา QIAamp® viral RNA mini kit และการสกัดสารพันธุกรรมไวรัสด้วยเคร่ือง อัตโนมตั กิ ับชุดน้ายา Nucleic Acid Extraction Kit (Magnetic Bead Method); Zybio Inc. เป็นตน้ 2.3 การตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิค real-time RT-PCR ดาเนินการตามคาแนะนาของชุดน้ายา ตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 และปฏิบัติงานตามข้ันตอนของฝ่ายไวรัส สานักคุณภาพและ ความปลอดภยั อาหาร 2.3.1 การทดสอบตวั ควบคมุ ภายใน (Internal Control; RNA Process Control) ดาเนนิ การ และอา้ งอิงการประเมนิ และแปลผลตามชดุ นา้ ยา RNA Process Control Kit (Roche Diagnostic, Germany) ซงึ่ จะต้องให้ผลบวก หรือมคี ่า Ct ตามเกณฑ์ของชุดน้ายาทีก่ าหนด จึงสามารถวิเคราะหห์ าสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ต่อไป 2.3.2 การทดสอบสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ดาเนินการและอ้างอิงการประเมิน และแปลผลตามชดุ น้ายา DMSc COVID-19 real-time RT-PCR kit (Siam Bioscience Co., Ltd., Thailand) หรือชุดน้ายา In-house method based on DMSc COVID-19 real-time RT-PCR kit (BQSF) กรณีท่ีผล วิเคราะห์เป็นบวก หรือมีค่า Ct ตามเกณฑ์ของชุดน้ายาท่ีกาหนด จะทาการยืนยันด้วยชุดน้ายาอื่นๆ เพ่ิมเติม เช่น ชุดน้ายา Promotor® SARS-CoV-2 RT-PCR Test Kit (ACON Biotech (Hangzhou) Co., Ltd., P.R. China) ชดุ นา้ ยาIn-house method based on CDC-2019-nCoV real-time RT-PCR primer and probe set 38

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 (CDC-N) เป็นต้น หากยังมีค่า Ct ตามเกณฑ์ของชุดน้ายาท่ีกาหนด ให้รายงานผลว่าพบสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 3. วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุปผลรายงาน จดั ทาเอกสารเผยแพร่ข้อมลู และสือ่ สารความเสี่ยงใหแ้ กป่ ระชาชน หรือหน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ตารางที่ 1 แสดงชนิดตัวอยา่ งบรรจุภณั ฑ์อาหาร ผกั ผลไม้ นา้ นา้ แข็ง และพน้ื ผิวสัมผัสทีน่ ามาทดสอบ ชนิดตัวอยา่ ง จานวนตวั อยา่ ง บรรจุภัณฑ์ 11 - แก้ว (ขวดแกว้ ) 36 - กระดาษ (กลอ่ งกระดาษ กลอ่ งลูกฟูก ถาดกระดาษ) 65 - พลาสติก (ขวดพลาสตกิ ช้อนพลาสติก ถ้วยพลาสติก ถุงพลาสตกิ ฟิล์มบรรจุภัณฑ์) 14 - โลหะ (กระป๋อง) 76 อาหาร สดและแชแ่ ขง็ - ปลา (ปลากะพง ปลากุเลา ปลาเกา๋ ปลาขา้ งปาน ปลาขา้ งเหลือง ปลากระเบนต๊กุ ตา ปลาขา้ วเม่า 58 ปลาจวด ปลาจาระเม็ด ปลาซาบะ ปลาแซลมอน ปลาดาบ ปลาตะกะ ปลาตาหวาน ปลาทรายแดง 49 ปลาทับทิม ปลาทู ปลาทูนา่ ปลาทูน่าครีบเหลอื ง ปลานา้ ดอกไม้ ปลานิล ปลาใบขนุน ปลาปล้องดา ปลาแป้น ปลาแพนกาเซยี สดอรร์ ี่ ปลาสละ ปลาสวาย ปลาสาก ปลาสกี ุน ปลาไสต้ นั ปลาอินทรีย์ 22 ปลาววั ซูริมิ) 1 - กงุ้ (ก้งุ กลุ าดา กุ้งขาว กงุ้ แชบ่ ๊วย กงุ้ แม่นา้ กงุ้ ก้ามกราม) 4 - หมึก (คอหมึกยักษ์ คางหมกึ ยกั ษ์ หนวดหมึกยกั ษ์ หมกึ กระดอง หมกึ กะตอย หมกึ กล้วย หมึกสาย 5 หมึกหอม หมึกอาเจนตนิ า หางหมึกยักษ)์ 1 - หอย (หอยแครง หอยนางรม หอยแมลงภู่ หอยลาย หอยหวาน หอยเชลล์) - ปู (ปูจักจั่น) 3 - เนื้อ (เนอื้ บด เนือ้ ใบพาย เน้อื สันนอก เนือ้ เสือร้องไห)้ 19 - ไก่ (เนอื้ ไก่ เคร่อื งในไก่ ปกี ไก่ อกไก่ สะโพกไก่) 18 - แกะ (ขาแกะ) 1 อาหารพร้อมบรโิ ภค 23 - ขนมจีบ (ไก่ กุ้ง หม)ู - ซซู /ิ ซาซิมิ/ปอู ัด/สาหร่าย 11 - ไอศกรมี (ช็อกโกแลต วานิลลา กาแฟ ชาไทย กะทิ ชาเขยี ว สตรอวเ์ บอร่ี บลูเบอรร์ ี่ รมั เรซิน ทตุ ต้ีฟรุตต)้ี 15 ผกั ผลไม้ สดและแชแ่ ขง็ 370 - ผกั (หนอ่ ไม้ฝรงั่ ) - ผลไม้ (ทุเรียน บลเู บอรร์ ี่ สตรอว์เบอร์ร่ี ลกู พชี ลกู พลมั องุ่น สปั ปะรด มะมว่ ง ลิน้ จ่ี เงาะ ขนุน สาล่ี 802 เชอร่ี แอปเป้ลิ ) นา้ และนา้ แข็ง - นา้ ด่มื น้าดิบ - นา้ แข็ง (นา้ แข็งบด น้าแข็งบรโิ ภค น้าแขง็ หลอด) พน้ื ผวิ สัมผัส - เขยี ง มดี ถาด เคร่อื งบด แผงวางหมู ถุงแกง เคานเ์ ตอร์ มือผสู้ มั ผัส กอ๊ กน้า อา่ งลา้ งมอื ลกู บิดประตู ที่ผลกั ประตู ธนบัตร โทรศัพท์มอื ถอื รวมทงั้ หมด 39

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 ผลการดาเนนิ งาน สานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร มีการสารวจเก็บตัวอย่างอาหารสดและแช่แข็งในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลในเดือนธันวาคม 2563 จากบริเวณหรือพ้ืนที่ที่มีรายงานหรือมีสถานการณ์ ผู้ติดเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 เช่ือมโยงและเก่ียวข้องกับอาหาร โดยเฉพาะอาหารทะเล เพ่ือตรวจวิเคราะห์ หาสารพันธุกรรมเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 เชน่ กุ้ง หมึก หอย ปลาแซลมอน รวมทั้งปลาน้าจืด และปลาน้าเค็ม เป็นต้น จานวน 110 ตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์ไม่พบการปนเป้ือนสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ทกุ ตวั อยา่ ง (ตารางที่ 2) ตัวอย่างงานสารวจ งานเฝ้าระวัง และงานรับบริการ จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ส่งตรวจหา สารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 กับสานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ต้ังแต่เดือนมกราคม 2564 ถึงเดือนกันยายน 2564 จานวน 692 ตัวอย่าง ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ (แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ) จานวน 126 ตัวอย่าง (ร้อยละ 15.7) อาหารสดและแช่แข็ง จานวน 216 ตัวอย่าง (ร้อยละ 26.9) อาหารพร้อมบริโภค จานวน 40 ตัวอย่าง (ร้อยละ 5.0) ผักและผลไม้ จานวน 24 ตัวอย่าง (ร้อยละ 3.0) น้าและน้าแข็ง จานวน 26 ตัวอย่าง (ร้อยละ 3.2) และพ้ืนผิวสัมผัส จานวน 370 ตัวอย่าง (ร้อยละ 46.1) ผลการวิเคราะห์ พบการปนเป้ือนสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 จานวน 24 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 3.0 ของตัวอย่าง ท้ังหมด (รูปที่ 1) ได้แก่ ผลไม้ จานวน 1 ตัวอย่าง น้าและน้าแข็ง จานวน 2 ตัวอย่าง และพื้นผิวสัมผัส จานวน 21 ตัวอย่าง (ตารางที่ 2) สรุปและวจิ ารณ์ การตรวจวิเคราะห์สารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ท่ีปนเป้ือนบนบรรจุภัณฑ์อาหารสดและแช่แข็ง ผักและผลไม้ น้า น้าแข็ง และพื้นผิวสัมผัส ตัวอย่างร้อยละ 97 ไม่พบการปนเปื้อนสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 จากการตรวจพบการปนเป้อื นสารพนั ธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 บนพ้ืนผวิ สัมผัสจากส่งิ แวดลอ้ ม เช่น ลูกบดิ ประตู ท่ีผลักประตู ที่กดโถชักโครก เคาน์เตอร์ และธนบตั ร เป็นต้น ที่อาจมีการสัมผัสจากผู้ติดเชื้อ สามารถปนเป้ือนได้ง่าย ส่วนน้าและน้าแข็งเป็นตัวอย่างที่มีรายงานเชื่อมโยงกับผู้ติดเชื้อ ซ่ึงหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องได้มีการเก็บตัวอย่างด้วยเทคนิคปราศจากเช้ือ ณ พ้ืนท่ีท่ีผู้ติดเช้ือปฏิบัติงาน ซ่ึงสอดคล้องกับ งานวิจัยที่รายงานว่าสามารถตรวจพบได้เน่ืองจากสารพันธุกรรมหรือเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 อยู่บน พ้ืนผิวสัมผัสแก้ว พลาสติก สแตนเลส น้า นานเป็นเวลา 3-4 วัน และเมื่ออุณหภูมิต่า -10 ถึง -80 ºC เช้ือไวรัส SARS-CoV-2 สามารถอยู่บนปลา เนื้อสัตว์ สตั ว์ปีก และหนังหมู นาน 14-21 วัน อย่างไรก็ตามกรณีที่ตรวจพบ สารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2ในตัวอยา่ งน้ัน ไม่สามารถระบุได้วา่ สารพันธุกรรมหรอื เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ที่ตรวจพบนั้นเป็นเช้ือที่มีชีวิตหรือซากเช้ือ หรือเป็นสาเหตุให้ติดเช้ือได้ ดังนั้นข้อมูลท่ีตรวจวิเคราะห์ได้ จึงเป็นข้อมูลพ้ืนฐานท่ีแสดงให้เห็นว่า สารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 สามารถปนเป้ือนและตรวจพบได้ใน อาหาร น้า ส่ิงแวดล้อม และพื้นผิวสัมผัสต่างๆ ดังน้ันประชาชนควรปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัส SARS-CoV-2 ยึดหลัก D-M-H-T-T-A ได้แก่ D (Social Distancing; อยู่ห่างกันไว้) M (Mask Wearing; ใส่แมสก์กัน) H (Hand Washing; หม่ันล้างมือ) T (Testing Temperature; ตรวจวัดอุณหภูมิ) T (Test for COVID-19; ตรวจเชื้อโควิด 19) A (Application; ใช้แอปไทยชนะและหมอชนะ) สาหรับด้านอาหาร ผู้บริโภค สามารถรับประทานอาหารสดและแช่แข็งได้อย่างมั่นใจตามปกติและมีความปลอดภัย โดยนาอาหารมาปรุง ให้สุก เพราะความร้อน 70 องศาเซลเซียส นาน 5 นาทีข้ึนไป สามารถทาลายเชื้อไวรัสได้ด้วยความร้อน และ 40

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 ถ้าความรอ้ นสงู ข้ึนกจ็ ะใช้ระยะเวลาน้อยลง หากเป็นบรรจภุ ัณฑ์ควรลา้ งทาความสะอาดบรรจุภัณฑ์ สวมถงุ มือ เวลาประกอบอาหาร ต้องล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังสัมผัสอาหาร รวมไปถึงอาหารพร้อมบริโภค ผัก และ ผลไม้ ด้านผู้ประกอบการอาหาร ควรปฏบิ ัตติ ามหลกั การผลติ อาหาร ประกอบอาหารและดาเนินกจิ การเป็นไป ตามหลักมาตรฐานการผลิตอาหารที่ดี Good Manufacturing Practice (GMP) ซ่ึงเป็นระบบประกันคุณภาพ ทมี่ ีการปฏบิ ัติในการผลติ อาหาร เพื่อใหเ้ กิดความปลอดภยั มีคณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน และมนั่ ใจตอ่ การบรโิ ภค ตารางที่ 2 แสดงประเภทและจานวนตัวอยา่ งทตี่ รวจวเิ คราะหส์ ารพนั ธกุ รรมไวรัส SARS-CoV-2 ในแต่ละเดอื น ประเภท (ชนดิ ตัวอยา่ ง), จานวนตัวอยา่ งแตล่ ะเดือน จานวนตวั อย่างพบ n (ร้อยละ) ธ.ค.63 ม.ค.64 ก.พ.64 ม.ีค.64 เม.ย.64 พ.ค.64 มิ.ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64 SARS-CoV-2 (รอ้ ยละ) บรรจภุ ณั ฑ์, n=126 (15.7) - แก้ว, n=11 (1.4) - - - - - -9- -2 0 - กระดาษ, n=36 (4.5) - 3 2 4 5 - 6 - 10 6 0 - พลาสตกิ , n=65 (8.1) - - 12 12 8 4 9 4 10 6 0 - โลหะ, n=14 (1.7) - 3234 - 1 - 1 - 0 อาหารสดและแช่แขง็ , n=216 (26.9) - ปลา, n=76 (9.5) 31 25 6 4 1 1 2 3 2 1 0 - ก้งุ , n=58 (7.2) 30 2 - 12 1 2 3 1 4 3 0 - หมกึ , n=49 (6.1) 22 10 4 2 1 1 3 2 3 1 0 - หอย, n=22 (2.7) 20 - - - - 1 - 1 - - 0 - ปู, n=1 (0.1) - - - - - - - -1- 0 - เนอ้ื , n=4 (0.5) 4- - - - - - - - - 0 - ไก,่ n=5 (0.6) - - - - -32- - - 0 - แกะ, n=1 (0.1) 1- - - - - - - - - 0 อาหารพร้อมบริโภค, n=40 (5.0) - ขนมจีบ, n=3 (0.4) - -3- - - - - - - 0 - ซูซิ/ซาซมิ /ิ ปอู ดั , n=19(2.4) 2 10 7 - - - - - - - 0 - ไอศกรีม, n=18 (2.2) - 4 2 - - - - 12 - - 0 ผักและผลไม,้ n=24 (3.0) - ผัก, n=1 (0.1) -1- - - - - - - - 0 - ผลไม้, n=23 (2.9) - 412 - 71 44 1 (4.3) น้าและน้าแขง็ , n=26 (3.2) - น้า, n=11 (1.4) - - - - - 10 - - - 1 1 (9.1) - น้าแข็ง, n=15 (1.9) - - - - 1 11 2 - - 1 1 (6.7) พื้นผิวสัมผสั , n=370 (46.1) - - 19 20 - 7 - - 164 160 21 (5.7) รวม n=802 (100) 110 62 58 59 21 47 38 23 199 185 24 (3.0) หมายเหตุ : n คอื จานวนตัวอย่างรวม 41

รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 ไมพ่ บ 97% พบ 3% รูปท่ี 1 อัตราส่วนการตรวจวิเคราะห์สารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ด้วยเทคนิค real-time RT-PCR บนบรรจุภัณฑ์ อาหาร ผลไม้ น้า น้าแข็ง และพื้นผิวสัมผัส เดือนธันวาคม 2563 ถึงเดือนกันยายน 2564 การตรวจวิเคราะห์การปนเป้ือนสารพันธุกรรมไวรัส SARS-CoV-2 ด้านอาหาร ถือเป็นการสร้าง ความเช่ือมั่นให้กับผู้รบั บริการ สร้างความปลอดภยั ให้กบั ผบู้ รโิ ภค รวมทัง้ ช่วยสนับสนุนการส่งออก โดยเฉพาะ ผู้ประกอบการส่งออกอาหารของไทย สามารถส่งออกอาหารไปยังต่างประเทศทั่วโลกได้อย่างน่าเชื่อถือ และ ให้การตรวจเฝ้าระวงั มปี ระสทิ ธภิ าพอย่างสงู สดุ เอกสารอ้างอิง 1. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. คู่มือการตรวจวินิจฉัยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทางห้องปฏิบัติการ SARS-COV-2. [ออนไลน์].[สืบค้น 1 มี.ค. 2565]; 90 หน้า. เข้าถึงได้ท่ี URL: https:// www3.dmsc.moph.go.th/post-view/1289 2. Aboubakr HA, Sharafeldin TA, Goyal SM. Stability ofSARS-CoV-2 andother coronaviruses in the environment and on common touch surfaces and the influence of climatic conditions: A review. Transbound Emerg Dis 2021;68(2):296-312. 3. Anelich LECM, Lues R, Farber JM, Parreira VR. SARS-CoV-2 and Risk to Food Safety. Front Nutr 2020;7:580551. 4. Centers for Disease Control and Prevention. CDC 2019-Novel Coronavirus (2019-nCoV) real-time RT-PCR Diagnostic Panel. [online]. 2020; [cited 2022 Mar 1]; [80 screens]. Available from: URL: https://www.fda.gov/media/134922/download. 5. Food and Agriculture Organization of the United Nations. Case study: the COVID-1 9 outbreak in Beijing’s Xinfadi Market and its impact on the food supply chain. 2020; [cite 2022 Mar 1]; [12 screens]. Available from: URL: http://www.fao.org/3/cb1803en/CB1803EN.pdf 6. ISO 15216-2:2019 Microbiology of the food chain-Horizontal method for determination of hepatitis A virus and norovirus using real-time RT-PCR – Part 2: Method for detection 42

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 คณะผู้วจิ ยั นางเลขา ปราสาททอง ผอู้ านวยการสานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ทป่ี รกึ ษา นางวิชาดา จงมวี าสนา นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการพิเศษ หวั หน้าโครงการ ผรู้ ่วมวิจยั สานกั คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร ผปู้ ระสานงาน นายกรกช พรหมจันทร์ นักวิทยาศาสตร์การแพทยป์ ฏิบัติการ สานกั คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร นางสาวจาเรียง ปุญญะประสทิ ธิ์ นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการพิเศษ นางสาวณฐั กานต์ ติยศิวาพร นกั วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ชานาญการ นางสาวชตุ ิกาญจน์ ปราณบี ุตร นักวิทยาศาสตร์การแพทยป์ ฏบิ ัตกิ าร นายพงศธร ลิม้ สวัสด์ิ นักวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยป์ ฏิบัตกิ าร นางสาววิราศณิ ี ก้านบัวแกว้ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยป์ ฏิบตั กิ าร เจ้าหน้าทฝ่ี า่ ยจุลชีววทิ ยาในอาหาร เจ้าหนา้ ที่ฝา่ ยจุลชีววทิ ยาในน้าและเครือ่ งดม่ื เจ้าหน้าที่ฝ่ายชีวโมเลกุล เจ้าหน้าทฝ่ี า่ ยกายภาพ สานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร นางสาววนิดา ยุรญาติ นักวิทยาศาสตรก์ ารแพทยช์ านาญการพเิ ศษ 43

cccccccccccccccccccccccccccccccccรายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภยั (Food Safety) cccccccccccccccccccccประจาปีงบประมาณ 2564 การประเมินความเสีย่ งของการปลอมปนปลาปักเปา้ โดยการตรวจ เครื่องหมายโมเลกุลจาเพาะการปนเปือ้ นสารพิษเตโตรโดทอ็ กซนิ และจุลนิ ทรีย์ท่ที าให้เกิดโรคในอาหารแปรรปู ท่ีผลติ จากปลา บทนา ปลาปักเป้ามีท้ังสายพันธุ์ท่ีมีพิษและไม่มีพิษ ปริมาณท่ีจับได้มีมาก จึงถูกนามาใช้เป็นอาหาร เพราะมีราคาถูก เนื้อปลาปักเป้ามีลักษณะคล้ายเน้ือไก่ มีการจับและนามาจาหน่ายให้กับโรงงาน ร้านอาหาร และตลาดสด ปลาปักเป้าที่มีมากในน่านน้าทะเลของประเทศไทย คือ Lagocephalus lunaris และ Lagocephalus spadiceus เนื่องจากมีผู้ป่วยจากการบริโภคปลาปักเป้าท่ีมีสารพิษเตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin: TTX) แล้วมีอันตรายถึงชีวิต จึงมีประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 264) พ.ศ. 2545 เรื่อง กาหนดอาหารท่ีห้ามผลิต นาเข้า หรือจาหน่าย “ให้ปลาปักเป้าทุกชนิดและอาหารท่ีมีเนื้อปลาปักเป้า เป็นส่วนผสม เป็นอาหารที่ห้ามผลิต นาเข้า หรือจาหน่าย” ซ่ึงปลาปักเป้าชนิดท่ีมีพิษมาก คือ L. Lunaris สว่ นชนดิ L. spadiceus จะพบสารพษิ ต่าถงึ ไม่มีพิษ ทัง้ น้ีประเทศไทยยังไม่มกี ฎหมายในการรบั รองปลาปักเป้า ใหเ้ ป็นอาหารได้ ในการนาปลาปกั เป้ามาทาอาหารบริโภคอาจพบสารพษิ ได้ เน่ืองจากมีชาวประมงที่ไม่ชานาญ หรือไมค่ ดั แยก ทาใหเ้ กิดความผิดพลาดในการดลู กั ษณะทางกายภาพของปลา สานักคณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร (สคอ.) กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ รว่ มกบั ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ (ศวก.) ท่ี 5 สมุทรสงคราม ได้ดาเนินการเก็บตัวอย่างและตรวจวิเคราะห์ โดย ศวก. ท่ี 5 สมุทรสงคราม ตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค ส่วน สคอ. ตรวจเอกลักษณ์ DNA ปลาปักเป้า และ สารพิษเตโตรโดทอ็ กซนิ ซง่ึ การตรวจเอกลักษณ์ DNA เพิม่ จากการดลู ักษณะทางกายภาพของตวั ปลาเป็นอกี วิธี ที่จะช่วยให้มั่นใจว่าเนื้อสัตว์ท่ีบริโภคนั้นเป็นปลาปักเป้าหรือไม่ อีกท้ังการดูลักษณะทางกายภาพไม่สามารถ ทาได้ในอาหารที่แปรรูปแล้ว และมีอาหารแปรรูปที่หลากหลายชนิดผลิตจากปลา เพื่อเป็นการคุ้มครอง ผ้บู รโิ ภคและเป็นการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ให้ได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ ไม่ปลอมปน และป้องกันอันตราย จากสารพิษ จึงใช้วิธีการตรวจสารพันธุกรรมเพ่ือหาปลาปักเป้าสายพันธุ์ L. lunaris, L. spadiceus และ L. Inermis โดยการตรวจยีนจาเพาะของปลาปักเป้า เช่น Cytochrome b gene เพื่อพิสูจน์เอกลักษณ์ และ ประเมินโอกาสการปนเปื้อนเบอื้ งต้นในอาหารประเภทปลาเสน้ ปรุงรส ลูกช้ินปลา ไส้กรอกปลา ปลาบดปรุงรส และปลาแห้งปรุงรส ซึ่งมีในท้องตลาดเป็นจานวนมาก รวมถึงตรวจปริมาณสารพิษ TTX และการปนเปื้อน จุลินทรีย์ท่ีทาให้เกิดโรค เพ่ือเป็นการเฝ้าระวังความปลอดภัย และเป็นการประเมินอันตรายจากการปลอมปน ปลาปักเป้าในอาหารและปริมาณสาร TTX ที่ปนเป้ือน ซึ่งสามารถนาข้อมูลมาใช้ประเมินความเส่ียงในการ ได้รับสัมผัสหรอื การบรโิ ภคตอ่ ไป 44

รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 วัตถปุ ระสงค์ ตรวจเอกลักษณ์ DNA ปลาปักเป้า ปริมาณสารพิษเตโตรโดท็อกซิน และจุลินทรีย์ท่ีทาให้เกิดโรค เพื่อประเมนิ ความเสี่ยงเบ้ืองต้นของการปลอมปนปลาปักเป้าในอาหารแปรรูปผลิตภณั ฑ์จากปลา วิธีดาเนนิ งาน 1. จดั เตรียมแผนการเก็บตัวอยา่ ง วสั ดุอุปกรณ์ และเตรียมสารมาตรฐานทใ่ี ช้ในการตรวจวเิ คราะห์ 2. เก็บตัวอย่างอาหารแปรรูปที่ผลิตจากปลา คือ ปลาเส้นปรุงรส ลูกชิ้นปลา ไส้กรอกปลา ปลาบด ปรุงรส และปลาแห้งปรุงรส จานวน 69 ตัวอย่าง โดยเก็บท้ังตัวอย่างที่มีฉลากและไม่มีฉลาก ในช่วงเดือน มีนาคมและเมษายน 2564 จากตลาดในจังหวัดชลบรุ ี สมุทรสงคราม และสมทุ รสาคร 3. สกัดดีเอ็นเอจากอาหาร และตรวจปลาปักเป้าชนิด L. lunaris, L. spadiceus และ L. inermis โดยการตรวจสารพันธกุ รรมในยีน Cytochrome b โดยวิธี PCR/PCR-RFLP 4. ตรวจวเิ คราะห์ปรมิ าณสารพิษเตโตรโดทอ็ กซินในอาหารแปรรูป ด้วยเทคนคิ LC-MS/MS 5. ตรวจการปนเปือ้ นจลุ ินทรยี ์ทท่ี าใหเ้ กดิ โรค 6 ชนิด ไดแ้ ก่ B. cereus, C. perfringens, Salmonella spp., S. aureus, V. cholerae, V. parahaemolyticus 6. รวบรวมผลวิเคราะห์ ประเมิน และสรปุ ผลจดั ทารายงาน ผลการดาเนนิ งาน ตัวอย่างอาหารแปรรูปท่ีผลิตจากปลา คือ ปลาเส้นปรุงรส ลูกช้ินปลา ไส้กรอกปลา ปลาบดปรุงรส และปลาแหง้ ปรุงรส จานวน 69 ตัวอย่าง โดยเก็บท้งั ตวั อยา่ งท่มี ีฉลากและไมม่ ีฉลาก ตามตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 ประเภทและจานวนตวั อย่างอาหารแปรรูปทผี่ ลิตจากปลา ประเภทตวั อยา่ ง จานวนตวั อย่าง มีฉลาก ฉลาก 1 ไม่มฉี ลาก ปลาเสน้ ปรุงรส 13 22 12 ลูกชิ้นปลา 26 3 4 ไส้กรอกปลา 4 1 1 ปลาบดปรงุ รส 12 2 11 ปลาแห้งปรงุ รส 14 29 12 69 42 40 รวม 100 58 รอ้ ยละ 45

รายงานสรุปผลการดาเนินงานอาหารปลอดภยั (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 ผลการตรวจวเิ คราะห์ จากจานวนตัวอย่างอาหารแปรรูปที่ผลิตจากปลา 69 ตัวอย่าง เป็นตัวอย่างท่ีมีฉลาก 29 ตัวอย่าง (ร้อยละ 42) และไม่มีฉลาก 40 ตัวอย่าง (ร้อยละ 58) พบการปลอมปนปลาปักเป้าและพบสารพิษ เตโตรโดทอ็ กซิน ท้ังหมด 10 ตัวอย่าง จากตัวอย่างทีไ่ มม่ ฉี ลาก คิดเป็นร้อยละ 25 จากการตรวจวิเคราะห์ดีเอ็นเอจาเพาะของปลาปักเป้าท้ัง 3 สายพันธุ์ ด้วยวิธี PCR-RFLP ในยีน cytochrome b โดยใช้เอนไซม์ตัดจาเพาะ 3 ชนิด ได้แก่ BsaJI, HinfI และ SapI ผลการตรวจวิเคราะห์ ตัวอย่างอาหารแปรรูปท่ีผลิตจากปลา 69 ตัวอย่าง พบการปลอมปนปลาปักเป้า 10 ตัวอย่าง (ร้อยละ 14.5) เปน็ สายพนั ธ์ุ L. lunaris และ L. spadiceus 5 ตัวอย่าง พบเฉพาะสายพันธ์ุ L. lunaris 5ตวั อยา่ ง โดยตัวอย่าง ท่ีพบท้ัง 2 สายพันธ์ุ และตัวอย่างท่ีพบเฉพาะสายพันธุ์ L. lunaris 3 ตัวอย่าง จะตรวจพบสารพิษ เตโตรโดท็อกซิน ในขณะที่ตัวอย่างที่ตรวจพบเฉพาะสายพันธ์ุ L. lunaris 2 ตัวอย่าง ตรวจไม่พบสารพิษ ตามตารางท่ี 2 และรูปท่ี 1 จากการตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารพิษเตโตรโดท็อกซิน ด้วยเทคนิค LC-MS/MS ผลการตรวจ วิเคราะห์ตัวอย่างอาหารแปรรูปที่ผลิตจากปลา 69 ตัวอย่าง พบสารพิษเตโตรโดท็อกซิน 8 ตัวอย่าง โดยมี ปริมาณที่พบอยู่ระหว่าง น้อยกวา่ 0.100 ถึง 1.27 มิลลิกรัมต่อกิโลกรมั ผลติ ภัณฑ์อาหารแปรรูปที่พบปริมาณ สารพิษเตโตรโดท็อกซินสูงสุด คือ ปลาแห้งปรุงรส รองลงมาคือ ปลาบดปรุงรส มีค่าเฉลี่ย 0.200 และ 0.102 มลิ ลกิ รมั ตอ่ กโิ ลกรัม ตามลาดับ ตามตารางที่ 2 และรปู ที่ 2 จากการตรวจการปนเป้ือนจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค 6 ชนิด ได้แก่ B. cereus, C. perfringens, Salmonella spp., S. aureus, V. cholera และ V. Parahaemolyticus ผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง อาหารแปรรูปท่ีผลิตจากปลา 69 ตัวอย่าง พบการปนเป้ือน Salmonella spp. ใน 2 ตัวอย่าง คือ ลกู ช้ินปลา และปลาบดปรุงรส ซ่ึงมปี ริมาณเชื้อจุลินทรียท์ ีต่ รวจพบเกินมาตรฐานกาหนด สรุปและวจิ ารณ์ จากข้อมูลความเป็นพิษของสารพิษเตโตรโดท็อกซิน ปริมาณท่ีก่อให้เกิดอันตราย คือ 2 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัม ปริมาณสงู สดุ ท่ตี รวจพบคือ 1.27 มิลลิกรัมตอ่ กิโลกรัม แม้การบริโภคในปรมิ าณ 1.5 กิโลกรมั จึงจะมี ปริมาณสารพิษเตโตรโดท็อกซิน ซ่ึงไม่เกินค่ายอมรับในการบริโภคท่ี 2 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แต่การบริโภค อาหารแปรรูปเหล่านี้ก็ถือว่ามีความเส่ียง และเม่ือนาผลการตรวจวิเคราะห์ดีเอ็นเอปลาปักเป้าเทียบกับ การตรวจพบสารพิษจะได้ว่า ตัวอย่างท่ีตรวจพบปลาปักเป้าสายพันธุ์ L. lunaris 8 ตัวอย่าง ตรวจพบสารพิษ มีเพียง 2 ตัวอย่าง ท่ีตรวจไม่พบ ซ่ึงสอดคล้องกับการศึกษาท่ีว่าปลาปักเป้าจะผลิตสารพิษข้ึนกับฤดูกาล และอาหารท่ีกินเข้าไป ซ่ึงในช่วงเดือนธันวาคมถึงเมษายน จะมีปริมาณสารพิษต่ากว่าในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงพฤศจกิ ายน ผลการตรวจจุลินทรีย์ท่ีทาให้เกิดโรค แม้ว่าจะตรวจพบเชื้อที่ทาให้เกิดโรคในตัวอย่างอาหาร แต่ลักษณะการบริโภคอาหารกลุ่มน้ีจะต้องผ่านการปรุงสุกอีกครั้ง ทาให้ความเสี่ยงจากการบริโภคอาหาร จากเชอ้ื ก่อโรคลดลง นอกจากจะมีการปนเปอ้ื นขา้ ม (cross contamination) จากอาหารทีย่ ังไม่ผ่านปรงุ สุก จากข้อมูลที่พบ ผู้บริโภคควรเลือกซ้ืออาหารแปรรูปที่ผลิตจากปลาท่ีมีฉลากเพื่อลดความเส่ียง ในการบริโภคอาหารท่ีทาจากปลาปักเป้า อีกทั้งข้อมลู ท่ีได้สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการประเมินความเสี่ยง ในการได้รับสัมผัสปลาปักเป้าที่เป็นพิษจากอาหารแปรรูปที่ผลิตจากปลาต่อผู้บริโภค เป็นข้อมูลทางวิชาการ 46

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปีงบประมาณ 2564 ประกอบการจัดทากฎหมายให้ครอบคลุมต่อระบบเศรษฐกิจและสุขภาพชีวิตของประชาชนทั้งในส่วนของ ผบู้ รโิ ภคและผู้ผลติ ตารางท่ี 2 ผลการตรวจวิเคราะห์ดีเอ็นเอจาเพาะของปลาปักเป้า และสารพิษเตโตรโดท็อกซินในตัวอย่าง อาหารแปรรูปท่ผี ลิตจากปลา ประเภทตวั อยา่ ง ชนดิ ตัวอยา่ ง ฉลาก ผลวิเคราะห์ ผลวเิ คราะห์ TTX ปริมาณบรโิ ภคที่อาจ PCR/PCR-RFLP (มลิ ลกิ รัมตอ่ กโิ ลกรมั ) ก่อใหเ้ กิดอนั ตราย ปลาเสน้ ปรุงรส ปลาเส้นปรุงรส ไม่มีฉลาก ปลาบดปรุงรส ปลาบดแผ่น 1 ไมม่ ีฉลาก L. lunaris ไมพ่ บ (กโิ ลกรัม) L. lunaris 0.556 - 3.5 ปลาบดแผน่ 2 ไมม่ ฉี ลาก L. lunaris 0.566 3.5 ปลาบดแผ่น 3 ไม่มฉี ลาก L. lunaris ไม่พบ - ปลาแห้งปรุงรส ปลาริวกวิ เส้น 1 ไมม่ ฉี ลาก L. lunaris 0.377 5.3 ปลาริวกิวเสน้ 2 ไมม่ ฉี ลาก L. spadiceus 24.3 ปลารวิ กิวเสน้ 3 ไม่มฉี ลาก L. lunaris 0.082 11.7 ปลาริวกวิ เสน้ 4 ไมม่ ีฉลาก L. spadiceus 7 ปลาริวกวิ เสน้ 5 ไม่มีฉลาก L. lunaris 0.170 1.57 L. spadiceus ปลาริวกวิ เส้น 6 ไม่มฉี ลาก L. lunaris 0.285 35.7 L. spadiceus L. lunaris 1.27 L. spadiceus 0.056 รายงานคา่ L. lunaris น้อยกว่า 0.100 มลิ ลิกรมั ต่อกิโลกรมั 47

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 L. lunaris 20% L. lunaris + TTX L. lunaris, L. spadiceus 30% + TTX 50% L. lunaris, L. spadiceus + TTX L. lunaris + TTX L. lunaris รปู ท่ี 1 กราฟแสดงร้อยละของตัวอย่างที่ตรวจพบดีเอ็นเอจาเพาะของปลาปักเป้า และสารพิษเตโตรโดท็อกซิน ในตัวอย่างอาหารแปรรปู ท่ผี ลิตจากปลา ปลาเสน้ ปรงุ รส 10 ประเภท ัตวอ ่ยาง ปลาบดปรงุ รส 30 ปลาแหง้ ปรุงรส 60 0 10 20 30 40 50 60 รอ้ ยละ พบดเี อน็ เอจาเพาะของปลาปกั เป้า และสารพิษเตโตรโดทอ็ กซิน รูปท่ี 2 ประเภทของตัวอย่างท่ีตรวจพบดเี อน็ เอจาเพาะของปลาปักเปา้ และสารพิษเตโตรโดท็อกซนิ (ร้อยละ) 48

รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานอาหารปลอดภัย (Food Safety) ประจาปงี บประมาณ 2564 เอกสารอา้ งองิ 1. พระราชบัญญัติอาหาร 2522. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 264) พ.ศ. 2545, ราชกิจจา นเุ บกษา เลม่ ที่ 119, ตอนพเิ ศษ 128 ง. (ลงวนั ท่ี 25 ธนั วาคม 2545). 2. พระราชบัญญัติอาหาร 2522. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 416) พ.ศ. 2563, ราชกิจจา นเุ บกษา เล่มท่ี 137, ตอนพิเศษ 237 ง. (ลงวันท่ี 9 ตุลาคม 2563). คณะผู้วจิ ัย นางเลขา ปราสาททอง ผู้อานวยการสานกั คุณภาพและความปลอดภยั อาหาร ทป่ี รกึ ษา หวั หน้าโครงการ สานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร ผ้รู ่วมวจิ ัย นางปวณี า พานชิ กุล นกั วิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการ สานกั คุณภาพและความปลอดภยั อาหาร นางสาวพนาวัลย์ กลึงกลางดอน นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการพิเศษ นางสาวสีแพร ชูชวี า นกั วิทยาศาสตร์การแพทยช์ านาญการ นางสาวสวนนั ท์ ทองหยู นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชานาญการ นางสาวสุพฒั ตา ท้าวมา นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบตั กิ าร นางสาวศรุ มี าศ สสี จั จา นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบตั ิการ นางสาวชุตินันท์ พุมดวง นกั วิทยาศาสตร์การแพทยป์ ฏิบตั กิ าร นางสาวสธุ ิรา ฤทธเิ สน นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติการ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 5 สมทุ รสงคราม นางสาววชิราภา เขยี วรอด นักวทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ านาญการ นางพัชรยี ์ จิตพทิ ักษ์ชยั นักวทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ านาญการ 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook