Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดวิชากฎหมายในชีวิตประจำวัน

ชุดวิชากฎหมายในชีวิตประจำวัน

Published by natkrit.golf, 2021-02-10 07:34:16

Description: ชุดวิชากฎหมายในชีวิตประจำวัน

Search

Read the Text Version

ชดุ วิชา กฎหมายพ้ืนฐานในการดารงชีวิต MEDIAS BOOK รหสั รายวิชา สค 32023 ตามหลักรสูตารยกาวริชศึกาษเาลนอือกรกะเบสบรระีดับรกะาดรศับึกษมาขัธั้นยพ้ืมนฐศานึกพรษุทาธศตักอรานช ป25ล5า1ย รร ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเก้าเลี้ยว สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั นครสวรรค์ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา ชดุ วิชา กฎหมายพื้นฐานในการดารงชวี ติ (MEDIA BOOK) รหัสรายวชิ า สค 32023 รายวชิ าเลอื กเสรี ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายประกอบการเรยี นการสอนรายวชิ ากฎหมายพืน้ ฐานในการดารงชวี ิต ในการพบกล่มุ ของนักศึกษาในรายวิชาดังกล่าว ในระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ตามปฏิทนิ การพบกลุ่ม (วิเคราะห์เน้ือหา ปานกลางจัดทาแผนการสอนได้จานวน 2 ครงั้ คร้งั ละ 6 ชั่วโมง รวมเวลา 12 ชว่ั โมง) แผนการจดั การเรียนรู้ เปน็ เครื่องมือสาคัญสาหรับครู ท่จี ะทาใหก้ ารจดั การเรยี นร้บู รรลุเป้าหมายที่ ต้องการ เปน็ การวางแผนไว้ลว่ งหน้าโดยศกึ ษาในเรื่อง สาระพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๔๕) หมวด ๓ ระบบการศึกษา และ หมวด ๔ แนวการจดั การศึกษาทุกมาตรากรอบ ของการจดั การศกึ ษาตาม หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เอกสารเก่ยี วกบั การประกันคุณภาพ การศกึ ษา โดยจัดกระบวนการเรยี นรใู้ ห้สอดคล้องกับมาตรฐานเอกสาร เก่ยี วกับเนอ้ื หาในรายวิชาที่จัดการเรียนรู้ และ ศึกษาหาข้อมลู จากแหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ วิธกี ารจัดการเรียนร้แู บบ ตา่ ง ๆ ซ่งึ เน้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญและรูปแบบการเรียนรู้ โดยกาหนดใหใ้ ช้รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ กศน. (ONIE MODEL) ซ่งึ มี ๔ ขน้ั ตอน ได้แก่ ข้นั ตอนท่ี ๑ การ กาหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการ เรียนรู้(O : Orientation) ขน้ั ตอนท่ี ๒ การแสวงหาข้อมลู และจดั การ เรยี นรู้ (N : New ways of learning) ขั้นตอนท่ี ๓ การปฏิบัตแิ ละนาไปประยุกต์ใช้ (1 : Implementation) ขน้ั ตอน ท่ี ๔ การประเมินผล (E : Evaluation) แผนการเรียนรู้จะทาให้ครไู ด้คู่มือการจัดการเรยี นรู้ ทาให้ดาเนินการจดั การ เรียนรไู้ ดค้ รบถว้ น ตรงตามหลกั สูตรและจัดการเรยี นรู้ไดต้ รงเวลาในการจดั ทาแผนการเรยี นรดู้ งั กล่าว สาเร็จลงได้ดว้ ยความ ร่วมมอื จากขา้ ราชการ ผบู้ ริหาร และครู กศน. ท่ไี ดเ้ สนอแนะความคิดเหน็ อันเปน็ ประโยชน์ยิง่ ต่อการพฒั นา เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ ขอขอบคุณในความรว่ มมือมา ในโอกาสนี้ นางณัฏฐณชิ า เพช็ รโต กศน.อาเภอเก้าเลย้ี ว สานกั งาน กศน.จังหวัดนครสวรรค์

ปฏทิ นิ การเรียนรแู้ บบพบกลุ่มระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ครงั้ ที่ แผนการเรียนรทู้ ี่ วิชา ว/ด/ป ท่ีพบกลุ่ม 1 ปฐมนเิ ทศ ๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓ 2 แผนการเรยี นร้ทู ี่ 1 ปฐมนเิ ทศ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๓ ทักษะการเรยี นรู้ 3 แผนการเรยี นร้ทู ่ี 2 ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๓ ทกั ษะการเรยี นรู้ 4 แผนการเรียนรทู้ ี่ 3 ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๓ ทักษะการเรยี นรู้ 5 แผนการเรยี นรทู้ ่ี 4 ๗ มกราคม ๒๕๖๔ ทักษะการเรยี นรู้ 6 แผนการเรยี นรทู้ ่ี5 ๑๔ มกราคม ๒๕๖๔ 7 แผนการเรยี นรทู้ ี่6 ภาษาไทย ๒๑ มกราคม ๒๕๖๔ 8 แผนการเรยี นรทู้ ี่7 ภาษาไทย ๒๘ มกราคม ๒๕๖๔ 9 แผนการเรยี นรู้ที่8 ภาษาไทย ๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔ 10 แผนการเรียนรู้ที่9 ภาษาไทย ๑๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔ 11 แผนการเรียนรู้ท่ี10 เศรษฐกจิ พอเพียง ๑๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ 12 แผนการเรียนรทู้ ี่11 การสรา้ งวินัยตนเอง ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ 13 แผนการเรยี นรทู้ ่ี12 กฎหมายพื้นฐานในการดารงชีวติ ๔ มนี าคม ๒๕๖๔ 14 แผนการเรยี นรู้ท่ี13 กฎหมายพืน้ ฐานในการดารงชีวิต ๑๑ มนี าคม ๒๕๖๔ 15 แผนการเรียนร้ทู ี่14 กฎหมายพน้ื ฐานในการดารงชีวิต ๑๘ มนี าคม ๒๕๖๔ 16 แผนการเรียนรูท้ ี่15 ประวัติศาสตร์ชาติไทย ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๔ 17 แผนการเรียนรู้ที่16 ประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔ 18 แผนการเรยี นรทู้ ี่17 ประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ 19 แผนการเรียนรู้ที่18 โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ๑ เมษายน ๒๕๖๔ 20 สอบปลายภาค โครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ ๓-๔ เมษายน ๒๕๖๔ สอบปลายภาค หมายเหตุ : ตางรางการพบกลมุ่ อา้ งอิงจากขอ้ มลู ปฏิทนิ การพบกลุ่มนักศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ของ สถานศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ลงช่อื ………………………………….……..….. (นางณัฏฐณิชา เพ็ชรโต) ตาแหน่ง ครู กศน. ตาบล

คาแนะนาการใช้ระบบการเรยี นรู้ ชดุ วชิ ากฎหมายพ้ืนฐานในการดารงชวี ิต (Medias Book) เปน็ การเรียนรู้ท่ีนกั ศึกษาสามารถใช้เรียน ศึกษาหาความร้ใู นรายวิชาดงั กลา่ วด้วยตนเอง ตามจานวนคร้ังของการพบกลุ่มตามปฏทิ ินการพบกลุ่ม ขอให้ นักศกึ ษาอ่านคาแนะนาการใชร้ ะบบการเรยี นรู้ และทาตามคาแนะนาแต่ละข้นั ตอนตัง้ แต่ต้นจนจบ แลว้ นักศึกษาจะไดร้ ับความรู้อย่างครบถ้วนและหลากหลาย ดังน้ี 1. นักศึกษาต้องคลิกลงทะเบยี นเข้าเรยี นตรงหน้าเมนู “ปฏิทนิ การพบกล่มุ ” วชิ ากฎหมายพน้ื ฐานในการดารงชีวิต เร่มิ เรยี นในครัง้ ท่ี 12, 13, 14 หรอื คลิกท่ีนี่! ; ครง้ั ที่ 12, 13, 14 โดยในการลงทะเบยี นนกั ศึกษาตอ้ งระบุข้อมลู ดังนี้ - ชอื่ -สกลุ - รหสั นักศึกษา - กศน.ตาบล - วนั ที่/เวลา ที่เข้าเรียน 2. นักศึกษาอ่านตวั ช้ีวดั การเรยี นรู้ในแผนการเรียนรู้ ในแตล่ ะคร้งั 3. นักศึกษาเริม่ กระบวนการศกึ ษาหาความรู้ดว้ ยตนเองแผนการจัดการเรยี นรู้รายสัปดาห์ การพบ กล่มุ วชิ ากฎหมายพืน้ ฐานในการดารงชวี ติ ครงั้ ที่ 12, 13, 14 โดยนกั ศึกษาต้องเริม่ ศึกษา เรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั ิตงั้ แต่ขั้นตอนแรกของการเรยี นการสอนแบบ ONIE MODEL ขั้นท่ี 1 ,2,3,4 ตามลาดบั โดยปฏิบตั ิตามไปทีละข้นั ตอนของแผนการเรียนรู้ โดยจะมีกจิ กรรมดงั น้ี ขนั้ ท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาความต้องการในการเรยี นรู้ -แบบทดสอบก่อนเรียน ขนั้ ท่ี 2 การแสวงหาข้อมลู และจดั การเรียนรู้ -ศึกษาขอ้ มูลเพมิ่ เติมจากคลปิ วีดโี อ/อินเตอรเ์ นต็ ขน้ั ท่ี 3 ปฏิบัตแิ ละนาไปประยกุ ต์ใช้ -ใบความรู้ รูปภาพ ข้นั ท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ -ใบงาน -แบบทดสอบหลงั เรยี น 4. ในข้นั ท่ี 4 ประเมินการเรยี นรู้ เม่ือนกั ศกึ ษาทาแบบทดสอบหลงั เรียนแล้ว สามารถทราบผล คะแนนของตนเองได้ทันที 5. เม่อื สิ้นสดุ กระบวนการเรียนรู้ในขนั้ ที่ 4 นักศึกษาตอ้ งลงชื่อและเวลาออก ผา่ น Google Form ทกุ ครง้ั 6. ผูส้ อนสามารถทราบผลคะแนนของนักศึกษาจากข้อมูลการทาแบบทดสอบ ผลคะแนนของ นักศึกษาได้จาก Google form และสามารถรายงานผลออกมาเป็น Excel ได้ 7. นกั ศกึ ษาจะต้องทาแบบสอบถามความพงึ พอใจของแผนการจัดการเรียนรู้ (Medias Book) หลงั เรยี นเสรจ็ ในแตล่ ะครัง้ ของจานวนการพบกลุ่มในรายวชิ าดังกลา่ ว เพอื่ ครูจะไดน้ าผลการประเมิน มาปรบั ปรงุ แก้ไข ในการจัดการเรยี นรใู้ นคร้งั ถัดไป ซึง่ จะคล้ายกบั การบนั ทึกหลงั สอนของผสู้ อน ในการเรียนการสอนปกติแตเ่ ปลย่ี นมาเปน็ นกั ศึกษาเปน็ ผ้ปู ระเมินความพงึ พอใจของแผนการ จัดการเรียนรขู้ องผู้สอนแทน

คาอธบิ ายรายวิชา สค 32023 กฎหมายพื้นฐานในการดารงชวี ติ จานวน 3 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ลกั ษณะประเภทของกฎหมายและตระหนักถึงความสาคญั ของกฎหมาย ท่ีสาคญั ของประเทศและสามารถปฏิบัติตนตามกฎหมายได้ถกู ต้อง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ให้ผเู้ รยี น ศึกษา คน้ คว้า อธิบาย อภปิ ราย นาเสนอดว้ ยการจดั กระบวนการเรียนรดู้ ว้ ยการพบกลุม่ การสอนเสรมิ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การรายงาน การศึกษา จากแหลง่ เรียนรู้ ประสบการณต์ รงโดยใช้ สถานการณ์จรงิ และประสบการณ์จากผู้เรยี น การวดั และประเมนิ ผล ประเมินจากการสังเกต การอภิปราย การสัมภาษณ์ ทักษะปฏิบตั ิ การมีส่วนรว่ ม ในกิจกรรมการ เรียนรู้ ผลงาน การทดสอบ การประเมิน การนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวัน

รายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวิชา สค 32023 กฎหมายพื้นฐานในการดารงชวี ิต จานวน 3 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานท่กี ารเรยี นรู้ระดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจ ลักษณะประเภทของกฎหมายและตระหนกั ถึงความสาคญั ของกฎหมาย ทสี่ าคญั ของประเทศและสามารถปฏิบัตติ นตามกฎหมายได้ถกู ต้อง ที่ หวั เร่ือง ตัวชีว้ ดั เนอ้ื หา จานวน (ชว่ั โมง) 1 ความรพู้ ืน้ ฐานเกี่ยวกบั 1.อธบิ ายความหมาย ลักษณะและ กฎหมายของไทย ประเภทของกฎหมายได้ 1. ความเป็นมา ความหมายหลกั 6 2.วเิ คราะห์ความสาคญั ของกฎหมาย แนวคิด และสามารถนาไปปฏิบัตติ นไดถ้ ูกต้อง 2. ปรัชญาของกฎหมายพ้นื ฐาน ในการดารงชวี ติ กับการจัดการ ความรู้ 2 การบังคบั ใชก้ ฎหมาย 1.อธบิ ายถงึ วิธีการประกาศใช้และวนั 1.การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย 6 และการสิ้นผลการ 6 บังคับใชก้ ฎหมาย เริม่ บงั คบั ใช้กฎหมายได้ 2. การสนิ้ ผลการบงั คบั ใช้ 3 รฐั ธรรมนูญ 2.อธบิ ายถึงการส้ินผลการบงั คบั ใช้ กฎหมาย กฎหมายได้ 3.บอกประโยชนข์ องการอุดช่องว่างใน กฎหมายได้ 4อธบิ ายและตีความหลกั กฎหมายได้ 5.ตระหนักถึงความจาเป็นท่จี ะต้องมี การตคี วามหลกั กฎหมาย 1. บอกความเปน็ มาของรัฐธรรมนญู 1. ความเป็นมาของรฐั ธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจักรไทย ตงั้ แต่ ไทย เปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 2. ความแตกตา่ งของรัฐธรรมนูญ จนถึงปจั จุบันได้ แห่งราชอาณาจักรไทยแตล่ ะฉบับ 2. อธบิ ายหลักเกณฑ์สาคญั ที่กาหนด ท่ไี ดม้ ีการประกาศใช้ ไว้ในรฐั ธรรมนญู ซ่ึงเปน็ หลกั ในการ 3. สาระสาคญั ของรฐั ธรรมนูญ อานวยการปกครองประเทศได้ แห่งราชอาณาจักรไทย 3. ตระหนักถงึ ความสาคัญของ พุทธศักราช 2550 รฐั ธรรมนญู ท่ีมตี ่อสังคมไทย 4. หลกั เกณฑ์สาคัญท่กี าหนดไว้ 4. เปรยี บเทยี บความแตกต่างของ ในรฐั ธรรมนูญ ซงึ่ เป็นหลักในการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแต่ ปกครองประเทศ ละฉบับในสาระสาคญั ท่ีเหน็ เด่นชดั ได้ 5. สรปุ โครงสรา้ งและอานาจ หน้าท่ีของฝา่ ยนิติบญั ญัติ ฝา่ ย บรหิ าร และฝ่ายตลุ าการ

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตร วิชา กฎหมายพน้ื ฐานในการดารงช ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปล หวั เร่ือง ตวั ชี้วัด เน้ือหา 1.ความร้พู ้ืนฐาน 1.อธบิ ายความหมาย ลกั ษณะ ความหมาย ลกั ษณะสาคัญและปร เก่ียวกับกฎหมาย และประเภทของกฎหมายได้ ของกฎหมาย ของไทย 2.วเิ คราะห์ความสาคญั ของ กฎหมายและสามารถนาไป ปฏิบตั ติ นได้ถูกตอ้ ง 2.การบังคบั ใช้ 1.อธิบายถงึ วธิ ีการประกาศใช้ 1. การบงั คับใชก้ ฎหมาย กฎหมายและการ และวนั เรม่ิ บงั คับใช้กฎหมายได้ 2. การส้นิ ผลการบงั คบั ใช้กฎหมา สนิ้ ผลการบงั คับใช้ 2.อธิบายถึงการสิ้นผลการบงั คับ กฎหมาย ใชก้ ฎหมายได้ 3.บอกประโยชน์ของการอุด ชอ่ งวา่ งในกฎหมายได้ 4อธิบายและตีความหลัก กฎหมายได้ 5.ตระหนักถงึ ความจาเป็นที่ จะตอ้ งมีการตีความหลัก กฎหมาย

ชีวติ รหัสวิชา สค 32023 (จานวน 3 หน่วยกติ 120 ช่วั โมง) ลาย ประจาปกี ารศกึ ษา 2/2563 ระดบั ความยาก – ง่าย จานวน วิเคราะห์เนือ้ หา ยาก ปาน ง่าย ชว่ั โมง พบกลุ่ม กรต. สอน อ่นื ๆ กลาง เสรมิ ระเภท √ √ (6 ชว่ั โมง) √ √ าย (6 ชั่วโมง)

หวั เรื่อง ตวั ชว้ี ดั เนอื้ หา 3.รัฐธรรมนูญ 1. บอกความเป็นมาของ 1. ความเปน็ มาของรฐั ธรรมนญู ไท รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักร 2. ความแตกต่างของรัฐธรรมนญู แ ไทย ต้งั แต่เปลยี่ นแปลงการ ราชอาณาจกั รไทยแตล่ ะฉบับทไ่ี ดม้ ปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึง ประกาศใช้ ปจั จุบันได้ 2. อธบิ ายหลักเกณฑ์สาคัญที่ 3. สาระสาคญั ของรฐั ธรรมนูญแห กาหนด ไว้ในรัฐธรรมนญู ซ่ึงเป็น ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2 หลกั ในการ อานวยการปกครอง 4. หลักเกณฑ์สาคญั ท่กี าหนดไว้ใน ประเทศได้ รฐั ธรรมนูญ ซ่งึ เปน็ หลกั ในการปก 3. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของ ประเทศ รัฐธรรมนญู ท่ีมตี ่อสังคมไทย 5. สรุปโครงสรา้ งและอานาจหนา้ 4. เปรียบเทยี บความแตกต่าง ฝ่ายนิติบญั ญตั ิ ฝ่ายบรหิ าร และฝ ตลุ าการ ของ รฐั ธรรมนญู แห่ง ราชอาณาจกั รไทยแต่ละฉบบั ใน สาระสาคญั ทเ่ี ห็นเดน่ ชัดได้ หมายเหตุ : วเิ คราะห์เนอ้ื หาเพอื่ จดั ทาแผนการจดั การเรียนรใู้ นเร่อื งท่ีมเี นอ้ื หาปาน ( พบกลุ่ม 18 ชั่วโมง,สอนเสริม 6 ชั่วโมง , กรต. 96 ชั่วโมง รวมทงั้ หมด 120 ช

ระดบั ความยาก – ง่าย จานวน วิเคราะหเ์ น้อื หา ยาก ปาน งา่ ย ชวั่ โมง พบกลุ่ม กรต. สอน อืน่ ๆ กลาง เสริม ทย √ √ แหง่ (6 ชั่วโมง) มีการ ห่ง 2550 น กครอง าที่ของ ฝ่าย กลาง พบกลุ่มจานวน 2 คร้งั รายละเอียดดังน้ี ชั่วโมง

แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การพัฒนาสงั คม รายวชิ า กฎหมายพืน้ ฐานในการดารงชวี ติ รหัสวิชา สค 32023 เรื่อง ความรพู้ นื้ ฐานเก่ียวกับกฎหมายของไทย ระดับชั้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 6 ช่วั โมง การพบกล่มุ ครงั้ ท่ี 12

แผนการเรียนรรู้ ายสัปดาห์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การพฒั นาสังคม รายวิชา กฎหมายพนื้ ฐานในการดารงชวี ติ รหัสวิชา สค 32023 เรอ่ื ง ความรู้พ้ืนฐานเกีย่ วกบั กฎหมายของไทย ระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 6 ชั่วโมง วนั ทีจ่ ัดการเรยี นการสอน......๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔........การพบกลุ่มคร้ังท.ี่ ...................... 12......................... 1. ตวั ช้ีวดั 1. อธิบายความหมาย ลกั ษณะและประเภทของกฎหมายได้ 2. วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของกฎหมายและสามารถนาไปปฏบิ ตั ิตนได้ถูกตอ้ ง 2. เน้ือหา 1. ความเป็นมา ความหมายและหลกั แนวคิดของปรัชญากฎหมายพื้นฐานในการดารงชวี ิต 2. ปรัชญาของกฎหมายพืน้ ฐานในการดารงชวี ติ กบั การจดั การความรู้ ข้ันจดั กระบวนการเรยี นรู้ ข้นั ที่ 1 กาหนดสภาพปญั หาความต้องการในการเรียนรู้ 1. ครสู นทนากบั ผเู้ รียนถงึ เรอ่ื งกฎหมายพืน้ ฐานในการดารงชวี ิตวา่ เคยทราบเร่ืองน้มี าก่อนหรือไม่และ มีความเขา้ ใจว่าอยา่ งไร 2. ครสู นทนากับผู้เรียนถึงเร่ืองปญั หาท่ีเกดิ ขนึ้ ในครอบครัวว่ามีสาเหตุมาจากเร่ืองใดบ้าง เชน่ ปญั หาความยากจน การวา่ งงาน ครอบครัวแตกแยก - ครใู ห้นกั ศกึ ษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน Pretest - ครูกระต้นุ ให้ผ้เู รยี นอ่านขา่ วจากหนังสอื พิมพ์ทเี่ ตรยี มมาล่วงหน้าและแสดงความคดิ เห็นใน ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) ถ้าสังคมใดไมม่ ีกฎหมายท่ีจะนามาใชค้ วบคุมพฤติกรรมของสมาชกิ ในสงั คม จะใช้ส่งิ ใด เปน็ ตัวควบคุม 2) ถ้าสงั คมใดไมม่ ีกฎหมายหรือกฎเกณฑใ์ ด ๆ เลย ที่จะมาใช้ควบคมุ พฤติกรรมของ สมาชกิ ในสงั คมนน้ั สังคมดังกลา่ วจะมีสภาพอย่างไร และจะดารงอยู่ได้หรอื ไม่ Click

ขัน้ ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจัดการเรยี นรู้ ครแู บ่งผู้เรยี นออกเปน็ 6 กลุ่ม กล่มุ ละ 6–7 คน ศึกษาและสืบค้นข้อมูล จากส่อื การเรียนรูต้ า่ ง ๆ เช่น หนงั สอื เรียน หนงั สอื ในหอ้ งสมดุ อนิ เทอรเ์ น็ต ตามหัวขอ้ ดังต่อไปนี้ 1. ความหมายและความสาคัญของกฎหมาย 2. ท่ีมาของกฎหมาย 3. ลกั ษณะความสาคัญของกฎหมาย 4. ประเภทของกฎหมาย 5. ลาดับความสาคัญของกฎหมาย Click Here -และศึกษาหาข้อมลู เพ่ิมเติมเรือ่ งกฎหมายพนื้ ฐานในการดารงชีวติ จากคลิปวีดีโอดังแนบ https://www.youtube.com/watch?v=4DW18amxZq0 ขั้นที่ 3 ปฏิบัติและนาไปประยุกตใ์ ช้ 1. ครใู หผ้ เู้ รียนทาใบงาน เรอ่ื งความหมาย ความสาคัญ ลกั ษณะที่มาของกฎหมาย ใบงานที่ 1 ใบงานท่ี 2 ขั้นท่ี 4 ประเมินผลการเรยี นรู้ - ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน Posttest ttest

3. สอื่ ประกอบการเรยี นรู้ 1. ใบความรู้ เร่ือง ความรพู้ ้ืนฐานเกีย่ วกบั กฎหมายของไทย 2. ใบงาน เรื่องความหมาย ความสาคัญ ลักษณะท่มี าของกฎหมาย 4. การวัดผลและประเมนิ ผล 1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรยี น 2. แบบประเมินใบงาน 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม 4. แบบประเมินดา้ นจติ พิสัย ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นางณฏั ฐณชิ า เพ็ชรโต) ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล

คาชแี้ จง ให้นักศึกษาเลอื กคาตอบที่ถกู ทสี่ ดุ เพยี งข้อเดยี ว 1. ขอ้ บังคับท่ีมีความคลา้ ยคลึงกบั กฎหมายได้แก่อะไร ก. ศาสนา ข. กติกาของสงั คม ค. ศลี ธรรมจารตี ประเพณี ง. ประเพณีและวฒั นธรรม 2. จุดมงุ่ หมายหลักของการออกกฎหมายเป็นเร่อื งเก่ยี วกับอะไร ก. บคุ คล สิทธิ หนา้ ท่ี ข. ประชาชน สิทธิ หน้าท่ี ค. บคุ คล ความประพฤติ หน้าที่ ง. ประชาชน ความประพฤติ การลงโทษ 3. กฎหมายข้อใดเป็นความสัมพันธ์ระหวา่ งประชาชนกับรัฐ ก. กฎหมายมหาชน ข. กฎหมายเอกชน ค. กฎหมายอาญา ง. กฎหมายระหว่างประเทศ 4. กรณลี ูกหน้ีผิดสญั ญากับเจ้าหนเ้ี ปน็ ผรู้ บั จานาจะต้องฟ้องศาลใด ก. ศาลแพ่ง ข. ศาลอาญา ค. ศาลปกครอง ง. ศาลรฐั ธรรมนูญ 5. ขอ้ ใดมิใชท่ ี่มาของกฎหมายไทย ก. หลกั กฎหมายทว่ั ไป ข. ข้อบงั คบั ทีก่ าหนดขน้ึ ค. จารตี ประเพณีของท้องถนิ่ ง. กฎหมายทเี่ ปน็ ลายลกั ษณ์อักษร 6. กฎหมายมีความสาคัญต่อสังคมอยา่ งไร ก. ทาให้สงั คมมีความสามคั คีกนั ข. ทาให้สังคมมีความเจริญกา้ วหน้า ค. ทาใหส้ ังคมเกิดความสงบเรียบร้อย ง. ทาใหค้ นในสังคมมีการศึกษาทด่ี ีขน้ึ

7. กฎหมายไทยจะประกาศทางหนังสอื ราชการในขอ้ ใด ก. พระราชกาหนด ข. พระราชบญั ญตั ิ ค. พระราชกฤษฎีกา ง. ราชกิจจานเุ บกษา 8. ข้อใดกลา่ วถงึ กฎหมายเอกชนได้อยา่ งถูกต้อง ก. กฎหมายอาญา ข. กฎหมายปกครอง ค. กฎหมายรฐั ธรรมนญู ง. กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ 9. ขอ้ ใดกลา่ วถึงสภาพบงั คับของกฎหมายได้ถกู ต้อง ก. บทบญั ญัตขิ องกฎหมายมีถ้อยคานา่ เกรงขาม ข. บทบัญญัตกิ ฎหมายท่ีเปน็ ธรรมแก่ทุกคน ค. บทบัญญตั ิของกฎหมายการลงโทษสาหรบั ผู้ฝา่ ฝนื ง. บทบญั ญัติของกฎหมายทีไ่ ด้รบั การยกเว้นโทษสาหรับผฝู้ ่าฝนื 10. กฎหมายในข้อใดมศี ักด์ิสูงกว่าพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ ก. พระราชกาหนด ข. พระราชบัญญตั ิ ค. พระราชกฤษฎีกา ง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย Pretest Posttest ttest

ใบงานท่ี 1 วิชากฎหมายพื้นฐานในการดารงชีวติ สค 32023 เรื่อง ความรูพ้ ้ืนฐานเก่ียวกบั กฎหมายของไทย คาช้แี จง ให้นกั ศึกษาอธิบายความหมาย ความสาคัญและลักษณะของกฎหมายใหส้ มบูรณ์ (10 คะแนน) ความหมาย ความสาคัญ ลักษณะ .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. ....... ...... ....... ความหมาย ความสาคัญ ลกั ษณะ ทมี่ าของกฎหมาย ท่มี า ระบบกฎหมายปัจจุบนั .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. ...... ......

ใบงานที่ 2 วิชากฎหมายพนื้ ฐานในการดารงชวี ติ สค 32023 เรื่อง ความหมาย ความสาคญั และประเภทของกฎหมายไทย คาชแ้ี จง : ใหน้ กั ศกึ ษาเขยี นเคร่อื งหมาย  หน้าข้อที่เห็นว่าถกู และเขียนเคร่ืองหมาย  หนา้ ข้อทเี่ หน็ วา่ ผดิ ( ……… ) 1. กฎหมาย เป็นกฎระเบียบข้อบังคับท่รี ัฐตราออกใช้บังคบั กบั ประชาชนในประเทศ ( ……… ) 2. กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับท่ีใช้ได้เฉพาะพ้นื ที่เท่านั้น ( ……… ) 3. กฎหมายเป็นความตอ้ งการของผู้นาประเทศเพยี งคนเดยี วตามระบอบประชาธิปไตย ( ……… ) 4. กฎหมายมีความสาคญั สามารถใชค้ วบคมุ พฤตกิ รรมของคนในสังคม ( ……… ) 5. กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ เปน็ พระบดิ าแห่งกฎหมาย ( ……… ) 6. กฎหมายต่างจากศีลธรรมในเรื่องการปฏิบัติตามข้อบังคบั ( ……… ) 7. กตกิ าในสงั คมทาให้ต้องมกี ฎหมายเพ่ือให้ทกุ คนในสงั คมอยู่อย่างสงบสขุ ( ……… ) 8. กฎหมายที่มีลายลักษณ์อกั ษรเปน็ กฎหมายที่แบ่งตามลกั ษณะการใช้ ( ……… ) 9. กฎหมายมหาชนเป็นกฎหมายท่แี บ่งตามความสมั พันธข์ องประชาชน ( ……… ) 10. กฎหมายเอกชนหมายถงึ กฎหมายท่แี สดงความสมั พันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนดว้ ยกนั

ใบความรูท้ ่ี 1 วชิ ากฎหมายพืน้ ฐานในการดารงชีวิต สค 32023 เรือ่ งท่ี 1 ความรูพ้ ื้นฐานเกย่ี วกบั กฎหมายของไทย ตอนที่ 1 ความหมายและความสาคญั ของกฎหมาย ความหมายของกฎหมาย วเิ คราะห์ศัพท์ คาว่า “กฎหมาย” ( the law ) น้ัน นักนติ ิศาสตรไ์ ด้ใหค้ าวิเคราะห์ศพั ท์กฎหมายนนั้ มี ความหมายอยู่หลายประการ ซง่ึ ความหมายจะแปรเปลีย่ นไปตามเง่ือนไขต่าง ๆ เชน่ ลกั ษณะของสงั คมที่ แตกตา่ งกนั สถานการณท์ เี่ ปล่ียนแปลง ความตอ้ งการของประชาชนในสังคมนั้น ๆ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมหลวงราชบุรดี ิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฎหมายไทยทรงอธิบายวา่ “ กฎหมาย น้ันคือคาส่งั ทัง้ หลายของผปู้ กครองว่าการแผน่ ดนิ ตอ่ ราษฎรท้ังหลาย เม่ือไมท่ าตามแล้วตามธรรมดาตอ้ งรบั โทษ” ศาสตราจารย์ ดร. เอซ เอกตู ์ นกั กฎหมายชาวฝรง่ั เศส ซึง่ มบี ทบาทสาคญั ในการรา่ งกฎหมายไทยของ ไทยทา่ นหนึง่ กลา่ ววา่ “ กฎหมายเป็นคาสง่ั หรือข้อห้าม ซง่ึ มนษุ ย์จาเป็นต้องเคารพในความประพฤตติ ่อเพ่ือน มนษุ ย์ ดว้ ยกนั อนั มาจากรฎั ฐาธปิ ตั ยห์ รือหมมู่ นุษย์มลี ักษณะทั่วไปใช้บังคับได้เสมอไปและจาต้องปฏิบตั ิตาม” จะเห็นได้วา่ การวิเคราะห์ศัพทด์ งั กล่าว น่าจะมีความหมายเฉพาะกฎหมายลายลกั ษณ์อักษรเท่าน้ันหรืออาจจะ รวมทง้ั กฎหมายจารีตประเพณีที่มาจากคาสั่ง คาบงั คับของรฎั ฐาธิปตั ย์ แต่ไม่ได้จัดทาเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรไว้ แต่ไมร่ วมไปถึง “จารีตประเพณี” ซงึ่ มที ่ีมาจากการพรอ้ มใจยอมรบั ปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑ์อันใดอนั หนง่ึ สบื ต่อกนั มาช้านาน

ตอนที่ 2 ทีม่ าของกฎหมาย ประเทศไทยโดยเชื้อพระวงศ์และเจา้ นายชั้นสูงได้ศึกษากฎหมายจากตา่ งประเทศ ทั้งที่เปน็ กฎหมาย ลายลักษณ์และไม่เปน็ ลายลักษณอ์ ักษร ในปัจจบุ นั ก็ คือการใชป้ ระมวลกฎหมายหลัก เชน่ กฎหมายอาญา กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และได้ใชก้ ฎหมายเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรเป็นกฎหมายของประเทศขณะเดยี วกันใช้ จารีตประเพณแี หง่ ท้องถ่นิ เป็นหลกั กฎหมายทวั่ ไปดว้ ยเชน่ กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์อันเปน็ กฎหมายเอกชน ตอนท่ี 3 ลักษณะความสาคัญของกฎหมาย 1. กฎหมายตอ้ งเปน็ คาสั่งหรอื ข้อบงั คับของรัฎฐาธปิ ตั ย์ รฎั ฐาธิปัตย์ หมายถึง ผมู้ อี านาจสงู สดุ หรอื ผู้ใหญ่ในแผ่นดิน ผู้ใหญ่ในแผ่นดินจะเป็นใครน้ันก็ข้ึนอยู่ กับการปกครองในระบบใด ถ้าเป็นระบอบบูรณาญาสิทธิราชย์ ผู้มีอานาจสูงสุดหรือเป็นผู้ใหญ่ในแผ่นดิน ก็คือ พระมหากษัตรยิ ์ ถ้าเปน็ ระบบประชาธิปไตยผู้มอี านาจสูงสุดกค็ ือประชาชน ซงึ่ แสดงออกถึงอานาจของตน โดย ผ่านรัฐสภา ด้วยการเลือกตัวแทนของตนเข้ามาทาหน้าท่ีในรัฐสภา เพ่ือออกกฎหมายและควบคุมการบริหาร การปกครองประเทศ ถ้าเป็นระบบเผด็จการผู้มีอานาจสูงสุดคือผู้นาหรือหัวหน้าปฏิวัติเป็นผู้ออกกฎหมายมา ปกครองประเทศสาหรับประเทศไทย ต้ังแต่ปี พ.ศ.2475 เป็นต้นมาเราได้มีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข พระมหากษัตริย์จะทรงเป็นผู้ออกกฎหมายโดยคาแนะนาและ ยินยอมของรัฐสภากล่าวคือในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ.2550 มาตรา 90 บัญญัติว่า “ ร่าง พระราชบัญญัติทไี่ ดร้ บั ความเห็นชอบของรัฐสภาแลว้ ใหน้ ายกขน้ึ ทลู เกลา้ ฯ ถวายภายในสามสบิ วนั นับแต่วันท่ี ได้รับร่างพระราชบัญญัติน้ันจากรัฐสภา พระมหากษัตริย์ทรงพระปรมาภิไธยและเม่ือได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วใหใ้ ช้บังคับเปน็ กฎหมายได้” 2. กฎหมายเปน็ คาสั่งหรือขอ้ บงั คบั ท่ใี ช้ไดท้ ั่วไปกบั บคุ คลทกุ คนเมอ่ื กฎหมายได้บัญญัติออกมาแล้ว จะ มีผลใชไ้ ด้ทั่วไป หมายความว่าใชไ้ ดท้ กุ สถานท่ีในอาณาเขตของรัฐหรือของประเทศน้ันๆ และกับบุคคลทุกคนที่ อยใู่ นอาณาเขตของรัฐหรือของประเทศน้นั ๆ ดว้ ยภายในกฎหมายเดียวกนั ไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นชาวต่างชาติ ก็ต้อง ปฏิบัติตามกฎหมายของประเทศที่ตนอยู่ในขณะนั้นด้วยถ้าอยู่ในเขตประเทศไทย ถ้ากระทาความผิดก็จะต้อง ถูกจับลงโทษทันทีว่า ผู้นั้นจะเป็นคนไทยหรือต่างชาติดังเช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 30 บัญญตั วิ ่า “บคุ คลยอ่ มเสมอกันในกฎหมายและได้รับการคมุ้ ครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน” 3. กฎหมายเปน็ คาสงั่ ใช้บังคับและเปน็ ท่ีทราบแก่คนทวั่ ไป เมือ่ ประกาศใช้เปน็ กฎหมายแล้ว จะมีผลบงั คบั ใชไ้ ด้ทวั่ ไป แมว้ ่ากฎหมายนั้น จะเกา่ ใชม้ านานแลว้ ก็ตาม ก็ยงั มีผลใชบ้ งั คบั จนกวา่ จะมีกฎหมายใหม่ออกมายกเลิกหรือแก้ เปลีย่ นแปลงในภายหลัง 4. กฎหมายเป็นคาสง่ั หรือขอ้ บังคบั ท่ตี ้องปฏิบัตติ าม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 67 บัญญัติว่า “ บุคคลต้องมีหน้าที่ปฏิบัติตาม กฎหมาย” ความหมายวา่ กฎหมายออกมาแล้ว ทุกคนในประเทศต้องปฏิบัติตาม จะอ้างไม่รู้กฎหมายมิได้ ดังมี หลักกฎหมายว่า”ความไม่รู้กฎหมายไม่เป็นข้อแก้ตัว” คือถ้าบุคคลใดไม่รู้กฎหมายจริงๆ ก็ไม่เป็นไร แต่อย่าทา ผิดกฎหมาย ถ้าทาผิดกฎหมายแล้ว จะอ้างว่าพล้ังเผลอทาไป เพราะไม่รู้กฎหมายห้ามไว้ไม่ได้ ซ่ึงจะทาให้ บา้ นเมืองปน่ั ป่วน ด้วยเหตนุ ี้ กฎหมายจึงตอ้ งบังคับให้ทกุ คนในประเทศรู้กฎหมายและต้องปฏิบัติตามเช่น ต้อง เสียภาษี ตอ้ งทาบตั รประจาตัวประชาชน ชายไทยตอ้ งคดั เลอื กทหารและปฏิบัติตามกฎจราจร เปน็ ตน้

5. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับสภาพบังคับ คือการกาหนดโทษ ถ้ามีกฎหมายออกมาแล้ว โดยไม่ กาหนดความผิดและโทษ กฎหมายนั้นก็ไม่มีความหมาย ดังน้ัน กฎหมายทุกฉบับ โดยปกติ ต้องกาหนดสภาพ บังคับหรือกาหนดความผิดและโทษ ทาให้กฎหมายมีศักดิ์และสิทธิต่างไปยังกฎเกณฑ์ข้อบังคับอย่างอ่ืนตาม กฎหมายกาหนดภาพบังคบั ไว้ 2 ทาง ดงั น้ี 1. โทษทางอาญา ทจ่ี ะบงั คับแกบ่ ุคคลท่ฝี ่าฝนื หรอื กระทาผิดกฎหมาย ซง่ึ มีโทษ 5 สถาน คอื 1.1 ประหารชวี ติ ผใู้ ดต้องโทษประหารชีวติ ให้เอาไปยงิ เสยี ใหต้ ายหรอื ฉดี ยาพิษเข้าทางเสน้ เลอื ด 1.2 จาคุก เอาตวั ไปคมุ ขังในเรอื นจาตามกาหนดเวลาท่ีพิพากษา 1.3 กักขัง ใหค้ วบคมุ ตัวไวต้ ามท่ีกกั ขัง เช่น สถานตี ารวจ 1.4 ปรับ ผนู้ น้ั ต้องชาระ เงินตามจานวนทศ่ี าลพพิ ากษา ถ้าไมม่ ีค่าปรบั จะถูกกกั ขงั แทน คา่ ปรบั โดยถืออัตรา 200 บาทต่อวัน 1.5 รบิ ทรพั ยส์ ิน ศาลส่งั ริบทรัพย์สินของผกู้ ระทาผดิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ท่ีมไี วเ้ ป็นความผิดเข้า เปน็ ของรัฐ 2. สภาพบังคับทางแพ่ง ซ่ึงจะบังคับเอาแก่ทรัพย์สินของผู้กระทาความผิดหรือให้ชดใช้ ค่าเสียหายหรือเสียค่าสินไหมทดแทน แก่ผู้ที่ได้รับความเสียหาย เช่น ศาลจะบังคับลูกหนี้ชดใช้เงินหรือ ทรัพยส์ ินให้แกเ่ จ้าหนหี้ รอื บงั คับผู้กู้ ระทาละเมดิ ชดใช้คา่ เสียหายใหก้ บั ผู้เสยี หายเป็นตน้ ตอนที่ 4 ประเภทของกฎหมาย 1. กฎหมายเอกชน คือ กฎหมายที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนด้วยกัน เช่น กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายเอกชนจะเป็นกฎหมายที่เก่ียวกับสิทธิและหน้าที่ของบุคคลที่มี ความสมั พนั ธก์ นั โดยมสี ิทธิและหนา้ ทตี่ อ่ กนั อย่างไรบ้างกฎหมายเหล่านี้มีสภาพบังคับเป็นการบังคับให้กระทา หรอื การชดใชค้ ่าเสียหายให้แก่ ผเู้ สียหาย 2. กฎหมายมหาชน คอื กฎหมายท่แี สดงความสมั พันธ์ระหว่างรัฐหรือหน่วยงานของรัฐกับประชาชน เพื่อวางกรอบเก่ยี วกับโครงสรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหว่างรฐั กบั บุคคลในสังคม เช่น รัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวา่ ด้วยธรรมนญู ศาลยตุ ธิ รรม กฎหมายภาษี เป็นตน้ 3. กฎหมายระหว่างประเทศ คือ หลักกฎหมายหรือข้อตกลงร่วมกันที่กาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐต่อรัฐและองค์กรระหว่างประเทศ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศคดีเมือง กฎหมายระหว่างประเทศแผนก คดีบุคคล กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญากฎหมายท่ีสาคัญของไทยที่ควรรู้มีหลายฉบับ ผู้จัดทาได้ นามาใหน้ กั ศกึ ษาไดศ้ ึกษาตามความเหมาะสมของนักศึกษา หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 ปกณิ กะสาระกฎหมาย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ดงั นี้ เร่อื งท่ี 1 ความรพู้ ื้นฐานเกย่ี วกับกฎหมายของไทย ตอนที่ 1 ความหมายและความสาคัญของกฎหมาย ตอนที่ 2 ทม่ี าของกฎหมาย ตอนท่ี 3 ลกั ษณะของกฎหมาย ตอนที่ 4 ประเภทของกฎหมาย ตอนท่ี 5 ลาดบั ความสาคัญของกฎหมาย

ตอนที่ 5 ลาดบั ความสาคญั ของกฎหมาย 1. ศกั ดข์ิ องกฎหมาย หมายถงึ ความสาคญั ลาดับฐานะหรอื ความสงู ตา่ ของกฎหมาย 2. หลักของกฎหมายยึดหลักว่ากฎหมายท่ีมีศักดิ์ต่ากว่า คือกฎหมายลูกจะขัดแย้งกฎหมายที่สูงศักด์ิ กวา่ คือกฎหมายแม่มิได 3. ลาดบั ความสาคัญตามศักดิ์ของกฎหมายกฎหมายที่ออกโดยองค์กรที่มีอานาจออกกฎหมายสูงกว่า ย่อมมีศักดส์ิ งู กวา่ กฎหมายทีอ่ อกโดยองค์กรตา่ กว่า 4. ลาดับความสาคัญของกฎหมายตามศักด์ิ ได้แก่ รัฐธรรมนูญ เป็นแม่บทมีศักด์ิสูงสุดรองลงมาได้แก่ กฎหมายทอ่ี อกโดยฝ่ายนิติบญั ญตั ิ ฝา่ ยบรหิ าร และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ประโยชนข์ องการจัดลาดบั ศักดิ์กฎหมาย คอื 1. ในการตีความกฎหมายต้องยดึ กฎหมายศกั ด์ิสงู กว่าเป็นหลัก 2. การแก้ไขเพ่มิ เติม ยกเลิกกฎหมาย ตอ้ งกระทาโดยกฎหมายที่มีศักดิร์ ะดบั เดียวกนั หรอื มศี ักดสิ์ ูงกว่า ความรูเ้ สริม กฎหมายเป็น กติกาของสงั คม เปน็ กฎเกณฑ์ หรือ ข้อตกลงที่สังคมร่วมกันกาหนดขึ้นเป็นหลักปฏิบัติ เพ่ือใหเ้ กิดความสงบเรียบร้อย และ เป็นธรรมในสังคม จึงเป็นหลักเกณฑ์ ที่ทุกคนถูกบังคับให้ปฏิบัติตาม ผู้ใด ฝ่าฝืน ต้องได้รับโทษ หรือ อาจถูกบังคับให้ปฏิบัติตาม ผู้ใดจะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้ ดังจะเห็นได้จาก บทบัญญัติของกฎหมายส่วนมาก จะมีข้อความว่า “พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับ ตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป” ข้อห้ามอ้างว่าไม่รู้กฎหมายนี้ ในทางอาญา ถึงกับบัญญัติไว้เป็นข้อ กฎหมายในประมวลกฎหมายอาญา ว่า “บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมาย เพื่อให้พ้นจากความรับผิดทาง อาญาไม่ได้......” (มาตรา 64) การทก่ี ฎหมายบัญญตั เิ ปน็ ข้อบังคับไวเ้ ช่นนี้ กฎหมายจึงควรเปน็ ส่ิงท่ีทุกคน สามารถอ่านแล้วรู้เรื่อง และสามารถเข้าใจได้โดยง่าย แต่เม่ือหยิบกฎหมายข้ึนมาอ่าน ก็ไม่รู้แล้วว่า ชื่อของ กฎหมายนน้ั หมายความว่าอยา่ งไร เชน่ ไม่รูว้ า่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มคี วามหมายว่าอย่างไร ไม่รู้ ว่า พระราชบัญญัติ คืออะไร กฎหมาย คืออะไร บางฉบับใช้คาว่า ประมวลกฎหมาย บางฉบับใช้คาว่า พระราชบญั ญตั ิ บางฉบบั ใชค้ าวา่ พระราชกาหนด บางฉบับใช้คาว่า พระราชกฤษฎีกา ไม่รู้ว่า ข้อความท่ีเขียน ไว้ในกฎหมายนั้นมีความหมายอย่างไร ภาษาท่ีใช้เขียนกฎหมายก็แปลกไปจาก หนังสือประเภทอ่ืน ท่ีเคยอ่าน มา คาศัพท์บางคา ไม่เคยเห็นมาก่อน และเป็นการแน่นอนว่า เม่ืออ่านไม่รู้เร่ืองก็ย่อมเรียนไม่รู้เรื่องและไม่ เข้าใจ การไม่ร้เู รื่องส่ิงทถ่ี กู บังคบั ให้รู้และถา้ ไมร่ ู้ ไม่เขา้ ใจ หรือเขา้ ใจผิด อาจเกดิ โทษ เกิดภัยแก่ตนเองถึงกับติด คุก ติดตะราง สิ้นสิทธิ อันพึงมีพึงได้หรือสูญเสียทรัพย์สินจนสิ้นเน้ือประดาตัว แถมยังมีหน้ีสินล้นพ้นตัว อัน เปน็ เหตุให้ถูกฟอ้ งร้อง ตอ่ ศาลใหพ้ ิพากษาให้เปน็ บุคคลล้มละลาย ไมส่ ามารถจดั การทรพั ยส์ ินของตนเอง ได้อีกด้วย และไมร่ วู้ ่าภยั นั้นจะมาถงึ ตัวเมื่อไร จึงเป็นความทุกข์อย่างย่งิ ความทกุ ข์น้ันหากไม่หาทางแก้ไข ปลด เปลอ้ื ง และลงมือปฏบิ ตั ิ ความทุกขก์ จ็ ะไม่หมดสิ้นไปหรอื ไมบ่ รรเทาเบาบางลง ดังนั้น สาเหตุที่ทาให้อ่านกฎหมายไม่รู้เร่ือง ซ่ึงถือว่าเป็นเหตุแห่งทุกข์ เท่าที่ผู้เขียนรวบรวมได้ มี 4 ประการคอื 1. ไม่รคู้ วามหมายของภาษา ที่เขยี นไวใ้ นกฎหมาย 2. ไมร่ วู้ า่ กฎหมายคืออะไร 3. ไมร่ วู้ ธิ ีการอา่ นกฎหมาย 4. ไม่มีระบบในการค้นหา กฎหมาย เพื่อนาออกมาใช้วิธีแก้ความทุกข์ ก็ต้องแก้ท่ีเหตุแห่งทุกข์ ท้ัง 4 ประการน้ัน ซ่ึงจะได้กล่าวถึงแต่ละวิธีเป็นลาดับไป อ่านกฎหมายไม่รู้เรื่อง เพราะ ไม่รู้ความหมายของภาษาท่ี เขียนไวใ้ นกฎหมาย

นอกจากผู้ที่เป็นนักศึกษาหรือผู้ท่ีเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐ ท่ีมีความจาเป็นต้องใช้ในการเรียน หรือการปฏิบัติราชการ ซ่ึงจะต้องทาเป็นตัวหนังสือหรือเป็นลายลักษณ์อักษร การเรียนการสอนหนังสือ ใน สถาบันการศึกษาของเรา คาศัพท์ต่างๆก็ยิ่งมีเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกฎหมาย ซ่ึงต้องเขียนไว้เป็นลายลักษณ์ อักษรท้ังสิ้น และทกุ คามคี วามหมาย เม่อื ผสู้ อนไม่เน้นเรอื่ งคาแปล หรือ คานยิ ามความหมายของถ้อยคาให้ตรง กับที่ทางราชการกาหนดไว้ เป็นเหตุให้นักศึกษาที่มาจากต่างภาค ต่างท้องถิ่นกัน ทาให้แปลความหมายของ ถอ้ ยคาผดิ เพี้ยนกนั ไป แม้แต่คนท่ีอยู่ภาค และท้องถ่ินเดียวกัน ก็ยังแปลความหมายแตกต่างกัน บางคร้ังคิดว่า ถอ้ ยคาบางคา ไมม่ คี าแปล เชน่ คาวา่ สทิ ธิ อานาจหน้าที่รับผิดชอบ ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย เป็นต้น ความ จริงถ้อยคาเหล่าน้ี เป็นคาศัพท์ที่ทางราชการบัญญัติข้ึนและ ได้ให้คานิยามความหมายไว้ท้ังส้ิน เม่ือเราไม่ดูคา จากดั ความหมาย จากพจนานกุ รม เรากไ็ มท่ ราบความหมายหรือไม่กระจ่างชัดทุกแง่มุม ซึ่งถ้อยคาเหล่าน้ี หาก ไปอยู่ในเอกสารบางประเภท มีความสาคัญมาก เช่น ไปอยู่ใน เอกสารสัญญาต่างๆในพินัยกรรมโดยเฉพาะใน กฎหมาย หากไมท่ ราบความหมายท่แี ทจ้ รงิ ตามทท่ี างราชการกาหนดไว้ อาจแปลความหมายผิดหรือตีความผิด ไป ซ่ึงอาจมีผลทาให้คดีความถึงแพ้ชนะกันได้ เน่ืองจากกฎหมาย เป็น กฎหรือ บทบัญญัติ ที่ทางราชการตรา ขน้ึ เพอ่ื ใช้ บงั คับแก่ประชาชนทัง้ ประเทศ การบัญญตั กิ ฎหมาย จะตอ้ งบญั ญัติไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณ์อักษรและ เม่ือเป็นกฎหมายไทย ภาษาที่ใช้บัญญัติกฎหมาย จึงต้องเป็นภาษาไทยและต้องเป็นภาษาราชการ เพราะเป็น ภาษาท่ีทางราชการกาหนดให้ใช้เป็นภาษากลางที่ทุกคนที่เป็นคนไทยต้องใช้ ถ้อยคาใดในบทบัญญัติแห่ง กฎหมายท่ีจะบัญญัติข้ึนใช้ใหม่ หรือ เป็นคาศัพท์เดิมแต่ต้องการให้มีความหมายใหม่ในกฎหมายฉบับใด ก็ จะต้องใหค้ านิยามความหมาย ไว้ในบทนิยาม หรือ บทวเิ คราะห์ศัพท์ ของกฎหมายฉบับนั้น ซ่ึงส่วนมาก จะอยู่ ในบทบญั ญตั หิ มวดแรกของกฎหมาย คอื หมวดทว่ี า่ ดว้ ย หลกั ทัว่ ไป หรือ บททวั่ ไป ผู้บญั ญัติ กฎหมาย ต้องการให้มีความหมายเป็นพิเศษ หรือทดแทนถ้อยคาที่มีความยาวมากๆ ถ้าเขียนซ้าๆกัน จะยาวลุ่มล่าม จึง ตอ้ งนิยามเพื่อให้กระชับไม่ตอ้ งเขียนยาวๆ ซ้าๆกันทุกคร้ังที่กล่าวถึงการอ่านกฎหมาย บางคร้ัง เม่ือต่างคนต่าง อ่าน ตามตัวอักษร แล้วต่างมีความเห็น ไม่ตรงกันและบางครั้งถึงกับมีความเห็นตรงกันข้าม จากถูกเป็นผิดก็มี ท้ังน้ีเพราะแปลความหมายของถ้อยคาที่เป็นตัวอักษรต่างกัน แปลตามความเข้าใจของแต่ละคน ไม่ได้ยึดถือ ตามคานิยามความหมายทที่ างราชการบญั ญัติไว้ จึงเกิดการโต้เถียงกัน และหาข้อยุติไม่ได้ เพราะต่างคน ก็ต่าง ตีความเพื่อ ให้ตนเองได้ประโยชน์ ไม่ได้ตีความตามเจตนารมณ์ ของผู้ร่างกฎหมายจึงหันมาโทษว่า กฎหมาย ไทยเป็นกฎหมายท่ีด้ินได้ มาก จึงต้องมีการตีความกฎหมายกัน ถึงกับต้องบัญญัติกฎหมายกาหนดหลักเกณฑ์ และวิธตี คี วามกฎหมายไว บทสรปุ เรื่อง ความร้พู ้นื ฐานเก่ียวกบั กฎหมายของไทย 1. ประเภทของกฎหมายไทยแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คอื 1. ประเภทแบ่งตามระบบมี 2 ระบบ คือ ระบบลายลักษณ์อักษรและระบบไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หรือจารีตประเพณี 2. ประเภทแบง่ ตามลกั ษณะการใช้กฎหมาย มี 2 ระบบ กฎหมายสารบัญญัตแิ ละกฎหมายวธิ ีสบญั ญัติ 3. ประเภทแบ่งตามบทบัญญัติในกฎหมายที่มีความสัมพันธ์กับประชาชนมี 3 ประเภทคือกฎหมาย มหาชน กฎหมายเอกชนและกฎหมายระหวา่ งประเทศ

2. ลักษณะของกฎหมาย 1. กฎหมายเป็นกฎ ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ท่ีรฐั ตราออกมาบงั คับกบั ประชาชนของประเทศ หากไม่ปฏิบัติ ตามต้องไดร้ บั โทษ 2. ลกั ษณะของกฎหมายจะต้องมลี ักษณะสาคญั 5 ประการ 2.1. กฎหมายต้องเปน็ คาส่ังหรือข้อบงั คบั ของรัฎฐาธิปตั ย์ 2.2 กฎหมายเป็นคาส่ังหรือข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไปกับบุคคลทุกคนเมื่อกฎหมายได้บัญญัติออก มาแลว้ จะมีผลใช้ไดท้ ั่วไป 2.3. กฎหมายเป็นคาสง่ั ใช้บงั คับและเปน็ ท่ีทราบแกค่ นทว่ั ไปเมอ่ื ประกาศใชเ้ ป็นกฎหมายแล้ว 2.4. กฎหมายเปน็ คาสง่ั หรือข้อบงั คบั ที่ต้องปฏบิ ัตติ ามรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2550 มาตรา 67 บัญญัติว่า “ บุคคลต้องมีหน้าท่ีปฏิบัติตามกฎหมาย” ความหมายว่ากฎหมายออก มาแลว้ ทุกคนในประเทศต้องปฏิบัตติ าม จะอา้ งไม่รกู้ ฎหมายมไิ ด้ 2.5. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ คือการกาหนดโทษ ถ้ามีกฎหมายออกมาแล้วโดยไม่ไม่กาหนด ความผดิ และโทษ กฎหมายนัน้ กไ็ ม่มคี วามหมาย 3. ลาดบั ความสาคัญของกฎหมาย 3.1. ศกั ดขิ์ องกฎหมาย หมายถึงความสาคญั ลาดบั ฐานะหรือความสูงต่าของกฎหมาย 3.2. หลกั ของกฎหมายยดึ หลกั ว่ากฎหมายทีม่ ีศกั ด์ิตา่ กว่า 3.3 ลาดับความสาคัญตามศักดิ์ของกฎหมายกฎหมายที่ออกโดยองค์กรท่ีมีอานาจออกกฎหมายสูง กวา่ ยอ่ มมีศักดส์ิ ูงกวา่ กฎหมายทอ่ี อกโดยองคก์ รต่ากวา่ 3.4. ลาดับความสาคัญของกฎหมายตามศักดิ์ ได้แก่ รัฐธรรมนูญ เป็นแม่บทมีศักด์ิสูงสุดรองลงมา ได้แก่ กฎหมายทอี่ อกโดยฝา่ ยนิติบัญญตั ิ ฝา่ ยบริหาร และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ประโยชน์ของการจัดลาดบั ศักดกิ์ ฎหมาย คือ 1. ในการตคี วามกฎหมายตอ้ งยดึ กฎหมายศกั ดิส์ ูงกวา่ เป็นหลัก 2. การแกไ้ ขเพ่ิมเติม ยกเลิกกฎหมาย ต้องกระทาโดยกฎหมายทีม่ ีศกั ดริ์ ะดบั เดยี วกนั หรือมีศักดสิ์ งู กวา่

แผนการเรยี นรู้รายสปั ดาห์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การพัฒนาสังคม รายวชิ า กฎหมายพื้นฐานในการดารงชวี ติ รหสั วิชา สค 32023 เรื่อง การบงั คับใชก้ ฎหมายและการส้นิ ผลการบงั คบั ใช้กฎหมาย ระดับช้ัน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 6 ชั่วโมง การพบกลมุ่ ครง้ั ที่ 13

แผนการเรยี นรรู้ ายสปั ดาห์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การพฒั นาสงั คม รายวิชา กฎหมายพื้นฐานในการดารงชวี ติ รหสั วิชา สค 32023 เรอ่ื ง การบังคับใช้กฎหมายและการสิ้นผลการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย ระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 6 ช่ัวโมง วนั ทจี่ ดั การเรียนการสอน........4 มนี าคม ๒๕๖๔..........การพบกลมุ่ ครง้ั ท.่ี ...................... 13......................... 1. ตัวช้วี ดั 1. อธบิ ายถงึ วิธกี ารประกาศใช้และวันเริม่ บงั คบั ใช้กฎหมายได้ 2. อธิบายถึงการส้นิ ผลการบังคบั ใช้กฎหมายได้ 3. บอกประโยชน์ของการอุดช่องวา่ งในกฎหมายได้ 4. อธบิ ายและตีความหลักกฎหมายได้ 5. ตระหนกั ถงึ ความจาเป็นท่ีจะตอ้ งมีการตีความหลกั กฎหมาย 2. เนอ้ื หา 1. การบงั คับใช้กฎหมาย 2. การส้ินผลการบงั คับใช้กฎหมาย ขน้ั จดั กระบวนการเรียนรู้ ขัน้ ท่ี 1 กาหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรยี นรู้ 1. ครูแจง้ ผลการเรียนรแู้ ละจุดประสงค์การเรียนรูใ้ ห้นักศึกษาทราบว่า นักศึกษาจะได้ศึกษา เกีย่ วกับกฎหมายในประเด็นของการบังคับ การสนิ้ ผล บงั คับใช้ และกระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง ทางอาญา และ ทางปกครอง 2. ครสู ่มุ นักศกึ ษา ทีละ 1 คน เพือ่ ให้ยกตัวอย่างกฎหมายที่ตนเองรจู้ ัก - ครูใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน Pretest ขั้นท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจัดการเรยี นรู้ ครูแบง่ ผู้เรียนออกเป็น 6 กลุ่ม กลุม่ ละ 6–7 คน ศึกษาและสืบค้นข้อมลู จากสื่อการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ เชน่ หนงั สอื เรียน หนังสอื ในห้องสมดุ อนิ เทอรเ์ น็ต ตามหัวขอ้ ดงั ต่อไปนี้ กล่มุ ที่ 1 ศกึ ษาการบังคับใช้กฎหมายในเรอ่ื ง – การประกาศใช้กฎหมาย – วันเรม่ิ บังคับใช้กฎหมาย กลุ่มท่ี 2 ศกึ ษาการบังคบั ใช้กฎหมายในเรือ่ ง – อาณาเขตท่กี ฎหมายใชบ้ ังคับ – บุคคลท่กี ฎหมายใชบ้ งั คับ

กลุ่มที่ 3 ศึกษาการบังคบั ใช้กฎหมายในเรอื่ ง – บุคคล และสถาบนั ท่เี กยี่ วข้องกบั การบังคบั ใช้กฎหมาย – กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง และกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา กลุ่มที่ 4 ศกึ ษาการบังคบั ใช้กฎหมายในเร่อื ง – การตีความกฎหมาย กลุ่มที่ 5 ศึกษาการบังคับใช้กฎหมายในเรอ่ื ง – การอดุ ชอ่ งว่างของกฎหมาย กล่มุ ท่ี 6 ศึกษาการส้นิ ผลการบงั คบั ใช้กฎหมาย -และศกึ ษาหาข้อมูลเพ่ิมเติมเรือ่ งการบังคบั ใช้กฎหมายและการส้นิ ผลการบังคับใชก้ ฎหมาย จากเว็บไซต์ดังแนบ การบังคบั ใชก้ ฎหมาย การยกเลกิ และสน้ิ ผล การใชก้ ฎหมาย ขั้นที่ 3 ปฏิบัติและนาไปประยกุ ต์ใช้ 3. ครใู หผ้ ู้เรียนทาใบงาน เรื่องการบังคับใชก้ ฎหมายและการส้ินผลการบังคับใชก้ ฎหมาย ใบงาน ข้ันที่ 4 ประเมินผลการเรยี นรู้ - ผ้เู รียนทาแบบทดสอบหลังเรียน Posttest

3. สอื่ ประกอบการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรือ่ ง การบังคับใช้กฎหมายและการส้ินผลการบังคบั ใช้กฎหมาย 2. ใบงาน เร่อื ง การบังคับใช้กฎหมายและการสิ้นผลการบังคบั ใชก้ ฎหมาย 4. การวัดผลและประเมินผล 1 แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน 2. แบบประเมนิ ใบงาน 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 4. แบบประเมินด้านจติ พสิ ัย ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นางณัฏฐณิชา เพ็ชรโต) ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล

คาช้แี จง ให้นกั ศึกษาเลอื กคาตอบทถี่ ูกทสี่ ดุ เพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดคือหลกั ของการเริ่มบังคบั ใช้กฎหมาย ไทย ก. ใชต้ ัง้ แตว่ นั ที่ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ข. ใชเ้ พอ่ื เป็นโทษต่อผตู้ ้องหาหรือจาเลยไมไ่ ด้ ค. ใช้ย้อนหลังเพ่ือเปน็ คุณต่อผตู้ ้องหาหรอื จาเลยได้ ง. มผี ลบังคบั ใช้ถัดจากวันที่ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา 2. หนังสอื ราชกิจจานุเบกษา มคี วามสาคัญอย่างไร ก. เปน็ หนงั สือที่รวบรวมกฎหมายทกุ ฉบับของไทยไวใ้ นท่เี ดียวกัน ข. หนังสือที่รวบรวมเอาบทบัญญัติเกยี่ วกบั กฎหมายท่ีเป็นเรอ่ื งเดยี วกนั ไว้ดว้ ยกัน ค. เปน็ หนังสือของทางราชการเร่อื งทีป่ ระกาศในหนงั สือน้ถี ือวา่ ประชาชนไดร้ บั ทราบแล้ว ง. เป็นหนังสือประกาศ ของทางราชการท่ตี ้องการใหป้ ระชาชนเฉพาะในเขต 3. โดยหลักกฎหมายไทยยอ่ มใช้บังคบั ในราชอาณาจักรไทย ยกเวน้ ขอ้ ใดทย่ี งั คงต้องใชก้ ฎหมายไทยบงั คับ เม่อื มีคดีเกิดขน้ึ ก. คนไทยลักทรัพย์คนอังกฤษในประเทศมาเลเซีย ข. ตารวจไทยจับทตู ของประเทศลาวท่ีมาประจาอยูใ่ นประเทศไทย ค. ชาวสวเี ดนถูกฆา่ ตายบนสายการบนิ ไทยซึง่ บนิ อย่เู หนือน่านฟ้าฝรั่งเศส ง. ไมม่ ีข้อใด ถกู 4. “ถา้ มกี ารกระทาความผิดในราชอาณาจักรไทยต้องอยภู่ ายใตบ้ ังคับของกฎหมายไทย” ข้อความนี้ใชบ้ งั คบั ได้กบั กรณีต่อไปน้ียกเว้น ขอ้ ใด ก. มีการฆ่ากนั ตายบนเรือสินค้าจนี ขณะจอดเทยี บทา่ ท่ีท่าเรือคลองเตย ข. มีการลกั ทรัพย์บนสายการบินไทยขณะบนิ อยเู่ หนอื น่านฟ้าญีป่ ุ่น ค. มอสจับตวั แนนไปเรียกคา่ ไถ่ 1 ลา้ นบาท ง. ขอ้ ก และ ขอ้ ค ถูก 5. โดยหลกั กฎหมายแล้วจะต้องใชบ้ ังคับแกบ่ ุคคลทุกคนที่อยภู่ ายในราชอาณาจักร แต่มบี ุคคลท่ไี ด้รบั การ ยกเว้น ตามที่รัฐธรรมนูญกาหนดบคุ คลดังกลา่ วคือใคร ก. พระสงฆ์ ข. คนตา่ งดา้ ว ค. สมาชิกรัฐสภา ง. ขา้ ราชการพลเรือน

6. การพจิ ารณาคดใี นข้อใดที่กาหนดใหม้ ี “ดะ โต๊ะ ยุติธรรม” 1 นายทาหน้าที่พิจารณารว่ มกับผูพ้ พิ ากษาใน ศาลนนั้ ๆ ก. คดีมรดกในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ของไทย ข. คดีครอบครวั ในจงั หวดั ปตั ตานสี ตลู ยะลา และนราธวิ าส ค. คดคี รอบครวั และมรดกของมสุ ลิมในประเทศไทย ง. คดีครอบครัว และมรดกในจงั หวดั สงขลา สตลู นราธวิ าส และ ปตั ตานี 7. ตุลาการ ศาล รัฐธรรมนูญและ คณะกรรมการตุลาการแตกตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร ก. ไมแ่ ตกต่างกนั เพราะมอี งคค์ ณะผู้พิพากษา ทาหนา้ ทีค่ ลา้ ยกนั ข. ไม่แตกต่างกัน เพราะเป็นองค์กรท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การตัดสินคดีความทวั่ ไป ค. แตกต่างกัน เพราะองค์กรหน่งึ ข้ึนกบั ฝ่ายบรหิ ารแต่อกี องค์กรขน้ึ กับฝา่ ยนิติบญั ญัติ ง. แตกต่างกัน เพราะองค์กรหนง่ึ ตดั สนิ คดีที่เก่ยี วข้องกับรฐั ธรรมนูญ แตอ่ กี องค์กรแตง่ ต้งั โยกย้ายให้คณุ ให้ โทษผพู้ พิ ากษา 8. “คดถี ึงทส่ี ดุ ” หมายความวา่ อย่างไร ก. คดที ่ศี าลมีคาสั่งให้ยกฟอ้ ง ข. คดีทีค่ ู่ความไมอ่ ทุ ธรณ์หรอื ฎกี าตอ่ ไป ค. คดที ่ีจาเลยถูกตัดสินประหารชวี ิต ง. คดที ค่ี คู่ วามฝา่ ยใดฝ่ายหนึง่ ถึงแก่ความตาย 9. หนว่ ยงานใดของรฐั ที่มีอานาจหนา้ ที่ในการควบคุม กกั ขัง และลงโทษจาเลยตามคาพพิ ากษาของศาล ก. ศาล ข. ตารวจ ค. กรม บงั คับ คดี ง. กรม ราชทณั ฑ์ 10. ตลุ าการ ศาล รัฐธรรมนญู หมายถึงอะไร ก. คณะบุคคลผู้มีอานาจชี้ขาดวา่ การกระทาใดเป็นการขดั ตอ่ รัฐธรรมนูญหรือไม่ ข. คณะบุคคลผมู้ ีอานาจพิจารณาขอ้ เสนอขอแก้ไขบทบญั ญตั ิรัฐธรรมนูญ ค. คณะผู้พพิ ากษา ผู้พิจาณาคดตี ่างๆ วา่ มีการกระทาใดทข่ี ัดต่อรฐั ธรรมนูญหรือไม่ ง. คณะบคุ คลซึ่งมีอานาจวินิจฉยั ชข้ี าดในกรณีทีม่ ขี ้อโต้แย้งวา่ กฎหมายใดมีข้อความขัดหรือแยง้ กบั บทบญั ญัติ ในรัฐธรรมนูญหรอื ไม่

ใบงานที่ 1 วิชากฎหมายพืน้ ฐานในการดารงชีวิต สค 32023 เรอ่ื ง การบังคบั ใชก้ ฎหมายและการสน้ิ ผลการบังคับใชก้ ฎหมาย คาช้ีแจง ใหน้ ักศึกษาอธบิ ายการบังคบั ใช้กฎหมายและการสน้ิ ผลการบงั คบั ใชก้ ฎหมายให้สมบรู ณ์ (10 คะแนน) 1. วนั เรม่ิ บงั คับใช้กฎหมายแตล่ ะฉบบั ของประเทศไทยมกี ่ีกรณีอะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ประชาชนเกี่ยวข้องกบั การบงั คบั ใช้กฎหมายอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การยกเลิกกฎหมายโดยตรงมีกกี่ รณี อะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เมอื่ พระราชบัญญัติฉบบั ใดฉบับหนงึ่ ถูกยกเลิกไปกฎหมายอน่ื ๆ ทเี่ ปน็ กฎหมายลูกของพระราชบญั ญตั ิฉบับ นน้ั จะมผี ลกระทบหรือไม่ อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรทู้ ี่ 1 วชิ ากฎหมายพ้นื ฐานในการดารงชวี ิต สค 32023 เรอ่ื ง การบงั คับใช้กฎหมาย และการยกเลกิ กฎหมาย 1. กฎหมายซงึ่ บัญญัติขน้ึ น้นั เม่อื จะนามาบังคบั ใชม้ หี ลกั สาคัญทต่ี ้องพจิ ารณาอยู่ 3 ประการ คือ เวลา สถานท่ี และบุคคลที่ใช้บงั คบั 2. ในการบังคบั ใชก้ ฎหมายให้ไดม้ ปี ระสทิ ธผิ ลนั้น รัฐเองมีหน้าทจ่ี ะต้องเตรียมการให้พร้อมในดา้ นสถานที่ บุคลากร และประชาสมั พันธ์ 3. การยกเลิกกฎหมาย คือการท่กี ฎหมายนนั้ ส้นิ สดุ ลง ไม่สามารถใชบ้ ังคับได้อกี ตอ่ ไป การยกเลกิ กฎหมายน้ัน แบ่งออกได้เปน็ 2 กรณี คือ การยกเลกิ กฎหมายโดยตรง และการยกเลิกกฎหมายโดยปริยาย 1. การบงั คบั ใช้กฎหมาย 1. เวลาท่ีกฎหมายใชบ้ งั คับนั้น ก็คอื เวลาท่ีกฎหมายกาหนดไว้ในตัวกฎหมายนั้นเองว่าจะให้กฎหมายนนั้ ใช้ บงั คับเม่ือใด อาจเปน็ วนั ที่ประกาศใช้ หรือโดยกาหนดวันใช้ไวแ้ นน่ อน หรือกาหนดให้ใช้เมื่อระยะเวลาหน่ึงลว่ ง พน้ ไป 2. สถานท่ที ี่กฎหมายใช้บังคบั กฎหมายของประเทศไดก็ใชบ้ ังคบั ได้ในอาณาเขตของประเทศนนั้ ๆ ซึ่งเป็น การใชห้ ลักดนิ แดน 3. กฎหมายย่อมใชบ้ ังคบั แก่บคุ คลทุกคนที่อยใู่ นอาณาเขตของประเทศนน้ั ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ บุคคลสญั ญาติ นั้นเองหรอื บุคคลต่างด้าวก็ตาม 4. การบงั คบั ใชก้ ฎหมายใหไ้ ด้ผล ต้องมีการเตรียมการทงั้ ในดา้ นการประชาสมั พันธ์ บุคลากร สถานท่ี และ อปุ กรณ์ 1.1 เวลาทีก่ ฎหมายใชบ้ ังคบั การบงั คับใชก้ ฎหมายแบ่งไดเ้ ปน็ กี่ประเภท การบังคับใช้กฎหมายแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1) เวลาทีใ่ ช้บงั คบั 2) สถานทท่ี ่ีกฎหมายใช้บังคบั 3) บุคคลท่ีกฎหมายใชบ้ ังคับ

อธบิ ายหลักท่วั ไปของกาหนดเวลาทก่ี ฎหมายใช้บังคบั กาหนดเวลาที่กฎหมายใช้บังคับสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 4 กรณี คอื 1) กรณที ่ัวไป คือ โดยปกตกิ ฎหมายมักจะกาหนดวนั ใช้บงั คับในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา 2) กรณเี รง่ ดว่ น เป็นกรณีทต่ี ้องการใชบ้ ังคับกฎหมายอยา่ งรบี ดว่ นให้ทนั สถานการณ์ จึงกาหนด ให้ใช้ใน วันทีป่ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา 3) กาหนดเวลาใหใ้ ช้เม่ือระยะเวลาหนงึ่ ลว่ งไป เช่น เมื่อพ้นจากวันนับแต่วันประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ทงั้ นี้ เพ่ือใหเ้ วลาแก่ทางราชการทเ่ี ตรียมตัวให้พรอ้ มในการบงั คับใช้กฎหมายน้ันและให้ประชาชนไดเ้ ตรียม ศกึ ษาเพ่ือปฏบิ ัตติ ามไดถ้ ูกต้อง 4) กรณีพเิ ศษ กฎหมายอาจกาหนดให้พระราชบญั ญัติน้นั ใช้บงั คบั ในวันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จา นเุ บกษา แต่พระราชบญั ญัตินั้นจะใช้ไดจ้ รงิ ในท้องท่ใี ด เวลาใด 1.2 สถานทีท่ ่ีกฎหมายใช้บังคบั หลกั ดนิ แดนหมายความวา่ อยา่ งไร “หลักดนิ แดน” หมายความว่า กฎหมายของประเทศใดก็ให้ใช้บังคบั กฎหมายของประเทศน้นั ภายใน อาณาเขตของประเทศนน้ั 1.3 บุคคลท่ีกฎหมายใชบ้ ังคับ บคุ คลใดบา้ งท่รี ัฐธรรมนญู ยกเวน้ ไมใ่ หใ้ ชบ้ ังคับกฎหมาย บคุ คลท่รี ฐั ธรรมนูญยกเว้นไมใ่ ห้ใช้บงั คบั กฎหมายไดแ้ ก่ 1. พระมหากษตั รยิ ์ เพราะเปน็ ทีเ่ คารพสักการะ ใครจะล่วงละเมดิ ฟอ้ งร้องพระมหากษตั รยิ ์ไม่ได้ ไมว่ า่ ทางแพ่งหรือทางอาญา 2. สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รัฐมนตรี กรรมาธิการ และบุคคลท่ีประธานสภาฯ อนุญาตให้แถลงข้อเท็จจรงิ หรือแสดงความคดิ เหน็ ในสภาตลอดจนบุคคลผู้พิมพ์รายงานการประชุมตามคาสง่ั ของสภาฯ เหตทุ ี่กฎหมายใหเ้ อกสทิ ธ์ไิ ม่ให้ผู้ใดฟ้องบคุ คลดังกลา่ วในขณะปฏบิ ตั ิหน้าท่ใี นสภา กเ็ พ่ือแสดงความ คิดเหน็ ไดเ้ ต็มทเี่ พือ่ ประโยชน์ในการพจิ ารณาของสภานน้ั เอง เวน้ แตก่ ารประชุมน้ันจะมีการถ่ายทอดทาง วิทยกุ ระจายเสียงหรือวทิ ยุโทรทศั น์ 1.4 การเตรียมการบังคับใช้กฎหมาย การเตรียมการบงั คับใช้กฎหมายมกี ี่ประเภท อะไรบา้ ง การเตรียมการบังคับใชก้ ฎหมายแบง่ ออกเปน็ 3 กรณี 1. ด้านประชาสัมพนั ธ์ มกี ารเตรยี มการ โดยผา่ นส่ือต่างๆ ไม่ว่าทางวทิ ยุโทรทัศน์ ส่ือสงิ่ พิมพ์ เพ่ือให้ บุคคลต่างๆ ไดท้ ราบขอ้ มลู 2. ด้านเจา้ หน้าท่ี ต้องมกี ารเตรียมการให้เจ้าหน้าท่ีผู้บังคบั ใชก้ ฎหมายมีความรู้ ความชานาญ และ ความเขา้ ใจ เพอื่ จะบังคับใช้กฎหมายได้ถูกต้อง 3. ด้านสถานที่และอุปกรณ์ มีการเตรยี มสถานที่เพื่อใหเ้ พยี งพอให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย เพอ่ื ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพในการบังคบั ใชก้ ฎหมาย

2. การยกเลิกกฎหมาย 1. การยกเลิกกฎหมาย คือการทาให้กฎหมายที่เคยใชบ้ ังคับอยนู่ ้นั สิ้นสุดลง โดยยกเลิกโดยตรง และยกเลกิ โดยปรยิ าย 2. การยกเลิกกฎหมายโดยตรงนั้น แบ่งออกเปน็ 3 กรณี คอื 1) ตวั กฎหมายนน้ั เอง กาหนดวันทีย่ กเลกิ กฎหมายน้ันไว้ 2) ยกเลกิ โดยมีกฎหมายใหม่ ซง่ึ มลี ักษณะอย่างเดียวกนั กาหนดใหย้ กเลิกไว้โดยตรง 3) ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญัติ 3. การยกเลิกกฎหมายโดยปริยายนัน้ เป็นเร่ืองท่ีไม่มีกฎหมายใหม่บญั ญัติให้ยกเลิกกฎหมายเก่าโดยชดั แจง้ แต่เปน็ ท่ีเหน็ ไดว้ า่ กฎหมายใหม่ยอ่ มยกเลิกกฎหมายเก่า เพราะกฎหมายใหมย่ ่อมดีกวา่ กฎหมายเกา่ และ หากประสงค์จะใช้กฎหมายเก่าอยู่ก็คงไม่บัญญัติกฎหมายในเรือ่ งเดยี วกันขนึ้ มาใหม่ 2.1 การยกเลกิ กฎหมายโดยตรง อธบิ ายการยกเลิกกฎหมายโดยตรง การยกเลกิ กฎหมายโดยตรงแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 กรณี คือ 1. ในกฎหมายน้ันเองกาหนดวันยกเลกิ ไว้เช่น ให้กฎหมายน้ีส้นิ สุดลงเมื่อพ้นกาหนด 3 ปี 2. เมอ่ื มกี ฎหมายใหม่มลี ักษณะเช่นเดยี วกัน ระบยุ กเลิกไว้โดยตรง ซงึ่ อาจจะยกเลิกท้ังฉบบั หรือ บางมาตรากไ็ ด้ 3. เม่อื พระราชกาหนดที่ประกาศใช้ถูกยกเลิก เมอ่ื พระราชกาหนดไดป้ ระกาศใชแ้ ต่ต่อมาไดม้ ี พระราชบัญญตั ิไม่อนุมตั ิพระราชกาหนดน้นั มีผลทาให้พระราชกาหนดนนั้ ถูกยกเลิกไป 2.2 การยกเลิกกฎหมายโดยปรยิ าย เมื่อยกเลิกพระราชบญั ญตั แิ ล้ว พระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยอานาจของกฎหมายนนั้ จะถูกยกเลิก หรือไม่เมื่อยกเลกิ พระราชบัญญัติแล้ว พระราชกฤษฎกี าทอี่ อกโดยอานาจของกฎหมายนั้นจะถกู ยกเลกิ ไปในตวั ดว้ ยเพราะพระราชบญั ญตั ิเป็นกฎหมายแม่บท เมอ่ื กฎหมายแมบ่ ทถูกยกเลิกไปแล้ว พระราชกฤษฎีกาซ่ึง ออกมาเพ่ือจะให้มีดาเนินการใหเ้ ปน็ กฎหมายแม่บทกจ็ ะถูกยกเลิกไปด้วย

แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การพฒั นาสังคม รายวชิ า กฎหมายพ้ืนฐานในการดารงชวี ติ รหสั วิชา สค 32023 เร่ือง รฐั ธรรมนูญ ระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 6 ช่วั โมง การพบกลมุ่ ครง้ั ท่ี 14

แผนการเรยี นรู้รายสัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การพัฒนาสังคม รายวชิ า กฎหมายพนื้ ฐานในการดารงชีวิต รหสั วชิ า สค 32023 เรือ่ ง รัฐธรรมนญู ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 6 ชวั่ โมง วนั ทจี่ ดั การเรียนการสอน........11 มนี าคม ๒๕๖๔..........การพบกลมุ่ ครัง้ ท.่ี ...................... 14......................... 1. ตวั ชีว้ ดั 1. บอกความเป็นมาของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยตัง้ แตเ่ ปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจบุ นั ได้ 2. อธิบายหลกั เกณฑส์ าคัญที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนญู ซ่ึงเป็นหลกั ในการอานวยการปกครอง ประเทศได้ 3. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของรฐั ธรรมนญู ที่มีต่อสังคมไทย 4. เปรียบเทียบความแตกต่างของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยแต่ละฉบบั ในสาระสาคัญ ทเี่ ห็นเดน่ ชัดได้ 2. เนื้อหา 1. ความเปน็ มาของรฐั ธรรมนญู ไทย 2. ความแตกต่างของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยแต่ละฉบบั ท่ีได้มีการประกาศใช้ 3. สาระสาคัญของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 4. หลักเกณฑ์สาคญั ทกี่ าหนดไว้ในรฐั ธรรมนญู ซง่ึ เป็นหลกั ในการปกครองประเทศ 5. สรปุ โครงสร้างและอานาจหนา้ ทข่ี องฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบรหิ าร และฝา่ ยตลุ าการ ขัน้ จดั กระบวนการเรียนรู้ ข้ันที่ 1 กาหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ 1. ครูแจ้งผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรยี นรู้ ให้นกั ศึกษาทราบว่านกั ศึกษาแตล่ ะกลุ่ม จะได้ช่วยกันศึกษาและวเิ คราะหเ์ กีย่ วกบั กฎหมายรัฐธรรมนูญวา่ เป็นกฎหมายสูงสุดที่ว่าดว้ ยการจัดระเบียบ แห่งอานาจรัฐ และเป็นกฎหมายที่มีฐานะเหนือกว่าบรรดากฎหมาย และกฎเกณฑท์ ้ังปวงท่มี ีการตราออกมา ใช้ - ครูใหน้ ักศกึ ษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน Pretest

ขน้ั ท่ี 2 การแสวงหาขอ้ มลู และจัดการเรียนรู้ ครแู บง่ ผู้เรยี นออกเป็น 6 กลุ่ม กล่มุ ละ 6–7 คน ศึกษาและสืบคน้ ข้อมลู จากส่อื การเรยี นร้ตู ่าง ๆ เช่น หนงั สือเรียน หนงั สือ ในห้องสมดุ อินเทอร์เน็ต ตามหัวข้อดังต่อไปน้ี กลุม่ ที่ 1 ศกึ ษาความเปน็ มาของรฐั ธรรมนูญไทย กลุ่ม ท่ี 2 ศึกษาความแตกตา่ งของรัฐธรรมนญู ไทยทปี่ ระกาศใชท้ ั้ง 18 ฉบบั กล่มุ ที่ 3 ศึกษาสาระสาคัญของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กลมุ่ ที่ 4 ศึกษาหลักเกณฑส์ าคญั ท่ีกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 กลุ่ม ที่ 5 สรปุ โครงสรา้ งและอานาจหน้าท่ีของฝา่ ยนิติบญั ญัติฝ่ายบรหิ ารและฝา่ ยตลุ าการตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 -และศึกษาหาข้อมูลเพิม่ เติมเรือ่ ง รฐั ธรรมนูญ จากคลิปวดี ีโอดังแนบ https://www.youtube.com/watch?v=hRujCZN6ANs ขนั้ ที่ 3 ปฏิบตั แิ ละนาไปประยุกตใ์ ช้ 4. ครใู หผ้ ้เู รยี นทาใบงาน เรื่อง รัฐธรรมนูญ ใบงาน ข้นั ท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ - ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น Posttest

3. สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น 2. ใบความรู้ เรือ่ ง รัฐธรรมนญู 3. ใบงาน เร่ือง รัฐธรรมนูญ 4. แบบบันทกึ ความรู้เร่ือง รฐั ธรรมนูญ 4. การวัดผลและประเมินผล 1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลงั เรยี น 2. แบบประเมินใบงาน 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ 4. แบบประเมินดา้ นจิตพิสัย ลงช่อื .........................................................ผู้สอน (นางณฏั ฐณชิ า เพช็ รโต) ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล

คาชีแ้ จง ใหน้ กั ศึกษาเลอื กคาตอบทถี่ กู ท่ีสุดเพยี งข้อเดยี ว 1. ข้อใดถือเปน็ กฎหมายหลักที่บ่งบอกถงึ อานาจรัฐ ความรับผดิ ชอบของผ้ปู กครองตลอดจน สิทธเิ สรีภาพ และหน้าที่ของประชาชน ก. รัฐธรรมนญู ข. กฎหมาย ปกครอง ค. พระ ธรรมนญู ศาลยุตธิ รรม ง. ประมวล กฎหมายแพง่ และ พาณชิ ย์ 2. รฐั ธรรมนูญ มฐี านะเหนอื กว่า กฎหมายธรรมดา ยกเว้น ข้อใด ก. รฐั ธรรมนญู แก้ไขเพมิ่ เตมิ ยากกว่ากฎหมายธรรมดา ข. การละเมดิ รฐั ธรรมนูญมคี วามผิดฐานทาลายเอกสารของทางราชการ ค. บทบญั ญัตแิ ห่งกฎหมายใดขัดหรือแยง้ กบั รฐั ธรรมนูญกฎหมายนัน้ ไม่มีผลบังคบั ใช้ ง. ศาลรฐั ธรรมนูญเป็นผ้วู นิ จิ ฉยั ตีความวา่ กฎหมายต่าง ๆ ขัดหรอื แยง้ กบั รัฐธรรมนูญหรือไมส่ ่วนกรณอี ่นื ๆ ศาลยตุ ธิ รรมเปน็ ผ้วู ินิจฉยั ตีความ 3. มนุษยท์ ุกคนทเ่ี กิดมาไม่วา่ จะมีเช้อื ชาติศาสนาหรอื ภาษาใดยอ่ มได้รบั การคุ้มครองในฐานะท่ีเปน็ มนษุ ย์ อยา่ งเท่าเทยี มกนั การคุ้มครองดงั กล่าวเป็นสิทธิมนุษยชนซ่ึงปรากฏอยูใ่ นรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 มาตราใด ก. มาตรา 4 ข. มาตรา 8 ค. มาตรา 10 ง. ทุก มาตรา 4. ขอ้ ใดถูกต้อง ก. การละเมิดรัฐธรรมนูญมคี วามผดิ ฐานละเมดิ ข. รัฐธรรมนญู เปน็ กฎหมายที่ออกโดยฝา่ ยนิติบัญญัติและฝ่ายบรหิ าร ค. ประเทศทป่ี กครองด้วยระบอบเผด็จการ หรือคอมมิวนิสต์กอ็ าจจะมรี ัฐธรรมนูญใชไ้ ด้ ง. การศกึ ษาหลักประกนั สิทธเิ สรีภาพข้ันพน้ื ฐานของประชาชนควรศึกษาจากประมวลกฎหมายแพง่ และ พาณิชย์ 5. บคุ คลจะมีสทิ ธิไดร้ ับค่าทดแทนตามกฎหมายรัฐธรรมนญู ในกรณีใด ก. ถูกบุคคลอน่ื ทาละเมิด ข. ถูกเจา้ หน้าท่ีของรฐั ทาละเมดิ ค. สญู เสยี บุตร คูส่ มรส หรอื บิดามารดาในหนา้ ทร่ี าชการ ง. ถกู ศาลพิพากษาจาคกุ แต่ภายหลงั ร้อื คดีขึน้ มาพิจารณาใหม่ และปรากฏว่าเปน็ ผู้บริสุทธิ์

6. กฎหมายรฐั ธรรมนญู ทกุ ฉบบั ของประเทศไทยบัญญัติเร่ืองใดไว้ไม่แตกตา่ งกนั มากนัก ก. การกาหนดอานาจหน้าที่ของรฐั สภา ข. การกาหนดระเบยี บแห่งอานาจสูงสดุ ค. การกาหนดเรื่องการปกครองสว่ นท้องถ่ิน ง. การกาหนดเร่ืองสทิ ธเิ สรีภาพ และหนา้ ท่ีของบคุ คล 7. ข้อใด มใิ ช่ สถานะของรัฐธรรมนญู ก. เปน็ กฎหมายท่กี าหนดเก่ียวกับแนวนโยบายแห่งรัฐ ข. เป็นกฎหมายทว่ี า่ ดว้ ยระเบียบแหง่ อานาจสูงสดุ ของรฐั ค. เปน็ กฎหมายทกี่ าหนดสทิ ธิเสรภี าพ และหน้าทข่ี องบุคคล ง. เปน็ กฎหมายที่ตราขน้ึ โดยพระมหากษัตรยิ ์ และผา่ นความเหน็ ชอบของฝา่ ยบริหาร 8. ข้อใด ผดิ ก. ประเทศใดมรี ฐั ธรรมนูญใช้บงั คบั ประเทศนน้ั มกี ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ข. การเลือกตั้งตามท่กี าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันถูกกาหนดให้เป็น “หน้าท่ี” ของประชาชนทุกคน ค. บทบัญญตั แิ ห่งกฎหมายใดขดั หรอื แยง้ กบั รัฐธรรมนูญกฎหมายฉบบั นั้นใช้บงั คบั ไมไ่ ด้ ง. สมาชกิ วุฒสิ ภา บางส่วนตามทก่ี าหนด ไว้ในรัฐธรรมนูญฉบบั ปัจจุบนั มาจากการเลือกตงั้ ของประชาชน 9. เมอื่ มีความจาเป็นเพ่ือประโยชน์แหง่ รัฐตามท่กี าหนดไว้ในรัฐธรรมนญู ปัจจบุ ันพระมหากษัตรยิ ์ จะทรง เรียก ประชุมรัฐสภาเปน็ การประชุมสมยั วิสามัญได้โดยออกเป็นกฎหมายใด ก. กฎกระทรวง ข. พระราชกฤษฎีกา ค. พระราชบัญญัติ ง. พระราชกาหนด 10. นับแต่ทีป่ ระเทศไทยเปล่ียนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย และใช้รัฐธรรมนูญเป็นหลักใน การปกครองประเทศมา ตงั้ แต่ พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบนั มีการประกาศใช้รฐั ธรรมนญู รวมทงั้ หมดกี่ฉบับ ก. 15 ฉบับ ข. 16 ฉบบั ค. 17 ฉบับ ง. 18 ฉบับ

ใบงานท่ี 1 วิชากฎหมายพืน้ ฐานในการดารงชีวติ สค 32023 เรอื่ ง รฐั ธรรมนญู คาชแี้ จง ให้นักศึกษาอธบิ ายความหมาย ความสาคัญของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ให้สมบูรณ์ (10 คะแนน) 1. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 มีความเป็นมาอยา่ งไร (3 คะแนน) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 กาหนดโครงสรา้ งของรฐั สภาไวอ้ ย่างไร (3 คะแนน) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักiไทย พุทธศักราช 2550 กาหนดให้ประชาชนชาวไทยมหี นา้ ที่อย่างไรบ้าง (4 คะแนน) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรทู้ ี่ 1 วิชากฎหมายพนื้ ฐานในการดารงชวี ติ สค 32023 เรื่อง รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ความเป็นมา โครงสรา้ ง และความสาคญั ของรัฐธรรมนูญ ความเป็นมาและความสาคญั ประเทศเกือบท้ังหมดในโลกย่อมต้องมรี ฐั ธรรมนูญ เพ่ือใช้เป็นเครือ่ งกาหนดรปู แบบในการปกครอง ประเทศ ไมว่ ่าประเทศที่มีการปกครองแบบประชาธิปไตย สังคมนยิ ม หรือแบบคอมมวิ นสิ ต์ ตา่ งมีรฐั ธรรมนูญ ตามแบบฉบับของประเทศตนเองทงั้ สิ้น สาหรบั รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นรฐั ธรรมนูญแบบลาย ลักษณ์อกั ษร ประเทศไทยเคยมที ั้งรฐั ธรรมนูญฉบบั ชว่ั คราวท่จี ดั ทาข้นึ ในขณะทบี่ ้าน เมอื งอย่ใู นภาวะไม่สงบ หรือหลังจากมีการปฏบิ ัตริ ฐั ประหารและรัฐธรรมนญู ฉบับถาวร โดยรวมท้งั สองประเภทแลว้ ประเทศไทยมี รัฐธรรมนูญมาแล้วทง้ั สน้ิ 18 ฉบับ ฉบับปัจจุบัน คอื รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยพ.ศ. 2550 ซง่ึ ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 จุดกาเนิดรฐั ธรรมนญู ของไทย เกิดข้ึนจากบคุ คลกลมุ่ หนง่ึ ประกอบดว้ ยฝ่ายทหารและพลเรือนท่ี เรียกว่า “คณะราษฎร” ไดท้ าการเปลยี่ นแปลงการปกครองประเทศ จากระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย์หรือ ราชาธปิ ไตย ซ่ึงอานาจสูงสุดในการปกครองอยู่ที่พระมหากษัตริย์ มาเปน็ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข หมายความวา่ อานาจสงู สุดเปน็ ของปวงชนชาวไทย และ พระมหากษัตรยิ ์ทรงมีฐานะเปน็ ประมุขของรัฐ การเปล่ยี นแปลงดังกล่าวเกดิ ขนึ้ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี 7 ซึ่งได้ พระราชทานรฐั ธรรมนูญฉบับชวั่ คราวให้แกป่ วงชนชาวไทย เมือ่ วันที่ 27 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2475 เรยี กวา่ “พระราชบัญญัตธิ รรมนญู การปกครองแผน่ ดนิ สยามชั่วคราว พทุ ธศักราช 2475” และตอ่ มา พระองค์ได้ พระราชทานรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เปน็ รฐั ธรรมนูญฉบบั ถาวรใหแ้ กป่ วงชน ชาวไทย เมื่อวนั ท่ี 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2475 ภายหลงั ทางราชการไดก้ าหนดใหว้ ันท่ี 10 ธนั วาคมของทกุ ปี เปน็ วันรฐั ธรรมนญู เพื่อเปน็ การราลึกถงึ การพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบบั ถาวรของไทยฉบบั แรก หลักการและเจตนารมณ์ของรฐั ธรรมนูญ 1. รัฐธรรมนูญมุ่งให้ประชาชนเคารพสิทธขิ องกันและกนั การใช้สิทธิของตนตามท่รี ัฐธรรมนญู กาหนด จะตอ้ งไม่กระทบสิทธิเสรภี าพของผู้ อืน่ เชน่ รฐั ธรรมนูญให้สิทธปิ ระชาชนที่จะชุมนมุ เพ่อื เรียกร้องความเป็น ธรรมหรอื เจรจา ตอ่ รองใด ๆได้โดยสงบ และปราศจากอาวุธแต่ต้องไม่ก่อความเดือดร้อนตอ่ บคุ คลอ่นื เชน่ กดี ขวางการจราจร ปิดการจราจร หรือทาลายสงิ่ ของบุคคลอน่ื หรอื ทรัพยส์ ินของทางราชการ เป็นตน้ 2. รู้จกั ใช้สิทธิของตนเองและแนะนาให้ผู้อืน่ รจู้ ักใชแ้ ละรกั ษาสทิ ธิของตนเอง เช่น การไปใช้สิทธเิ ลอื กต้ัง 3. รณรงค์เผยแพรค่ วามรู้เกีย่ วกบั หลักสทิ ธมิ นุษยชนและปลกู ฝงั แนวความคิดเรื่อง สทิ ธิมนุษยชนแก่ ชุมชนหรือสงั คม ตามสถานภาพและบทบาทท่ีตนพึงกระทา 4. รว่ มมือกบั หน่วยงานท้ังภาครฐั และภาคเอกชน เพ่ือคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน 5. ปฏิบตั ติ นตามหนา้ ท่ีของชาวไทยท่ีบญั ญัติไว้ในรัฐธรรมนญู เชน่ การเคารพต่อกฎหมาย การเสียภาษี อากร การเข้ารับราชการทหาร การออกไปใช้สิทธิเลือกต้ัง เปน็ ตน้ 6. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การดาเนินงานขององคก์ รอสิ ระตามรฐั ธรรมนูญ

โครงสรา้ งของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณษจักรไทย พ.ศ. 2550 วางโครงสรา้ งการปกครองประเทศไทยไวด้ ังนี้ 1) รูปแบบของรฐั และระบอบการปกครอง รัฐ หมายถึง ชุมชนทางการเมืองท่ปี ระกอบด้วย ประชากร ซง่ึ อาศัยอยู่ในดินแดนอนั มีอาณาเขตท่ี แนน่ อนและอยภู่ ายใต้รัฐเดียวกัน มอี านาจอธิปไตยเหนือประชากรของรฐั น้ัน ทัง้ นี้ ตามบทบญั ญัติของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับจนถึงปจั จุบนั บัญญตั ไิ วว้ ่า “ประเทศไทยเป็นราชอาณาจกั รอนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั จะแบ่งแยกมไิ ด้” หมายความวา่ ประเทศไทยจะแบ่งแยกออกเป็นรัฐหลายรัฐหรือเปน็ ไทยตอน เหนอื ตอนใตไ้ มไ่ ด้ ประเทศไทยมกี ารปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มี อานาจอธิปไตยอันเป็นอานาจสงู สุดทม่ี าจากปวงชนชาวไทยโดยมีพระมหากษัตริย์ ทางเป็นประมขุ พระองคจ์ ะ ทรงใช้อานาจอธปิ ไตยผา่ นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ซึง่ อานาจอธิปไตยแบ่งออกเปน็ 3 อานาจดังน้ี 2) สทิ ธิ เสรภี าพ และหน้าท่ี สทิ ธิ เสรีภาพ และหน้าทข่ี องปวงชนชาวไทยตามทีก่ าหนดไว้ในรฐั ธรรมนญู เช่น สทิ ธใิ นการเลือกนับ ถอื ศาสนา สิทธใิ นชีวติ รา่ งกาย และทรพั ย์สนิ สทิ ธิสว่ นบคุ คลในครอบครวั เปน็ ต้น เสรีภาพและหนา้ ที่ในการ ดาเนนิ กิจกรรมใด ๆอันไม่ขดั ตอ่ กฎหมาย เชน่ การจดั ต้ังพรรคการเมือง เสยี ภาษีอากร และการใช้สิทธเิ ลือกตัง้ เป็นตน้ 3) แนวนโยบายพ้ืนฐานแหง่ รัฐ แนวนโยบายพนื้ ฐานของรฐั เช่น รฐั จะต้องพิทักษร์ ักษาไวซ้ ่ึงสถาบนั พระมหากษัตริย์ เอกราช และ บรู ณภาพแหง่ ราชอาณาจักร รฐั ตอ้ งจักให้มีกองกาลงั ทหารไว้เพ่ือพิทักษร์ ักษาระบอบประชาธปิ ไตย อันมี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 4) รฐั สภา รฐั สภา ประกอบด้วย สภาผแู้ ทนราษฎรและวุฒิสภา โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมจี านวน 48 คน ซึ่งมาจากการเลอื กตัง้ 2 แบบคือ การเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกต้ังจานวน 400 คน และการเลอื กต้งั แบบ สัดส่วน จานวน 80 คน สว่ นสมาชกิ วฒุ ิสภามจี านวน 150 คน ซ่ึงมาจากการเลือกตั้งในแตล่ ะจงั หวัด จังหวัด ละ 1 คน รวม 76 คน และมาจากการสรรหาจานวน 74 คน สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภา ไม่ว่าจะได้มาในลักษณะใดก็มีศกั ดิแ์ ละสิทธิแห่งการเป็นสมาชิกรัฐสภาประเภท น้นั ๆโดยเสมอกนั และเท่า เทียมกนั ทกุ ประการ 5) พระมหากษัตรยิ ์ หลกั การสาคญั ของคณะราษฏรที่ไดเ้ ปล่ยี นแปลงการปกครองเม่ือวนั ท่ี 24 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 มิไดม้ ีจดุ มงุ่ หมายทจี่ ะโคน่ ลม้ สถาบันพระมหากษัตริย์ เพียงแตต่ ้องการให้พระมหากษตั ริย์อยภู่ ายใต้ รัฐธรรมนูญ แต่ยงั อยูใ่ นฐานะท่ีปวงชนชาวไทยให้การเคารพสกั การะเทอดไว้เหนอื ส่ิงอ่นื ใด ด้วยเหตุนี้ รฐั ธรรมนญู ของไทยทุกฉบบั จนถึงปจั จุบนั จงึ มีบทบญั ญตั เิ กี่ยวกบั พระมหากษัตริย์ตลอดมา ดังน้ี 1. พระมหากษตั รยิ ์ทรงดารงอยู่ในฐานะอนั เป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมใิ ด ผ้ใู ดจะฟ้องร้องหรอื กลา่ วหาพระมหากษัตริยใ์ นทางใด ๆ มิได้ 2. พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นพุทธมามกะ และทรงเปน็ อคั รศาสนูปถมภก คือพระองคท์ รงนับถือ พระพทุ ธศาสนา และทรงอปุ ภัมภ์ทกุ ศาสนาที่ชาวไทยนับถือ โดยตามรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 มาตรา 9 ระบวุ ่า เม่ือพระมหากษัตริยท์ รงครองราชยแ์ ลว้ จะทรงเปลยี่ นไปนบั ถอื ศาสนาอนื่ มิได้ 3. พระมหากษตริย์ทรงดารงตาแหน่งจอมทัพไทย 4. พระมหากษัตริยท์ รงไว้ซง่ึ พระราชอานาจท่จี ะสถาปนาฐานนั ดรศกั ดแิ์ ละพระราชทาน เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ 5. พระมหากษตั ริยท์ รงสามารถมีพระราชวนิ จิ ฉัยแต่งต้ังคณะองคมนตรี เพอ่ื เป็นที่ปรกึ ษาพระราชกรณีย กจิ และหนา้ ที่อื่น ๆตามทรี่ ฐั ธรรมนญู กาหนด

บทบญั ญตั ิเกย่ี วกบั รัฐสภา คณะรฐั มนตรี และศาล รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2540 ได้บญั ญตั เิ ก่ยี วกับรฐั สภา คณะรัฐมนตรี และ ศาล พอสรุปโดย สังเขป ดังนี้ รัฐสภา 1. รัฐสภาประกอบด้วยวุฒสิ ภาและสภาผ้แู ทนราษฎร 2. ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา เป็นรองประธานสภา ต้องวางตน เป็นกลางในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี 3. รา่ งพระราชบัญญตั หิ รือรา่ งพระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู จะตราเป็นกฎหมายได้ก็แตโ่ ดย คาแนะนาและยนิ ยอมของรัฐสภา 4. ใหม้ ีสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรจานวน 500 คน โดยเป็นสมาชกิ ซงึ่ มาจากการเลือกต้ังแบบบัญชี รายชื่อ ตามมาตรา 99 จานวน 100 คน อยู่ในตาแหนง่ วาระละ 4 ปี 5. พระมหากษัตริยท์ รงไวซ้ ่ึงพระราชอานาจท่ีจะยบุ สภาผ้แู ทนราษฎรเพ่ือให้มีการ เลอื กตั้ง สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรใหม่ การยุบสภาผูแ้ ทนราษฎรใหก้ ระทาโดยพระราชกฤษฎกี า ซ่ึงตอ้ งกาหนดวนั เลือกต้งั สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรใหม่ภายใน 60 วนั 6. ประชาชนมีสทิ ธเิ สมอกนั ในการเป็นผูอ้ อกเสยี งเลือกต้ังสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรและสมาชกิ วุฒิสภา 7. มตขิ องสภาใหถ้ ือตามเสียงข้างมากคือ จานวนเสยี งทล่ี งมตติ อ้ งเกินก่ึงหนง่ึ ของจานวนสมาชกิ ทีร่ ว่ ม ประชมุ อยใู่ นสภานนั้ 8. ในแตล่ ะปีใหม้ กี ารเปดิ สมัยประชุม 2 ครัง้ คร้งั ละ 120 วนั คณะรัฐมนตรี 1. พระมหากษัตรยิ ์ทรงแต่งตั้งคณะรฐั มนตรี ประกอบดว้ ยนายกรฐั มนตรี 1 คน แต่งต้ังจาก สมาชกิ สภาผ้แู ทน ราษฎร และรฐั มนตรี 35 คน ซ่งึ อาจเป็นสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรหรือไม่เปน็ ก็ได้ 2. ประธานรฐั สภาหรอื ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร เปน็ ผู้ลงนามรบั สนองพระบรมราชโองการแตง่ ต้ัง นายกรฐั มนตรี และนายกรฐั มนตรีเป็นผู้ลงนามรบั สนองพระบรมราชโองการแตง่ ต้ังรัฐมนตรที ที่ ลู เกล้าเสนอ 3. รัฐมนตรตี ้องไมเ่ ปน็ ขา้ ราชการประจา และหากเปน็ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรต้องลาออกภายใน 30 วัน 4. ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน รฐั มนตรตี อ้ งดาเนนิ การตามบทบญั ญตั ิแห่งรัฐธรรมนญู กฎหมาย และนโยบายทแี่ ถลงไว้ต่อสภา 5. รฐั มนตรตี ้องมคี ณุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้ - มอี ายไุ มต่ า่ กว่า 35 ปบี รบิ ูรณ์ - มีสญั ชาติไทยโดยกาเนิด - สาเร็จการศกึ ษาไม่ต่ากว่าปรญิ ญาตรหี รือเทยี บเทา่ - ไม่เคยต้องคาพิพากษาให้จาคุกตง้ั แต่ 2 ปีข้นึ ไป โดยได้พ้นโทษมายงั ไม่ถึง 5 ปี ก่อนได้รับแต่งตั้ง - ไมเ่ ปน็ สมาชิกวฒุ สิ ภาหรือเคยเปน็ สมาชกิ วุฒิสภา ซ่ึงสมาชิกภาพส้นิ สดุ มาแลว้ ยงั ไม่เกิน 1 ปี นบั ถงึ วนั ที่ไดร้ บั แต่งตง้ั เป็นรฐั มนตรี 6. คณะรัฐมนตรตี ้องพน้ จากตาแหนง่ ทง้ั คณะ เมอ่ื - สภาผูแ้ ทนราษฎรส้ินอายเุ ม่ือครบวาระ 4 ปี หรอื มกี ารยุบสภาผแู้ ทนราษฎร - คณะรัฐมนตรีลาออกทั้งคณะ - ความเปน็ รัฐมนตรขี องนายกรัฐมนตรีสน้ิ สดุ ลง 7. รัฐมนตรตี ้องพน้ จากตาแหนง่ เฉพาะตัว เมื่อ - ตายหรือลาออก - ขาดคณุ สมบตั ิหรือมีลักษณะตอ้ งห้าม

- สภาผูแ้ ทนราษฎรลงมตไิ ม่ไวว้ างใจเปน็ การเฉพาะตัว - ต้องคาพพิ ากษาให้จาคุกตามความผดิ ที่กระทาไปในขณะดารงตาแหนง่ ศาล 1. การบัญญัติกฎหมายให้มีผลเปน็ การเปล่ยี นแปลงหรอื แก้ไขเพิม่ เติมกฎหมายวา่ ด้วยธรรมนูญศาล 2. ในคดีอาญา ผ้ตู ้องหาหรอื จาเลยยอ่ มมีสิทธิได้รับการสอบสวนหรอื การพิจารณาคดีด้วยความ รวดเร็วตอ่ เน่อื ง และเป็นธรรม 3. ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประธานรฐั ธรรมนญู 1 คน ตุลาการศาลรัฐธรรมนญู อื่นอีก 14 คน ซงึ่ พระมหากษัตริย์ทรงแตง่ ตั้งตามคาแนะนาของวุฒิสภา 4. ถ้าศาลรัฐธรรมนญู วินิจฉัยว่ารา่ งพระราชบญั ญัติหรือรา่ งพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญนัน้ มี ข้อความขดั หรือแย้งต่อรัฐธรรมนญู นี้ ให้ถอื เป็นอนั ตกไป 5. ศาลยุตธิ รรมมีอานาจพจิ ารณาพิพากษาคดีท้งั ปวง เวน้ แต่คดีท่รี ัฐธรรมนูญน้ีหรือกฎหมายบัญญตั ิ ให้อยูใ่ นอานาจ ของศาลอ่นื 6. ศาลยุตธิ รรมมี 3 ชัน้ คือ ศาลชั้นตน้ ศาลอุทธรณ์ และศาลฎกี า 7. ศาลปกครองมอี านาจพจิ ารณาพิพากษาคดีทเี่ ปน็ ข้อพิพาทระหวา่ งหนว่ ยราชการ หน่วยราชการ ของรัฐ รัฐวสิ าหกจิ หรอื ราชการสว่ นทอ้ งถ่นิ บทบญั ญตั ิเก่ียวกับพรรคการเมอื ง การเลือกต้ัง รัฐบาล พรรคการเมือง คือ องค์กรทางการเมืองที่รวมบุคคลท่ีมีอุดมการณ์เดยี วกนั และมีเป้าหมายเพ่อื ได้ อานาจทางการเมืองในรัฐบาล นโยบายตา่ ง ๆ ของพรรคการเมืองสว่ นมากจะเปน็ ผลรวมของความตอ้ งการ ภายในพรรค ซ่ึงเม่ือพจิ ารณาสมาชิกพรรคแต่ละคนแล้ว อาจจะมีความแตกตา่ งกันอย่างมากก็ไดใ้ นระบอบ รัฐสภา พรรคการเมืองสว่ นใหญ่จะมผี ู้นา ซงึ่ โดยท่ัวไปแลว้ ถ้าพรรคการเมืองนั้นไดร้ บั เสียงข้างมาก จะรับหน้าท่ี เปน็ ผนู้ ารฐั บาล ขณะท่ีในระบอบประธานาธบิ ดี พรรคการเมืองอาจไมม่ ผี ้นู าทช่ี ดั เจน โดยเฉพาะในระบบ การเมืองท่มี ีการแยกอานาจโดยสมบูรณ์ บทบาทและหนา้ ท่ีของพรรคการเมือง 1) วางนโยบายในการแก้ไขปัญหาของประเทศ และแถลงนโยบายเหล่าน้ันใหป้ ระชนรับทราบ เพื่อจะ ได้พจิ ารณาว่าควรจะสนบั สนุนพรรคการเมืองนน้ั ๆหรือไม่ นโยบายของพรรคดงั กลา่ วสอดคลอ้ งกบั ความ ตอ้ งการของประชาชนหรอื ไม่ 2) พิจารณาคดั เลอื กผ้ทู ีม่ ีคุณสมบัตเิ หมาะสมที่จะลงสมัครรบั เลอื กต้ังในนามของพรรค ในระดบั ชาติ และท้องถน่ิ หรอื ในกรณีทีไ่ ด้เข้าไปเปน็ รฐั บาล พรรคกจ็ ะทาหน้าท่ีคดั เลือกบุคคลเข้าไปทาหน้าทที่ างการเมือง ในคณะรฐั บาล 3) ดาเนนิ การหาเสยี งเลือกต้ัง โดยพยายามเข้าถงึ ประชาชน รบั ฟงั ความคดิ ของกลุ่มตา่ งๆในสงั คม และทาการประสานประโยชนก์ ับกลุม่ ต่างๆเหล่าน้ัน เพื่อให้ไดร้ บั การสนับสนุนมากท่ีสดุ 4) นานโยบายของพรรคที่ได้แถลงต่อประชาชน ซึง่ เปน็ สาเหตทุ ป่ี ระชาชนสนบั สนนุ พรรคด้วยการ เลือกตัวแทนที่มาจากพรรคของตนไปน่งั ในรัฐสภา 5) ใหก้ ารศึกษาและอบรมความรทู้ างการเมืองให้กับประชาชนโดยทั่วไปและสมาชิกพรรค ดว้ ยการให้ ข้อมูลกบั ประชาชนเพ่ือให้มีความรทู้ างการเมอื ง 6) หนา้ ทใี่ นการควบคมุ การทางานของรฐั บาล เพราะวา่ นโยบายตา่ งๆของรฐั บาลกต็ ้องคอยตรวจสอบ ดวู า่ รัฐบาลได้ดาเนินงานตามนโยบายที่แถลงไวห้ รือไม่ ซ่ึงเราจะเหน็ ไดจากการอภปิ รายไมไ่ วว้ างใจรฐั บาล ลักษณะดังกล่าวเป็นการควบคมุ นโยบายท่รี ัฐบาลได้แถลงการณ์ไว้กบั รฐั สภา

รฐั บาล โดยปกติรัฐบาลจะประกอบคณะรฐั มนตรีจานวน 18-19 คน รฐั มนตรีแต่ละคนมหี นา้ ท่ีดแู ล รับผดิ ชอบกระทรวงภายใต้สังกัด โดยมีนายกรัฐมนตรเี ป็นผู้นารฐั บาล พรรคการเมืองมีความกระตือรือรน้ ใน การแสดงความเห็นเก่ยี วกับการปกครองท่ตี นคาดหวังจากนอรเ์ วย์ และพรรคการเมืองส่วนใหญต่ อ้ งการอยู่ ฝ่ายรฐั บาล เมื่อพรรคการเมืองต่างพรรครว่ มกนั ก่อต้งั รัฐบาลเราเรียกวา่ คณะร่วมรัฐบาล หากพรรคการเมือง ฝา่ ยรฐั บาลไดเ้ สียงขา้ งมากในสภา เราเรียกว่ารฐั บาลเสยี งขา้ งมาก หากพรรคการเมืองที่ร่วมกันกอ่ ตั้งรัฐบาลมี เสยี งนอ้ ยกวา่ ครึ่งหน่งึ ของจานวนสมาชกิ ในสภา เราเรยี กวา่ รฐั บาลเสียงข้างน้อย หน้าท่ีของรัฐบาลท่สี าคัญ คือเสนอกฎหมายและแก้ไขกฎหมาย สภาเปน็ ผูอ้ อกกฎหมาย หนา้ ท่ีของรฐั บาลคือตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ มติท่ี เห็นชอบจากสภา ได้มีการปฏิบัติตาม นอกจากนี้รัฐบาลยังมีหน้าท่จี ัดทางบประมาณของประเทศ พรรค การเมืองที่ได้นง่ั ในสภา แต่ไม่ใชส่ มาชิกรฐั บาลถือเป็นฝา่ ยค้าน คนกล่มุ นมี้ หี น้าทีก่ ดดนั รัฐบาลเพือ่ ใหม้ กี าร ดาเนนิ การตามแผนงานในสว่ นของตน การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ในอดีตอานาจรฐั ท่ีมีอยู่เหนือประชาชนนั้นมมี ากและกว้างขวางอย่างยง่ิ การใช้อานาจดังกลา่ วทงั้ โดย ฝ่ายการเมอื งหรือฝ่ายประจาอาจเปน็ ทม่ี าของประโยชนท์ ม่ี ิชอบ จงึ ไดม้ ีการแก้ไขสภาพทไ่ี ม่พึงประสงค์ ขา้ งตน้ โดยกาหนดการควบคมุ อานาจรฐั ใหค้ รบถ้วนทุกด้านท้งั ด้านการเมือง โดยกระบวนการทางรฐั สภา และด้านกฎหมาย โดยมกี ารจดั ตั้งองคก์ รตรวจสอบการใช้อานาจรัฐท้ังในรปู ของศาลและองค์กรอิสระตา่ งๆ

แบบประเมนิ ใบงาน เรื่อง...................................................................................................... ชือ่ ........................................................................ระดับชนั้ ....................กศน.ตาบล............................................. เกณฑ์การประเมนิ นักศกึ ษา มีความรู้ความเข้าใจ อธิบาย เปรียบเทยี บ ฯลฯ................................................................. ...................................................................................................... โดยมีคะแนนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 ขนึ้ ไป ลาดับ รายชื่อ คะแนน รอ้ ยละ การประเมนิ ที่ (10) ผ่าน ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงช่อื ...................................................ผ้ปู ระเมิน ............../.................../................

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม เรือ่ ง.................................................................................................. ชือ่ ........................................................................ระดบั ชน้ั ....................กศน.ตาบล............................................. คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั ศึกษาในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด  ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกับระดับคะแนน ลาดับ ความ การแสดง การรบั ความ การแก้ไข รวม ท่ี รว่ มมอื ความ ฟงั ความ ต้ังใจ ปญั หา/ 15 กันทา คิดเห็น คิดเห็น ทางาน หรอื คะแนน การประเมนิ กิจกรรม ปรบั ปรุง ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ 2 คะแนน 15 – 11 ดี ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ 1 คะแนน 10 – 6 พอใช้ ตา่ กวา่ 5 ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ ด้านจิตพิสยั เรื่อง...................................................................................................... ช่ือ........................................................................ระดับชั้น....................กศน.ตาบล............................................. คาชแ้ี จง : ใหผ้ ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั ศึกษาในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั มีความสนใจ ให้ความ ทางานที่ ขอคาปรึกษา รวม ท่ี พฤตกิ รรม ในการเรียนรู้ รว่ มมือใน ได้รับ เมอื่ ไมเ่ ขา้ ใจ 12 จกั ใชเ้ วลา กิจกรรม มอบหมายให้ ไม่ท้อแท้ต่อ คะแนน การประเมนิ วา่ งให้เปน็ ตา่ งๆ สมบรู ณต์ าม อปุ สรรค ประโยชน์ พยายามใน กาหนดและ เพื่อใหง้ าน การทางานที่ ตรงเวลา สาเร็จ รายช่ือ ไดร้ บั มอบหมาย 321321321321 ผา่ น ไมผ่ ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน 12 – 9 ดี ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 8–5 พอใช้ ตา่ กว่า 4 ปรบั ปรุง

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน ผลการสอน ดา้ นความรู้ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ .............................................................................. .............................................................................................................. ................................................................ ด้านทกั ษะ ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................... ด้านจิตพสิ ยั ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................... ............................................................... ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแกไ้ ข ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ .............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. ..............................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook