Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเขียนโครงร่างเพื่อขอทุนการวิจัย

การเขียนโครงร่างเพื่อขอทุนการวิจัย

Published by navaporn, 2021-06-24 09:25:42

Description: เขียนโครงร่างงานวิจัย R&D นมแม่

Search

Read the Text Version

การเขยี นโครงการวิจัยเพ่ือขอรบั ทนุ สนบั สนุน [วนั ท]่ี USER [ช่อื บรษิ ทั ]

1 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี การเขยี นโครงการวจิ ัยเพ่อื ขอรับทุนสนบั สนนุ 1. ช่อื โครงการวิจัย (ภาษาไทย) การพฒั นาโปรแกรมส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของสามีในการเลย้ี งลกู ดว้ ยนม แมอ่ ยา่ งเดยี วตอ่ ประสทิ ธผิ ลของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในมารดาท่ีมีบุตรคนแรก (ภาษาองั กฤษ) Development of a program to promote spouse involvement in order to exclusive breastfeeding on the effectiveness of breastfeeding in the first time of the mother. 2. กรอบการวจิ ัย สดั สว่ นท่ีทำการวจิ ัย 80 %  2.1 การวจิ ยั ด้านคลินกิ  2.2 การวิจัยดา้ นชุมชน  2.3 การวจิ ัยดา้ นการเรียนการสอน  2.3.1 การวจิ ยั ในชน้ั เรยี น  2.3.2 การวิจยั ประเมินผล  2.4 การวจิ ยั สถาบนั  2.5 อื่นๆ (ระบ)ุ 3. หัวหน้าโครงการวิจยั 3.1 ชือ่ นางนวพร มามาก 3.2 ตำแหนง่ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการพิเศษ 3.3 การศึกษา พ.ศ. 2533 ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ (เกียรตินิยมอนั ดบั 2) วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี กรุงเทพ พ.ศ. 2538 สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต (บรหิ ารสาธารณสุข) มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช พ.ศ. 2550 พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการพยาบาลมารดาและทารกแรกเกดิ ) คณะ แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล พ.ศ. 2553 วฒุ ิบัตร ความชำนาญเฉพาะทางการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ (APN) สาขาการ พยาบาลมารดาและทารก 3.4 ผลงานของหัวหน้าโครงการวิจยั

2 1. นวพร มามาก, ศรีสมร ภมู นสกลุ และอรพินธ์ เจริญผล. (2551) ผลของโปรแกรมการส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของสามใี นระหว่างการตั้งครรภ์และการคลอด ต่อสมั พันธภาพระหวา่ งคู่ สมรส การรบั ร้ปู ระสบการณ์การคลอดของมารดา และความรกั ใครผ่ ูกพันระหว่างบิดา มารดาและทารก. Rama Nurs 2008, (14), 258-272. 2. นวพร มามาก และกมลรัตน์ เทอร์เนอร์. (2559). บทบาทพยาบาลกบั การสง่ เสรมิ การมีสว่ น รว่ มของสามหี รือญาตเิ พื่อความสำเรจ็ ในการเลีย้ งลกู ด้วยนมแม่. วารสารกองการ พยาบาล, 43(3), 114-126. 3. กมลรตั น์ เทอรเ์ นอร,์ จรัสศรี เพช็ รคง, จุฬารัตน์ ห้าวหาญ และนวพร มามาก. (2559). การลด เวลาเรียนเพิม่ เวลาร้:ู แนวคดิ และการประยุกต์ใชใ้ นการศกึ ษาพยาบาล. วารสาร พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 26(3), 13-26. 4. ละเอียด แจ่มจันทร์ นวพร มามาก และณฐั นชิ า ศรีละมัย. (2561). สะเต็มศกึ ษา : ถอด บทเรยี นการเรยี นรู้ ในกระบวนการสร้างนวัตกรรมการพยาบาล. วารสารกองการ พยาบาล, 45(2). 5. กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ นวพร มามาก ณฐั นชิ า ศรลี ะมยั และละเอียด แจ่มจันทร์. (2561). ผล การใชก้ ารเรยี นรู้แบบโครงงานสะเต็มเพ่อื สง่ เสรมิ ทักษะศตวรรษที่ 21 ในนกั ศึกษา วิทยาลยั พยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 26(2), 11-19. 6. นวพร มามาก พิชฏา องั คะนาวิน และพิชชาภรณ์ สาตะรกั ษ์. (2562). ผลของการใช้โปรแกรม การสอนแบบ Simulation-Based Learning ในวชิ าการพยาบาลมารดาทารกและการ ผดงุ ครรภ์ 2 ตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักศกึ ษาพยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลบรม ราชชนนี ชลบรุ ี. วารสารกองการพยาบาล, 46(1). 4. ผรู้ ว่ มโครงการวจิ ัยคนท่ี 1 4.1 ช่ือ นางกุสมุ ล แสนบุญมา สัดสว่ นทที่ ำการวจิ ยั 5 % 4.2 ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ 4.3 การศึกษา พ.ศ. 2533 พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี พ.ศ. 2558 ประกาศนยี บัตร หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการผดุงครรภ์

3 พ.ศ. 2561 พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต (สาขาการผดุงครรภ์) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา 4.4 ผลงานของผู้ร่วมโครงการวจิ ัย จีรวรรณ์ อคุ คกิมาพนั ธ์ุ, สุภาพร ปรารมภ์, ภัทรพร คูวุฒยากร, วชิ ญะ วงค์บญุ ย่งิ และกุสมุ ล แสนบุญมา. (2562). การพฒั นาโมบายแอพลเิ คชั่นสำหรบั การดแู ลตนเองขณะต้ังครรภ์. โครงการประชุมวชิ าการระดับชาติ ประจำปี 2562: ครบรอบ 56 ปี วทิ ยาลัยพยาบาล กองทัพบก “ทิศทางประเดน็ และแนวโน้มวจิ ัย นวตั กรรมทางการพยาบาลเพ่ือสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ” วันท่ี 23-24 กรกฎาคม 2562 5. ผู้รว่ มโครงการวิจยั คนที่ 2 5.1 ชอ่ื นางสาวเกศินี ไชยโม สัดสว่ นทีท่ ำการวิจัย 5 % 5.2 ตำแหนง่ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ 5.3 การศึกษา พ.ศ. 2554 พยาบาลศาสตรบณั ฑติ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี พ.ศ. 2560 พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต (สาขาการผดงุ ครรภ์) คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาล รามาธิบดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 5.4 ผลงานของผู้ร่วมโครงการวิจยั 1) เกศินี ไชยโม, ธัญญมล สุรยิ านิมติ รสุข และกติ ติพร ประชาศรยั สรเดช. (2559). การสนบั สนนุ อยา่ งต่อเนอ่ื งในระยะคลอด. วารสารมหาวทิ ยาลัยหวั เฉยี วเฉลมิ พระเกียรติวชิ าการ, 20(40), 141-150. 2) เกศนิ ี ไชยโม, จันทิมา ขนบดี, ศรีสมร ภมู นสกลุ . (2561) ผลของโปรแกรมการให้การ สนับสนนุ อยา่ งต่อเนื่องในระยะคลอดตอ่ การรบั ร้ปู ระสบการณก์ ารคลอดในผคู้ ลอดครรภ์ แรก, วารสารพยาบาลตำรวจ, 10 (2), 400-411. 3) Kesinee Chaimo. POSTER PRESENTATION “Ethical Behavior as Perceived by Nursing Students at Boromarajonani College of Nursing, Chonburi” The 4th International Conference on Prevention and Management of Chronic Conditions : Innovations in Nursing Pratice, Education, and Research วันที่ 13 - 15 กมุ ภาพันธ์ 2019 ณ The Emerald Hotel, Bangkok.

4 6. ผรู้ ่วมโครงการวิจยั คนท่ี 3 6.1 ชอ่ื นางวนั เพ็ญ ถีถ่ ว้ น สดั สว่ นท่ที ำการวจิ ัย 5 % 6.2 ตำแหนง่ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 6.3 การศึกษา พ.ศ. 2528 ประกาศนียบัตรพยาบาลและผดุงครรภ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป์ ระชารักษ์ นครสวรรค์ พ.ศ. 2542 พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนีชลบุรี พ.ศ. 2562 ประกาศนียบัตรหลกั สตู รการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการเล้ียงลูกดว้ ยนม แม่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล 6.4 ผลงานของผู้ร่วมโครงการวิจยั ไม่มี 7. ผู้รว่ มโครงการวจิ ยั คนที่ 4 สดั ส่วนทีท่ ำการวจิ ัย 5 % 7.1 ช่อื นางณิชากร ชื่นอารมณ์ 7.2 ตำแหน่ง พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ 7.3 การศกึ ษา พ.ศ. 2526 ประกาศนียบัตรพยาบาลและผดุงครรภ์ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี 7.4 ผลงานของผูร้ ่วมโครงการวจิ ัย ณิชากร ชื่นอารมณ์ และศิรินาถ โตยัง. (2559) ผลของโปรแกรมการเตรียมตัวคลอดต่อ ความรูแ้ ละการปฏบิ ัติในการเตรยี มตวั คลอดของหญงิ ต้ังครรภแ์ รกไตรมาสท่ี 3 ที่มา ฝากครรภ์ในโรงพยาบาลชลบุรี. วารสาร TUH Journal online, 4(3), 11-26. 8. ท่ปี รกึ ษาโครงการวิจัย 1. ดร. กัญญาวีณ์ โมกขาว 2. ดร. ธัญญมล สุรยิ านมิ ติ สุข

5 3. นางสายพิณ สอ่ งสว่าง 9. รายละเอยี ดเก่ียวกับโครงการวิจัยท่ีเสนอขอรับทุน 9.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นการวางรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้นทุนสุขภาพ ต้นทุนสมอง เพิ่มความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดาและทารก สารอาหารกว่า 200 ชนิดที่อยู่ในน้ำนมแม่ เหมาะต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองของลูก วิธีการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่ทำให้แม่มีโอกาสได้ เลย้ี งดลู กู อย่างใกล้ชิด ลูกได้รบั ความรัก ความอบอุ่น ส่งผลต่อการเจริญเตบิ โตของเซลล์สมอง พัฒนาการ ดา้ นสตปิ ัญญาและดา้ นจิตใจของลกู นอ้ ย (สำนกั สง่ เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ , 2559) องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) จึงสนับสนุน มารดาทุกคนให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่นาน 2 ปี โดยให้นมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน และให้อาหารตามวัย ควบค่กู บั นมแมน่ านถงึ 2 ปี (WHO, 2016) ในเชิงนโยบายกระทรวงสาธารณสุขของไทยร่วมตั้งเป้าหมายให้สอดคล้องกับเป้าหมาย องค์การ อนามัยโลก ท่กี ำหนดอัตราการเลย้ี งลูกด้วยนมแม่อยา่ งเดยี วนาน 6 เดือนไวท้ ีร่ ้อยละ 50 ในปี ค.ศ. 2025 (WHO, 2016; กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2561) โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ขับเคลอ่ื นการสง่ เสริมการเล้ยี งลูกด้วยนมแม่ ภายใต้หลกั บันได 10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการเล้ียงลูกด้วยนม แม่ เป็นแนวทางพืน้ ฐานในการดำเนนิ งานกบั ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมีพระราชบญั ญตั ิควบคุมการ สง่ เสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 เป็นมาตรฐานในการค้มุ ครองทารกและเด็ก เล็ก กำหนดมาตรการในการควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสําหรับทารกและเด็กเล็กท่ีเหมาะสมและ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล เพื่อป้องกันสิทธิและสุขภาพของเด็กทุกคนไม่ให้เสียโอกาสในการกินนมแม่ (ราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี, 2560) จากสถิติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน ที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับองค์กรทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติในปี 2559 พบว่า มีทารกไทยเพียงร้อยละ 40 ได้กินนมแม่ ภายใน 1 ชวั่ โมงแรกหลังคลอด และเพียงร้อยละ 23 ท่ีได้กนิ นมแม่อยา่ งเดียวในช่วง 6 เดอื นแรกของชีวิต และมีทารกเพียงร้อยละ 13 ที่ได้กินนมแม่ต่อเนื่องถึง 2 ปี (กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2561) มารดาส่วนใหญ่ยังไม่ประสบผลสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตามข้อเสนอ แนะขององค์การ อนามยั โลก มกี ารศึกษาปัจจัยทแี่ สดงตวั แปรท่ีทำให้มารดาหยดุ ใหน้ มแม่ โดยเฉพาะในมารดาที่ตอ้ งทำงาน นอกบ้าน ความเชื่อของมารดาเกี่ยวกับการให้น้ำและอาหารเสริมแก่ทารก (กุสุมา ชูศิลป์, 2555) รวมถึง การได้รับคำแนะนำและการช่วยเหลือจากบุคลากรทีมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และไม่สมบูรณ์ตั้งแต่ในระยะ ตง้ั ครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลงั คลอด ทำให้มารดาไมเ่ ขา้ ใจประโยชนข์ องการเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่อย่าง เดียว ไมท่ ราบวธิ แี ก้ไขเมื่อเกิดปัญหา (Moore & Coty, 2006) จากการศึกษาอตั ราการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ ของโรงพยาบาลชลบรุ ี ซึ่งเป็นโรงพยาบาลที่ส่งเสรมิ การเลี้ยงลกู ด้วยนมแม่มายาวนานกว่า 30 ปี มีคลินิก

6 นมแม่ มีเพจเฟสบุ๊คเพ่ือให้บริการปรึกษาปัญหาในการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ แตอ่ ัตราการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียวนาน 6 เดือนยังอยู่ที่ร้อยละ 36 ซึ่งยังไม่ถึงค่าเป้าหมายท่ีองค์การอนามัยโลกกำหนดให้อัตรา การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือนที่ร้อยละ 50 ในปี พ.ศ. 2568 และจากรายงานผลจากการ ติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท์ในแผนกสูติกรรมหลังคลอดโรงพยาบาลชลบุรีพบว่ามารดาที่กลับบ้านไปแล้วท่ี เวลา 1, 2, 6 สัปดาห์ และ 6 เดือนหลังคลอด มารดาส่วนใหญ่ให้อาหารอื่นกับทารก ได้แก่ นมผสม ป้อน นำ้ ผลไม้ ป้อนข้าวกล้วย กอ่ นทารกครบ 6 เดือน ด้วยเหตผุ ลทีว่ ่านำ้ นมแม่ไมเ่ พียงพอ ลูกกินไม่อม่ิ ร้องกวน เกรงวา่ ลกู จะได้สารอาหารไม่เพียงพอถ้าได้รบั นมแม่เพียงอยา่ งเดียว จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีท่ีเน้นความสำคัญของการเรียนรู้ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน (Self- efficacy Theory) ของแบนดรู า (Bandura, 1997) แบนดูลาอธบิ ายวา่ การท่ีบคุ คลจะแสดงพฤตกิ รรมใดๆ หรือไม่แสดงแสดงพฤติกรรมนั้นๆ ขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัยที่สำคัญคือ 1) ความเชื่อในสมรรถนะของตนและ ความคาดหวังผลลัพธ์ในการกระทำ โดยบุคคลจะมีความคาดหวังว่าตนมีสมรรถนะเพียงพอที่จะเปลี่ยน พฤติกรรมหรือปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่เมื่อบุคคลมีการรับรู้สมรรถนะของตนเอง 2) การรับรู้สมรรถนะ ของตนเอง จะนำไปสู่การปฏิบัตจิ ริง เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ตามที่คาดหวังไว้ ดังนั้นการสง่ เสริมความรู้ เพื่อให้ มารดารบั รสู้ มรรถนะของตนจงึ เปน็ ส่ิงสำคญั ในการแก้ปญั หาการไม่ประสบความสำเรจ็ ในการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ ร่วมกับมีส่วนร่วมของบุคคลใกล้ชิดคือสามี ตามแนวคิดการสนับสนนุ ทางสงั คมของเฮ้าส์ (House, 1981) ที่แบ่งพฤติกรรมการสนับสนุนทางสังคมออกเป็น 4 รูปแบบคือ 1) การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ หมายถึง การได้รับการยอมรับและมีผู้เห็นคุณค่า ตั้งใจรับฟัง ดูแลเอาใจใส่ มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ 2) การสนบั สนนุ ทางด้านการประเมิน หมายถงึ การให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับเพ่ือนำไปใช้ในการประเมินตนเอง ทำให้ เกิดความมั่นใจ 3) การสนับสนุนทางด้านข้อมูลข่าวสาร หมายถึงการให้ข้อเสนอแนะ คำแนะนำ ซึ่ง สามารถนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เผชิญอยู่ 4) การสนับสนุนทางเครื่องมือ ส่ิงของ เงิน หรือแรงงาน หมายถึง การช่วยเหลือในด้านการเงิน เวลา และแรงงาน เพื่อให้มารดาสามารถให้นมแม่ได้อย่างเต็มที่ เป็นการสนบั สนนุ ตอ่ มารดาโดยตรง ทำใหม้ ารดาลดความตึงเครียดท่อี าจเกดิ กับมารดาท้ังดา้ นรา่ งกายและ จิตใจ การสนับสนุนจากสามีทำใหม้ ารดาเกดิ กำลงั ใจ รสู้ ึกมีคุณค่าและมีความสำคัญ สามารถปรับบทบาท ในการเปน็ มารดาไดด้ ี สง่ ผลต่อความสำเร็จในการเล้ียงลกู ด้วยนมแม่ จากการทบทวนงานวิจัยที่ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่าง เดยี วนาน 6 เดือน พบว่าปัจจัยส่วนบคุ คล ไดแ้ ก่ ปจั จยั ด้านอายุ สถานภาพสมรส ระดบั การศกึ ษา ศาสนา ความเชื่อ อาชีพ รายได้ ลักษณะครอบครัว จำนวนครั้งการตั้งครรภ์ อายุครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก วธิ กี ารคลอด ภาวะแทรกซ้อนของมารดา ภาวะแทรกซ้อนในทารก ประสบการณ์การใหน้ มแม่ ระยะเวลา ในการหยุดงานหลังคลอดบุตร การเข้าถึงบริการสาธารณสุข และความตั้งใจในระยะเวลาในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ (แสงมณี หน่อเจริญ, 2553; อุษณีย์ จินตเวช และคณะ, 2557; ภัทรพร ชูประพันธ์ และคณะ, 2557) ส่งผลต่อความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือนที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ยัง พบว่า ความรู้ ทัศนคติ ความเชือ่ เรื่องสขุ ภาพ การส่งเสรมิ สมรรถนะแหง่ ตนในการเล้ยี งลกู ดว้ ยนมแม่ การ

7 สนบั สนุนทางสังคมเชน่ การสนบั สนนุ จากพยาบาล การสนบั สนุนจากสามหี รือญาติในการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่ การพัฒนาบริการการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ รวมถึงรูปแบบการจัดการตนเองของมารดาใน การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (จินตนา บุญจันทร์ และคณะ, 2554; โบว์ชมพู บุตรแสงดี, 2557; สุวรรณา ชนะ ภัย และคณะ, 2557; อุษา วงศ์พินิจ, 2558; อมั พร เกษมสุข และคณะ, 2558; อษุ ณีย์ จนิ ตเวช และคณะ , 2558; ศิรวิ รรณ ทุมเช้อื และอัญญา ปลดเปลอ้ื ง, 2558; นวพร มามาก และกมลรตั น์ เทอร์เนอร์, 2559; อารีรัตน์ วิเชียรประภาและคณะ, 2560; มาลีวัล เลิศสาครศิริ, 2562) เป็นปัจจัยที่สามารถทำนายอัตรา การเลีย้ งลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน การศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ตั้งแต่ระยะแรกหลังคลอดและการติดตามทางโทรศัพท์หลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล พบว่า กลุ่ม ทดลองมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนอยู่ในระดับสูง สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 4 ถึง 8 สัปดาห์หลังคลอด (McQueen, Dennis, Stremler & Norman, 2011) และจากการศึกษาพบว่าการ สนับสนุนจากสามีหรือสมาชิกภายในครอบครัว เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อระยะเวลาในการเลี้ยงลูกด้วย นมแมอ่ ย่างเดียว ถา้ มารดาไม่ไดร้ ับการสนับสนุน จากสมาชกิ ภายในครอบครัว ตอ้ งให้นมทารกตามลำพัง ส่งผลต่อความเครียด และรู้สึกท้อแท้ (Littleton & Engebretson, 2002) ซึ่งความเครียดในมารดาหลัง คลอดส่งผลต่อการหลั่งน้ำนมลดลง เนื่องจากในมารดาที่มีความเครียดไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกายหรือ ดา้ นจติ ใจ จะทำให้มีการหลง่ั สารโดปามนี (Dopamine) จากไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) ซงึ่ เป็นสาร ที่ยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนโปรแลคติน (Prolactin) ทำให้การสร้างน้ำนมลดลง และความวิตกกังวลต่างๆ ของมารดา ส่งผลต่อการยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนออกซิโตซิน (Oxytocin) ทำให้น้ำนมไหลน้อย (Lowdermilk, 1999) ดังนั้นแหล่งสนับสนุนทางสังคมจากสามี จึงมีความสำคัญมากสำหรับมารดาหลัง คลอด ส่งผลให้ประสบผลสำเรจ็ ในการเล้ียงลูกดว้ ยนมแม่ (Littleton & Engebretson, 2002) และการท่ี สามีจะให้การสนับสนุนได้ถูกต้องนั้น สามีต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นสำคัญ และ จากการศึกษาพบว่าผลของโปรแกรมให้ความรู้แก่สามีเกี่ยวกับการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่พบว่า มารดากลุ่มที่สามีได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่าง เดียวสูงกว่ากว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ (Arora et al., 2000; Britton et al., 2007; Sherriff et al., 2009) สามีจึงเปน็ แหล่งสนับสนนุ ทางสงั คมที่สำคญั จากการทบทวนวรรณกรรม องคค์ วามรู้เกยี่ วกบั การส่งเสรมิ การเล้ยี งลกู ด้วยนมแม่อย่างเดียวที่ได้ จาก การศึกษาเชิงบรรยาย เชิงทำนาย และเชิงกึ่งทดลอง ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาสภาพการณ์การเลี้ยง ลูกด้วยนมแมใ่ นมารดาท่ีมีบุตรคนแรก เกีย่ วกับลกั ษณะส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติตอ่ การเล้ียงลูกด้วยนม แม่ การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส การสนับสนุนจาก พยาบาล การสนับสนนุ จากสามีในการเล้ียงลูกดว้ ยนมแม่ และอตั ราของการเล้ยี งลูกดว้ ยนมแม่อย่างเดียว นาน 6 เดือน เพอ่ื นำไปเปน็ ข้อมูลพ้นื ฐานสำหรับการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของสามีในการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวให้สูงขึ้น โดยบูรณาการแนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของแบนดูรา

8 (Bandura, 1997) ร่วมกับการมีส่วนร่วมของสามีจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของเฮาส์ (House, 1981) และทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ร่วมกับนำข้อมูลที่ได้จาก การศึกษาสภาพการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาที่มีบุตรคนแรก มาออกแบบสร้างโปรแกรมและนำไป ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างนำร่อง และนำมาปรับปรุงพัฒนาโปรแกรมก่อนที่จะไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างจริง เพื่อให้โปรแกรมมีความสมบูรณ์ สามารถนำไปส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ สง่ ผลต่อการเพิม่ อตั ราการเล้ียงลกู ดว้ ยนมแม่อยา่ งเดียวนาน 6 เดือน 9.2 วัตถุประสงคข์ องการวิจยั 1. เพ่อื ศึกษาสภาพการณก์ ารเล้ียงลกู ด้วยนมแมใ่ นมารดาที่มบี ตุ รคนแรก 2. เพื่อศึกษาผลของการพฒั นาโปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ อย่างเดียวในมารดาทมี่ ีบตุ รคนแรก ตอ่ อัตราการเลีย้ งลูกด้วยนมแม่อยา่ งเดียวนาน 6 เดือน 3. เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาโปรแกรมสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของสามีในการเลย้ี งลูกด้วยนมแม่ อย่างเดยี วในมารดาท่มี ีบตุ รคนแรก ตอ่ ประสิทธผิ ลของการเล้ยี งลูกด้วยนมแม่ 9.3 คำถามการวจิ ัย 1. สภาพการณ์การเลีย้ งลูกด้วยนมแมใ่ นมารดาที่มีบตุ รคนแรก ในโรงพยาบาลชลบุรีเป็นอยา่ งไร 2. โปรแกรมส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมของสามีในการเลย้ี งลูกด้วยนมแม่อย่างเดยี ว ทำให้อัตราการ เลย้ี งลูกด้วยนมแม่เพม่ิ ข้ึนหรอื ไม่ 3. โปรแกรมส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของสามีในการเล้ยี งลูกดว้ ยนมแม่อย่างเดียว ทำใหป้ ระสิทธิผล ของการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่เป็นอยา่ งไร 9.4 สมมติฐาน 1. มารดาท่มี บี ุตรคนแรก ที่ได้รับโปรแกรมสง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่อยา่ งเดยี ว มอี ัตราการเล้ียงลูกดว้ ยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน เพ่ิมขึน้ 3. มารดาท่ีมบี ุตรคนแรก ที่ได้รบั โปรแกรมสง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของสามีในการเล้ียงลูกดว้ ยนม แมอ่ ยา่ งเดียว มปี ระสทิ ธิผลของการเลยี้ งลูกดว้ ยนมแม่ดีกว่าก่อนการได้รับโปรแกรม 9.5 กรอบแนวคดิ การวจิ ัย การศึกษาครั้งนี้ใช้กรอบแนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของแบนดูรา (Bandura, 1997) ร่วมกับการมีส่วนร่วมของสามีจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของเฮาส์ (House, 1981) และทบทวน วรรณกรรมเกย่ี วกบั การส่งเสริมการเลีย้ งลูกด้วยนมแม่ เพื่อวิจัยและพัฒนาโปรแกรมสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วม ของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวต่อประสิทธิผลของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในมารดาที่มีบุตร

9 คนแรกโดยใช้ทฤษฎีของแบนดูรา (Bandura, 1997) ซ่ึงแบนดูลา เน้นความสำคญั ของการเรยี นรู้ การรับรู้ สมรรถนะแห่งตน (Self-efficacy Theory) โดยอธิบายว่าการท่ีบุคคลจะแสดงพฤติกรรมใดๆ หรอื ไม่แสดง แสดงพฤติกรรมนั้นๆ ขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัยที่สำคัญคือ 1) ความเชื่อในสมรรถนะของตนและความคาดหวัง ผลลัพธ์ในการกระทำ โดยบุคคลจะมีความคาดหวังว่าตนมีสมรรถนะเพียงพอที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมหรือ ปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่เมื่อบุคคลมีการรับรู้สมรรถนะของตนเอง 2) การรับรู้สมรรถนะของตนเอง จะ นำไปส่กู ารปฏบิ ตั ิจรงิ เพ่อื ให้เกิดผลลัพธต์ ามทคี่ าดหวังไว้ ในการวจิ ยั ครั้งน้ีผ้วู ิจัยจงึ จดั กิจกรรมใหผ้ เู้ ข้าร่วม โครงการวจิ ัยได้รับการสง่ เสริมความรู้ รับรู้สมรรถนะของมารดาตามกรอบแนวคดิ ของแบนดูรา (Bandura, 1997) โดยการมสี ว่ นร่วมของสามี ผา่ นกิจกรรมตามแผนการเรียนรโู้ ดย 1) ใช้คำพดู แนะนำหรือชักจูงด้าน ประโยชนใ์ นการเลยี้ งลูกดว้ ยนมแม่ ในหัวข้อมหศั จรรยน์ มแม่ และความรเู้ รือ่ ง 4 ดดู 2) การเรียนรู้ผ่านตัว แบบ โดยการให้มารดาและสามีสังเกตจากการสาธิต วิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ท่าอุ้มให้นมทารก วิธีการ บีบเก็บตุนน้ำนม การเรียนรู้ผ่านตัวแบบคือผู้วิจัย การดูวีดีทัศน์เรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เมื่อแม่ต้อง ทำงาน คู่มือมหัศจรรย์นมแม่ คู่มือการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โมเดลเต้านม ถุงเก็บน้ำนม โมเดลตุ๊กตาผ้า สำหรับฝึกทักษะการอุ้มทารก 3) ให้มารดาและสามี มีประสบการณ์ความสำเร็จของตนเอง โดยการให้ มารดาและสามีได้ฝึกทักษะการอุ้มทารกดูดนมมารดา การเตรียมและการบีบเก็บตุนน้ำนม โดยจัดเป็น ตารางกิจกรรมทำในระยะตั้งครรภ์ครั้งที่ 1 เมื่ออายุครรภ์ 32-34 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 35-37 สปั ดาห์ ครง้ั ท่ี 3 ระยะหลังคลอด และครั้งท่ี 4 กอ่ นการจำหน่ายมารดาและทารกกลับบ้าน 4) การกระตุ้น เรา้ ทางอารมณ์ โดยเปิดโอกาสให้มารดาและสามี ซกั ถาม ระบายความรสู้ ึก ผ้วู จิ ยั รบั ฟัง ให้คำปรึกษาและ ให้กำลังใจ ตลอดโครงการวิจัย เพื่อลดความเครียดและความวิตกกังวลของมารดาและสามี โดยการ ตดิ ตามเย่ียมทางโทรศัพทเ์ ปน็ ระยะๆ หลงั กลบั ไปอยบู่ า้ นท่ี 1, 2, 6 สปั ดาห์ และ 3, 6 เดือนหลงั คลอด โดยสรุปแล้วการเรียนรู้จากข้อมูลทั้ง 4 แหล่งดังกล่าวข้างต้นล้วนผ่านกระบวนการทางปัญญา สามารถทำให้บุคคลตัดสินใจได้ว่าตนมีสมรรถนะในกิจกรรมนั้นๆมากน้อยเพียงใด ในบุคคลที่รับรู้ สมรรถนะของตนเองสูงจะมีผลต่อพฤติกรรม โดยทำใหค้ นนัน้ ตัดสินใจลงมือทำ และทมุ่ เทมีความพยายาม มากขึ้น เพื่อบรรลุผลที่คาดหวัง และเมื่อเกิดอุปสรรคหรือปัญหาใดๆ ก็ไม่เกิดความย่อท้อ หาวิธีการ แก้ปัญหาและเพียรพยายามที่จะดำเนินพฤติกรรมต่อไป ดังนั้นการส่งเสริมให้มารดามีการรับรู้สมรรถนะ ของตนเองในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และได้รับการสนับสนุนจากสามี จะทำให้มารดามีความมั่นใจ และ นำไปส่กู ารปฏิบตั กิ ารเล้ียงลกู ดว้ ยนมแมต่ ามระยะเวลาทีเ่ หมาะสมกบั ทารก แนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของเฮ้าส์ (House, 1981) ได้แบ่งพฤติกรรมการสนับสนุนทาง สังคมออกเป็น 4 รูปแบบคือ 1) การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ หมายถึง การได้รับการยอมรับและมีผู้เห็น คุณคา่ ต้ังใจรับฟัง ดูแลเอาใจใส่ มีความร้สู กึ เห็นอกเห็นใจ 2) การสนับสนนุ ทางดา้ นการประเมิน หมายถึง การให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อนำไปใช้ในการประเมินตนเอง ทำให้เกิดความมั่นใจ 3) การสนับสนุนทางด้าน ข้อมลู ขา่ วสาร หมายถึงการใหข้ ้อเสนอแนะ คำแนะนำ ซึง่ สามารถนำไปใช้ในการแกไ้ ขปญั หาท่เี ผชิญอยู่ 4) การสนับสนุนทางเครื่องมือ สิ่งของ เงิน หรือแรงงาน หมายถึง การช่วยเหลือในด้านการเงิน เวลา และ

10 แรงงาน และจากแนวคิดการสนับสนนุ ทางสังคมน้ี ผวู้ ิจัยจึงนำไปเปน็ แนวทางในการพัฒนาโปรแกรมการมี ส่วนร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว โดยให้ความรู้กับสามีของมารดาที่มีบุตรคนแรก เกี่ยวกับการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ประกอบด้วยการสนับสนุนทั้ง 4 ด้านคือ 1) การสนับสนุน ด้านอารมณ์ โดยใหส้ ามเี อาใจใส่มารดาในการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่ โดยเรม่ิ ตั้งแต่การตดั สินใจร่วมกันในการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่และเข้าร่วมโครงการวิจัย เข้าใจด้านอารมณ์ของมารดาที่มีผลต่อการสร้างและหลั่ง น้ำนม สนับสนุนให้เกิดความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2) การสนับสนุนด้านการประเมิน เป็นการ สนับสนุนที่สามีมีต่อมารดา เพื่อให้มารดาเกิดความเชื่อมั่นในการตัดสินใจเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ตลอดจน สนับสนุนมารดาให้เกิดความมั่นใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร โดยสามี สนใจศึกษาความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สามารถให้คำแนะนำ ให้ความรู้ หาเอกสาร และหา แหล่งประโยชนใ์ หก้ ับมารดาได้ 4) การสนับสนนุ ทางเคร่ืองมือ สิ่งของ เงิน หรือแรงงาน สามีช่วยแบ่งเบา ภาระงานของมารดา เพื่อให้มารดาสามารถให้นมแม่ได้อย่างเต็มที่ สนับสนุนสิ่งของเครื่องใช้ เพื่ออำนวย ความสะดวกต่อมารดา ซึ่งการมีส่วนร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เป็นการสนับสนุนต่อมารดา โดยตรง ทำ ให้มารดาลดความตึงเครียดที่อาจเกดิ กับมารดาทั้งด้าน ร่างกาย ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล และจิตใจ การสนับสนุนจากสามีทำให้มารดาเกิด ก ำ ล ั ง ใ จ 1.อายุ รู้สกึ มีคุณค่าและมีความสำคัญ สามารถปรับบทบาทใน ก า ร เ ป็ น 2. ระดบั การศึกษา มารดาได้ดี ส่งผลต่อความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่ 3. การวางแผนการต้ังครรภ์ ในทางตรงกันข้ามถ้ามารดาและสามีไม่มี ค ว า ม รู้ ความเข้าใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จะทำให้ขาด ความมุ่งมั่น และไม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ประสบความสำเร็จ อีกทั้งการไม่ได้รับการสนับสนุนจากสามี จะทำให้เกิดความล้มเหลวในการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ ด้วยเหตุผล ดังกล่าวผู้วิจัยจึงสนใจที่จะจัดกิจกรรมให้มารดา และสามี เพื่อที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ให้มารดาและสามีได้รับความรู้ มีทัศนคติที่ดีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มารดารับรู้ สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ได้รับการสนับสนุนจากสามี ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างคู่ สมรส ภายใต้กรอบทฤษฎีการเรียนรู้ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน (Self-efficacy Theory) ของแบนดูรา และกรอบทฤษฎกี ารสนบั สนุนทางสงั คมโดยการมสี ่วนร่วมของสามขี องเฮาส์ ดงั แสดงในภาพท่ี 1

11 ปัจจยั ดา้ นมารดาและสามี 1. ความรู้ 2. ทัศนคติ 3. การรบั ร้สู มรรถนะแห่งตน 4. การสนับสนุนจากสามี 5. สัมพันธภาพระหวา่ งค่สู มรส โปรแกรมส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของสามีในการเล้ียงลูกดว้ ยนมแม่ อย่างเดียวภายใต้ - ทฤษฎีการเรยี นรขู้ องแบนดูรา (แผนการเรียนรู้ คมู่ ือ การสาธติ สือ่ วดี ี ทศั น์ กิจกรรมการฝึกทักษะ) - การสนับสนุนทางสังคมของเฮา้ ส์ (การมสี ว่ นร่วมของสามี) ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษาวจิ ยั 9.6 ขอบเขตการวิจยั การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนา (research and development) เรื่องการพัฒนา โปรแกรมส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของสามีในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่อย่างเดียวต่อ 1. อตั ราการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแมอ่ ยา่ งเดยี ว ประสิทธิผลของการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ในมารดาที่มี 2. ประสิทธผิ ลของการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่ บุตรคนแรก กลุ่มตัวอย่าง เป็นมารดาที่มีบุตรคนแรกที่มาคลอดโรงพยาบาลชลบุรีในช่วงระยะเวลา สิงหาคม 2563 – กุมภาพันธ์ 2566 เก็บขอ้ มูลโดยผวู้ จิ ยั และผู้ชว่ ยวจิ ยั แบ่งการศกึ ษาวจิ ัยเปน็ 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพการณ์เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาที่มีบุตรคนแรก กลุ่ม ตัวอยา่ งเป็นมารดาที่มีบุตรคนแรก ทม่ี าคลอดในโรงพยาบาลชลบุรี ในชว่ งเดอื นสิงหาคม – กันยายน พ.ศ. 2563 จำนวน 300 คน และตดิ ตามหลงั คลอดนาน 6 เดือนถึง มนี าคม 2564

12 ระยะท่ี 2 สรา้ งโปรแกรมและทดลองใช้โปรแกรมที่พฒั นาข้ึนกับกลมุ่ ตัวอย่างนำร่อง ในมารดาที่มี บุตรคนแรกและสามี จำนวน 5 คู่ และติดตามเยี่ยมหลังคลอดทางโทรศัพท์หลังกลับไปอยู่บ้านที่ 1, 2, 6 สัปดาห์ และ 3, 6 เดอื นหลงั คลอด ศึกษาในช่วงเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2564 – มกราคม พ.ศ. 2565 ระยะที่ 3 ปรับปรุงพัฒนาโปรแกรม และนำโปรแกรมที่ปรบั ปรุงไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คู่ ในชว่ งเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2565 – กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 9.7 คำจำกัดความทใ่ี ช้ในการวิจยั - สภาพการณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ หมายถึง ข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งประกอบด้วยอายุ ระดับ การศึกษา การวางแผนการตั้งครรภ์ ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้ สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนจากสามี สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อยา่ งเดยี วนาน 6 เดือน - ความรู้ หมายถึง ขอ้ มลู ที่กลมุ่ ตัวอยา่ งมีก่อนเขา้ รว่ มโปรแกรมเก่ยี วกับการเลยี้ งลูกดว้ ยนมแม่ - ทัศนคติ หมายถึง ความคิด ความเชอื่ ความรสู้ ึก ท่ีมีตอ่ การเล้ยี งลกู ดว้ ยนมแม่ - การรับรู้สมรรถนะแห่งตน หมายถึง การประเมินความสามารถของตนเองในการเลี้ยงลูกด้วย นมแมข่ องกลุม่ ตัวอยา่ ง เรื่องวธิ ีการใหน้ มทารก การปฏบิ ตั ิตนในระหวา่ งเล้ยี งลูกด้วยนมแม่ - สัมพนั ธภาพระหว่างค่สู มรส หมายถึง ความคดิ เห็นของกลุม่ ตวั อยา่ งเกี่ยวกับการปรับตวั เข้าหา กัน หลังจากอยู่ร่วมกัน การร่วมกันแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ความพึงพอใจในชีวิตสมรส ทำให้เกิดความ พึงพอใจในชีวิตสมรส - โปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว หมายถึง การ พยาบาลที่สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของสามี ตั้งแต่อายุครรภ์ 32 สัปดาห์ จนถึง 6 เดือนหลังคลอด เพื่อที่จะ สง่ เสรมิ สัมพันธภาพระหว่างคสู่ มรสท่แี นน่ แฟน้ เกิดความรู้ท่ีถูกต้องในการเล้ียงลกู ด้วยนมแม่ มที ัศนคติที่ดี ต่อการเลยี้ งลูกดว้ ยนมแม่ มารดามสี มรรถนะแหง่ ตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใหป้ ระสบความสำเร็จ ได้รับ การสนับสนุนจากสามี ส่งผลให้อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สูงกว่าร้อยละ 50 ซึ่งพัฒนาโปรแกรมขึ้นมา ภายใตแ้ นวคดิ ทฤษฎีทเ่ี น้นความสำคัญของการเรียนรู้ การรบั รสู้ มรรถนะแหง่ ตน (Self-efficacy Theory) ของแบนดูรา ซง่ึ อธบิ ายว่าการทบี่ ุคคลจะแสดงพฤติกรรมใดๆ หรอื ไมแ่ สดงแสดงพฤติกรรมนน้ั ๆ ข้ึนอยู่กับ 2 ปัจจัยที่สำคัญคือ 1) ความเชื่อในสมรรถนะของตนและความคาดหวังผลลัพธ์ในการกระทำ โดยบุคคล จะมีความคาดหวังว่าตนมีสมรรถนะเพียงพอท่จี ะเปลย่ี นพฤติกรรมหรือปรับตวั เข้าสู่บทบาทใหม่เมื่อบุคคล มีการรับรู้สมรรถนะของตนเอง 2) การรับรู้สมรรถนะของตนเอง จะนำไปสู่การปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิด ผลลัพธ์ตามที่คาดหวังไว้ ดังนั้นการส่งเสริมความรู้ เพื่อให้มารดารับรู้สมรรถนะของตนจึงเป็นสิ่งสำคัญใน การแก้ปัญหาการไม่ประสบความสำเรจ็ ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร่วมกับการมีส่วนร่วมของบุคคลใกล้ชิด คือสามี ตามแนวคิดการสนับสนนุ ทางสังคมของเฮ้าส์ ซง่ึ แบง่ พฤตกิ รรมการสนบั สนนุ ทางสังคมออกเป็น 4 รปู แบบคือ 1) การสนับสนนุ ทางดา้ นอารมณ์ หมายถึง การไดร้ บั การยอมรับและมีผู้เหน็ คณุ ค่า ตั้งใจรับฟัง

13 ดูแลเอาใจใส่ มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ 2) การสนับสนุนทางด้านการประเมิน หมายถึงการให้ข้อมูล ย้อนกลับเพื่อนำไปใช้ในการประเมินตนเอง ทำให้เกิดความมั่นใจ 3) การสนับสนนุ ทางด้านข้อมูลข่าวสาร หมายถึงการใหข้ ้อเสนอแนะ คำแนะนำ ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการแก้ไขปญั หาทเ่ี ผชิญอยู่ 4) การสนับสนุน ทางเครื่องมือ สิ่งของ เงิน หรือแรงงาน หมายถึง การช่วยเหลือในด้านการเงิน เวลา และแรงงาน เพื่อให้ มารดาสามารถให้นมแม่ได้อย่างเต็มที่ เป็นการสนบั สนุนต่อมารดาโดยตรง ทำให้มารดาลดความตึงเครียด ที่อาจเกิดกับมารดาทัง้ ด้านร่างกายและจิตใจ การสนับสนนุ จากสามีทำให้มารดาเกิดกำลังใจ รู้สึกมีคณุ ค่า และมีความสำคญั สามารถปรับบทบาทในการเป็นมารดาได้ดี ส่งผลต่อความสำเรจ็ ในการเล้ียงลูกดว้ ยนม แม่ - มารดาที่มบี ตุ รคนแรก หมายถงึ สตรีท่ีตัง้ ครรภแ์ ละมีบุตรมชี พี เปน็ คนแรก โดยไมร่ วมถึงจำนวน ครง้ั ในการตง้ั ครรภ์ - การเลี้ยงลูกดว้ ยนมแมอ่ ย่างเดียว หมายถงึ มารดาใหน้ ำ้ นมแม่กับทารกอย่างเดียวโดยไม่ได้ให้ นำ้ และอาหารอื่นกับทารกก่อนอายุ 6 เดือน - ประสิทธิผลของการเลี้ยงลกู ด้วยนมแม่ หมายถึง ภายหลังกลุม่ ตัวอย่างไดร้ ับโปรแกรมส่งเสริม การมีส่วนร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว มีความรู้ ทัศนคติ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรสที่ดี และมีอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว นาน 6 เดือนสูงข้นึ ถงึ รอ้ ยละ 50 - อตั ราการเล้ียงลูกดว้ ยนมแม่อย่างเดียว หมายถงึ จำนวนมารดาท่ีเลยี้ งลกู ดว้ ยนมแมอ่ ยา่ งเดียว นาน 6 เดอื น เปรียบเทยี บกับจำนวนมารดาทัง้ หมดทีศ่ ึกษา คำนวณเปน็ ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ 9.8 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ 1. อตั ราการเลี้ยงลกู ดว้ ยนมแม่อยา่ งเดียวนาน 6 เดือนเพิม่ ขึน้ ถงึ ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 50 2. สามารถนำผลการวจิ ยั ไปเป็นแนวทางในการสง่ เสริมการเลี้ยงลกู ดว้ ยนมแม่อย่างเป็นระบบใน สตรีตง้ั ครรภ์และมารดาหลังคลอด 9.9 บรรณานุกรม (เขียนแบบ APA) กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๑). สาธารณสขุ ร่วมกบั เครือข่าย ตัง้ เป้าปี ๖๘ เดก็ ไทยอยา่ งน้อย ร้อยละ ๕๐ กินนมแม่อย่างเดียวถึง ๖ เดอื น. สืบค้นวนั ที่ ๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓, จาก https://www.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=76&nid=12470 กสุ มุ า ชูศิลป์. (2555). เกณฑร์ ะดับสากลของโรงพยาบาลสายสัมพันธ์แมล่ กู . ใน ศุภวิทย์ มุตตามระ, กสุ มุ า ชศู ิลป์, อุมาพร สทุ ศั น์วรวุฒิ, วราภรณ์ แสงทวสี ิน, และ ยพุ ยง แห่งเชาวนชิ (บรรณาธกิ าร), ตำราการเล้ยี งลูกด้วยนมแม.่ กรุงเทพฯ: บริษทั สำนกั พิมพ์ไอยรา จำกดั

14 จินตนา บุญจันทร์, พรเพ็ญ ปทุมวิวัฒนา, พวงรัตน์ เชาวะเจริญ และกุสุมา ชูศิลป์. (2554). การพัฒนา บริการการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างยั่งยืน. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื , 29(2). 14-24. นวพร มามาก และกมลรัตน์ เทอร์เนอร์. (2559). บทบาทพยาบาลกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามี หรือญาติเพ่อื ความสำเรจ็ ในการเลีย้ งลกู ดว้ ยนมแม่. วารสารกองการพยาบาล, 43(3), 114-126. โบวช์ มพู บตุ รแสงดี. (2557). การส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนตอ่ การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาทผี่ ่าตดั คลอดทาง หนา้ ท้อง. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 7(1), 1-9. ภัทรพร ชูประพันธ์, วีณา เที่ยงธรรม และปาหนัน พิชยภิญโญ. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนของแม่ในเขตภาคกลางตอนล่าง. Graduate Research Conference, มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ , 1723-1732. มาลีวัล เลิศสาครศิริ. (2562). การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด: บทบาท พยาบาลและครอบครัว. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 12(1), 1-13. ราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2560). พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรบั ทารกและเดก็ เล็ก พ.ศ. ๒๕๖๐ เลม่ 134 ตอนท่ี ๗๒ก. สบื ค้นวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓, จาก http://laws.anamai.moph.go.th/download/about_laws_2017/laws_index/ พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก%20พ.ศ.%20 ๒๕๖๐.pdf ศริ วิ รรณ ทมุ เชื้อ และอญั ญา ปลดเปลอื้ ง. (2558). การพัฒนาโปรแกรมส่งเสรมิ การเล้ียงลกู ด้วยนมแม่ โดยการสนับสนุนของครอบครัว. วารสารศูนย์การศึกษาแพทย์สาสตร์คลินิก โรงพยาบาล พระปกเกลา้ , 32(1), 6-16. สุวรรณา ชนะภัย, นิตยา สินสุกใส, นันทนา ธนาโนวรรณ และวรรณา พาหุวัฒนกร. (2014). ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้สมรรถนะในตนเอง และการสนับสนุนจากสามีและพยาบาล ในการทำนายการ เลีย้ งลกู ดว้ ยนมแม่อย่างเดยี ว 6 สปั ดาห์. Journal of Nursing Science, 32(1), 51-60. แสงมณี หน่อเจรญิ . (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจยั ตามแบบแผนความเช่ือดา้ นสขุ ภาพ กับพฤติกรรม การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาของมารดาหลังคลอด ๖ สัปดาห์แรก ณ โรงพยาบาลมโหสถ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขวิ ชาการผดุงครรภ์ขน้ั สงู บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2559). คู่มือฝึกอบรม ในงานอนามัยแม่และ เด็ก. (หนา้ ๒๕-37) กรงุ เทพ: สำนกั ส่งเสริมสุขภาพ. อารีรัตน์ วเิ ชียรประภา, ขนษิ ฐา เมฆกมล, กรรณิการ์ แซ่ตัง๊ , เกษณี พรหมอินทร,์ และสมลักษณ์ ศรีวิรัญ.

15 (2560). รูปแบบการจัดการตนเองของมารดาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน: กรณีศึกษามารดาหลังคลอด ตำบลบ่อ อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาล พระปกเกลา้ จันทบรุ ี, 28(2), 29-41. อัมพร เกษมสุข, เต็มดวง บญุ เป่ยี มศักดิ์ และวันเพ็ญ สขุ สง่ . (2558). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ต่อความเช่ือด้านสุขภาพ และระยะเวลาการเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ โรงพยาบาลสมเด็จพร บรมราชเทวี ณ ศรีราชา. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 40(3), 177-184. อษุ า วงศ์พินิจ. (2558). บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่อย่างเดียวกอ่ นจำหนา่ ยจาก โรงพยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 8(1), 24-33. อุษณีย์ จินตะเวช, เทียมศร ทองสวัสดิ์ และลาวัลย์ สมบูรณ์. (2557). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลาใน การเล้ียงบตุ รดว้ ยนมมารดาอยา่ งเดียวของมารดาหลังคลอด. พยาบาลสาร, 42(1), 133-144. อุษณีย์ จินตะเวช, เทียมศร ทองสวัสดิ์ และลาวัลย์ สมบูรณ์. (2558). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการ เลีย้ งบตุ รดว้ ยนมมารดา และการสนบั สนุนทางสังคมตอ่ การรับร้สู มรรถนะแหง่ ตนในการเล้ียงบุตร ด้วยนมมารดา และอัตราการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียวของมารดาหลังคลอด. วารสาร พยาบาลศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 27(2), 34-47. Arora, S., McJunkin, C., Wehrer, J., Kuhn, 2000. Major factors influencing breast feeding rates: mother's perception of father's attitude and milk supply. Pediatrics 106, E67. Bandura A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. New York: W.H. Freeman and Company. Britton, C., McCormick, F.M., Renfrew, M.J., Wade, A., King, S.E., 2007. Support for breast feeding mothers. Cochrane Database of Systematic Reviews Issue 4. (Art No. CD001141). House, J. S., (1981). Work Stress and Social Support: MA: Addison-Wesley. Littleton,L.Y. & Engebretson, J.C. (2002). Maternal, neonatal, and women’s health nursing. United states of America; Delma, a division of Thomson Learning. Lowdermilk,D.L. (1999). Maternity nursing. United states of America. All right reserved: September. McQueen, K. A., Dennis, C. L., Stremler, R., & Norman, C. D. (2011). A Pilot randomized controlled trial of breastfeeding self-efficacy intervention with primiparous mothers. Journal of Obstetric, Gynecologic, a 35-46. Moore, E. R., & Coty, M.-B. (2006). Prenatal and Postpartum Focus Groups With

16 Primiparas: Breastfeeding Attitudes, Support, Barriers, Self-efficacy, and Intention. Journal of pediatric health care: official publication of National Association of Pediatric Nurse Associates & Practitioners, 20(1), 35-46. Sherriff, N.S., Hall, V., Pickin, M., 2009. Fathers’ perspectives on breast feeding: ideas for intervention. British Journal of Midwifery 17, 223–227. World Health Organization. (2016). Health topics of breastfeeding. (online). Available from URL: https://www.who.int/health-topics/breastfeeding#tab=tab_2 9.10 วธิ ีดำเนนิ การวิจัย 9.10.1 ลกั ษณะงานวจิ ยั (รปู แบบการวจิ ัย) การวิจยั คร้ังนี้ เป็นการวจิ ัยและพัฒนา (research and development) เร่ืองการพฒั นา โปรแกรมส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของสามีในการเล้ยี งลูกด้วยนมแม่อย่างเดยี วต่อประสทิ ธิผลของการเลีย้ ง ลกู ด้วยนมแม่ ในมารดาทมี่ ีบุตรคนแรก ที่มาคลอดโรงพยาบาลชลบรุ ี โดยวธิ กี ารดำเนนิ การวจิ ัยแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ ดงั ต่อไปนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพการณ์ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน ในมารดาที่มีบุตร คนแรก ที่คลอดบุตรโรงพยาบาลชลบุรี เดือนสิงหาคม – กันยายน พ.ศ. 2563 จำนวน 300 คน และ ติดตามทางโทรศัพท์เมื่อกลับไปบ้านที่ 1, 2, 6 สัปดาห์ และ 3, 6 เดือนและสอบถามเกี่ยวกับอาหารท่ี ทารกได้รบั และสมุ่ กล่มุ ตวั อยา่ งจำนวน 30 คน จากจำนวน 300 คน เพอื่ เปน็ กลมุ่ ควบคมุ (R1) ระยะที่ 2 เป็นการจัดทำโปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่าง เดียวต่อประสิทธิผลของการเลี้ยงลกู ด้วยนมแม่ ในมารดาที่มีบุตรคนแรก (D1) โดยนำข้อค้นพบในระยะท่ี 1 มาจัดทำโปรแกรม ก่อนใช้โปรแกรมให้ทัง้ มารดาและสามีทำแบบประเมินกอ่ นใช้โปรแกรม และทดลอง ใช้โปรแกรมส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของสามีในการเลย้ี งลูกด้วยนมแม่อยา่ งเดยี วต่อประสิทธิผลของการเล้ียง ลูกด้วยนมแม่ ในมารดาที่มีบุตรคนแรก (R2) ที่พัฒนาขึ้นกับมารดาในระยะตั้งครรภ์ ที่อายุครรภ์ 32-37 สัปดาห์ จำนวน 5 คู่ และตดิ ตามมารดาในระยะหลงั คลอด โดยให้สามีมีส่วนร่วมในการให้ทารกเข้าเต้าดูด นมแม่ เข้าร่วมกิจกรรมในคลินิกนมแม่ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการวางแผนการจำหน่ายตามโปรแกรม และให้ทำแบบประเมิน ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนจากสามี สัมพันธภาพ ระหว่างคู่สมรส และติดตามทางโทรศัพท์เมื่อกลับไปบ้านที่ 1, 2, 6 สัปดาห์ และ 3, 6 เดือน เพื่อให้ คำปรึกษาในปัญหาและอุปสรรคท่ีพบ และสอบถามเก่ียวกับอาหารท่ีทารกไดร้ ับ เม่อื สนิ้ สุดโปรแกรมสรุป อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และสัมภาษณ์ความคิดเห็นต่อโปรแกรมเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุง และ พฒั นาโปรแกรม ระยะที่ 3 นำข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างในระยะที่ 2 มาปรับปรุงพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของสามีในการเลยี้ งลกู ดว้ ยนมแม่อยา่ งเดียวต่อประสิทธผิ ลของการเลย้ี งลกู ด้วยนมแม่ ในมารดาท่ี

17 มีบุตรคนแรก (D2) และทดลองใช้โปรแกรมที่ปรับปรุงใหม่กับมารดาที่มีบุตรคนแรกอายุครรภ์ 32-37 สัปดาห์ และสามี ตามเกณฑ์การคัดเข้าจำนวนทั้งหมด 30 คู่ ให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบประเมินความรู้ ทัศนคติ การรบั รสู้ มรรถนะแหง่ ตนในการเลยี้ งลูกด้วยนมแม่ การสนบั สนุนจากสามี สมั พันธภาพระหว่างคู่ สมรส กอ่ นทจ่ี ะได้รบั โปรแกรมสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว จากนั้น เริ่มให้โปรแกรมโดยมีการจัดกิจกรรมรวม 4 ครั้ง และเก็บรวบรวมข้อมูลหลังจากการทดลองสิ้นสุดในวัน จำหน่ายจากโรงพยาบาล ด้วยแบบประเมนิ ความรู้ ทศั นคติ การรับรูส้ มรรถนะแหง่ ตนในการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ การสนับสนุนจากสามี สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส และติดตามทางโทรศัพท์เมื่อกลับไปบ้านที่ 1, 2, 6 สปั ดาห์ และ 3, 6 เดอื น เพื่อใหค้ ำปรึกษาในปัญหาและอุปสรรคที่พบ และสอบถามเก่ียวกับอาหารที่ ทารกได้รับ เมื่อสิ้นสุดโปรแกรมสรุปอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (R3) และเปรียบเทียบประสิทธิผลของ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในมารดาครรภ์แรกที่ได้รับโปรแกรมกับมารดาครรภ์แรกที่ไม่ได้รับ โปรแกรม ดังแผนภาพที่ 2 ศึกษาสภาพการณเ์ ก่ยี วกับการเลยี้ งลูกดว้ ยนมแม่ ไดแ้ ก่ ปัจจยั ส่วนบคุ คล ความรู้ ทศั นคติ การรับรู้ สมรรถนะแห่งตน สมั พันธภาพระหวา่ งคสู่ มรส ของมารดาที่มีบตุ รคนแรก การสนบั สนนุ จากพยาบาล การสนบั สนุนจากสามี และอตั ราการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแมอ่ ย่างเดียวนาน 6 เดอื น ( R1) จัดทำโปรแกรมรว่ มกบั พยาบาลผเู้ กี่ยวข้องทด่ี แู ลในแผนกฝากครรภ์ หอ้ งคลอด ห้องหลงั คลอด และคลนิ ิกนมแม่ โดยใช้กรอบแนวคดิ การรบั ร้สู มรรถนะแหง่ ตนของแบนดรู า (Bandura, 1997) ร่วมกบั การมีส่วนรว่ มของสามีจาก แนวคดิ การสนับสนุนทางสังคมของเฮาส์ (House, 1981) และทบทวนวรรณกรรมเกย่ี วกบั การส่งเสรมิ การเลยี้ งลูก ด้วยนมแม่ เพอ่ื การพฒั นาโปรแกรมสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของสามีในการเลยี้ งลกู ด้วยนมแม่อยา่ งเดียวต่อ ประสิทธผิ ลของการเลย้ี งลูกด้วยนมแม่ ในมารดาทีม่ ีบุตรคนแรก ทำใหม้ ารดาและสามเี กิดความเช่อื มน่ั มคี วาม พยายาม และมุ่งม่ันในการเลยี้ งลกู ด้วยนมแม่ และไม่ย่อท้อกบั อุปสรรคท่เี กดิ ขึ้น (D1) ทดลองใชโ้ ปรแกรมสง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของสามีในการเลยี้ งลูกด้วยนมแม่อยา่ งเดียว(R2) ที่พฒั นาข้นึ ในระยะตั้งครรภ์ท่ีอายุ ครรภ์ 32-37 สัปดาห์ จำนวน 5 คู่ และติดตามต่อเนื่องในระยะหลังคลอดโดยให้สามีมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือมารดาให้ ทารกเข้าเต้าดูดนมแม่ เข้าร่วมกจิ กรรมในคลินิกนมแม่ พยาบาลวางแผนการจำหน่ายตามโปรแกรมและติดตามทางโทรศพั ท์ เมื่อกลับไปบา้ นที่ 1, 2, 6 สัปดาห์ และ 3, 6 เดือน เมื่อสิ้นสุดโปรแกรมสัมภาษณค์ วามคิดเห็นต่อโปรแกรมเพื่อเป็นข้อมูลใน การพัฒนาปรับปรุงโปรแกรม ( R2)

18 ปรบั ปรุงโปรแกรมสง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแมอ่ ยา่ งเดยี ว(D2) และทดลองใช้โปรแกรมที่ปรบั ปรงุ ใหม่กับกลมุ่ ตัวอย่าง ทดสอบกอ่ นเขา้ โปรแกรม ใช้โปรแกรมสง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของสามีในการเลีย้ งลกู ด้วยนมแมอ่ ยา่ งเดยี ว(R3) ในระยะตัง้ ครรภ์ -ความรู้ ทัศนคติ ที่อายุครรภ์ 32-37 สัปดาห์ จำนวน 30 คู่ และติดตามต่อเนือ่ งในระยะหลังคลอดโดยให้สามีมีส่วน -การรับรสู้ มรรถนะแหง่ ตนในการ ร่วมในการช่วยเหลือมารดาให้ทารกเข้าเต้าดูดนมแม่ เข้าร่วมกิจกรรมในคลินิกนมแม่ และเข้าร่วม เลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ กจิ กรรมการวางแผนจำหน่ายตามโปรแกรม -การสนับสนนุ จากสามี -สมั พันธภาพระหว่างคู่สมรส ทดสอบหลังเขา้ โปรแกรม -ความรู้ ทศั นคติ -การรับรสู้ มรรถนะแห่งตนในการเล้ยี งลูกด้วยนมแม่ อัตราการเล้ียงลกู ดว้ ยนมแม่ -การสนับสนนุ จากสามี อยา่ งเดยี วนาน 6 เดอื น -สมั พนั ธภาพระหวา่ งคู่สมรส ติดตามทางโทรศพั ท์เม่อื กลับไปบา้ นท่ี 1, 2, 6 สปั ดาห์ และ 3, 6 เดือน แผนภาพที่ 2 แสดงลำดบั ข้ันตอนในการวจิ ัย ตารางกิจกรรมโปรแกรมสง่ เสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่อยา่ งเดียวในระยะที่ 2 และ 3 ครงั้ ที่ วตั ถุประสงค์ กิจกรรม สื่อการเรียนรู้ 1. เมอ่ื มารดาครรภ์ - ม า ร ด า แ ล ะ ส า ม ี ท ร า บ ถึ ง - ผู้ว ิจัยให้คว ามรู้ เกี่ยวกับ - Power point แรกอายุครรภ์ ประโยชน์ในการเลี้ยงลูกด้วยนม ประโยชน์ในการเลี้ยงลูกด้วยนม ประกอบการ 32-34 wks. แม่ “มหัศจรรย์นมแม่” แม่ “มหัศจรรย์นมแม่” ความรู้ บรรยาย - มารดาและสามีมีความรู้เรื่อง 4 เรื่อง 4 ดูด (ดูดเร็ว ดูดบ่อย ดูด - คู่มอื มหศั จรรย์นม ดูด (ดูดเร็ว ดูดบ่อย ดูดถูกวิธี ดูด ถกู วิธี ดดู เกลี้ยงเต้า) และ บทบาท แม่ เกล้ยี งเต้า) ใ น ก า ร ม ี ส ่ ว น ร ่ ว ม ข อ ง ส า มี เ พ่ื อ สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

19 ครง้ั ท่ี วตั ถุประสงค์ กจิ กรรม สอ่ื การเรียนรู้ - สามีทราบบทบาทการมีส่วน ร่วมของสามีในการสนับสนุนการ เลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ 2. เมื่อมารดาครรภ์ - มารดาและสามีทราบถึงวิธีการ - ให้ความรู้และสาธิตวิธีการเลี้ยง - Power point แรกอายุครรภ์ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ท่าอุ้มให้นม ลูกด้วยนมแม่ ท่าอุ้มให้นมทารก ประกอบการ 35-37 wks. ทารก และสามารถปฏิบัติสาธิต การบีบ เก็บ ตุน น้ำนมแม่ และ บรรยาย (ระยะเวลาหา่ งจาก ย้อนกลบั ได้ การมีส่วนร่วมของสามี และให้ - คู่มือวิธีการเลี้ยง ครง้ั แรก 2 wks.) - มารดาและสามีมีความรู้ในการ มารดาและสามสี าธติ ย้อนกลับ ลูกดว้ ยนมแม่ บีบ เก็บ ตุน น้ำนมแม่ สามารถ -ตกุ๊ ตาผ้าฝึกทักษะ ฝกึ ปฏบิ ตั สิ าธติ ยอ้ นกลบั ได้ การอมุ้ ให้นม - สามีทราบบทบาทการมีส่วน - โมเดลเต้านม ร่วมของสามีในวิธีการเลี้ยงลูก - ถุงเก็บนำ้ นม ด้วยนมแม่ ท่าอมุ้ ใหน้ มทารก การ - you-tube การ บีบ เก็บ ตุน น้ำนมแม่ เลีย้ งลูกด้วยนมแม่ เมื่อแม่ต้องทำงาน 3.มารดาหลงั คลอด - มารดาสามารถให้นมทารกได้ -ผู้วจิ ยั ส่งเสริมสามีให้มีสว่ นร่วม - แบบประเมนิ การ ถูกตอ้ ง ในการช่วยเหลือมารดาใหท้ ารก ให้นม LATCH - สามีมสี ่วนร่วมในการช่วยเหลือ เขา้ เตา้ ดูดนมแม่ และให้เข้ารว่ ม SCORE ในคลินกิ มารดาในการเลีย้ งลูกด้วยนมแม่ กจิ กรรมในคลินกิ นมแม่ นมแม่ -ทบทวนความรู้ในการประเมิน -ต๊กุ ตาผ้าฝึกทักษะ ความเพียงพอของน้ำนม การอมุ้ ให้นม -ประเมนิ ทักษะการให้นมทารก และการแก้ไขปัญหา โดยใหส้ ามมี ี สว่ นรว่ มในทกุ ๆกิจกรรมในคลินิก นมแม่ 4.มารดาหลงั คลอด - มารดาและสามีมีความรู้ในการ - ให้ความรู้กอ่ นการจำหน่ายกลบั - สมดุ บันทกึ ก่อนการจำหน่าย จำหน่ายกลบั บา้ นตามสมุดบันทึก บา้ นตามสมุดบันทกึ สุขภาพแม่ สุขภาพแม่และเด็ก กลบั บ้าน สขุ ภาพแม่และเด็ก (สมุดสชี มพู และเด็ก (สมดุ สีชมพูของ (สมดุ สีชมพูของ ของกระทรวงสาธารณสขุ ) กระทรวงสาธารณสขุ ) ทบทวน กระทรวง การบีบเก็บตุนน้ำนม การให้ สาธารณสขุ ) อาหารทารกตามวยั โดยการมี

20 คร้ังท่ี วตั ถุประสงค์ กิจกรรม สื่อการเรยี นรู้ - สามีมสี ว่ นรว่ มในการสนับสนนุ ส่วนรว่ มของสามี และเน้นย้ำการ การเลยี้ งลกู ดว้ ยนมแมอ่ ย่างเดียว ให้นมแม่อยา่ งเดียวนาน 6 เดือน นาน 6 เดอื น 5. ตดิ ตามมารดา - - ตดิ ตามมารดาหลงั คลอดทาง - แบบสัมภาษณ์ หลังคลอดทาง โทรศพั ท์เมอื่ กลบั ไปบ้านที่ 1, 2, การให้อาหารทารก โทรศพั ท์เมอ่ื 6 สปั ดาห์ และ 3, 6 เดือน ตาม กลับไปบ้านท่ี 1, 2, แบบการแบบสัมภาษณ์การให้ 6 สปั ดาห์ และ 3, อาหารทารก และให้คำปรกึ ษาใน 6 เดอื น ปัญหาและอุปสรรคที่พบ 9.10.2 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง การวิจยั ครั้งน้ี เปน็ การวิจัยและพฒั นา (research and development) เรอ่ื งการพฒั นา โปรแกรมสง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมของสามีในการเลยี้ งลกู ดว้ ยนมแม่อย่างเดยี วต่อประสทิ ธิผลของการเลยี้ ง ลูกดว้ ยนมแม่ ในมารดาทมี่ ีบุตรคนแรก การดำเนินการวจิ ัยแบ่งเปน็ 3 ระยะ โดยในแต่ละระยะใช้ ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ งดังน้ี ระยะที่ 1 เป็นการศกึ ษาสภาพการณก์ ารเล้ยี งลูกด้วยนมแม่อย่างเดยี วในมารดาท่ีมีบตุ รคนแรก กลุ่มตวั อย่างเป็นมารดาครรภ์แรกท่มี าคลอดโรงพยาบาลชลบุรีในชว่ งระยะเวลา สิงหาคม 2563 – กันยายน 2563 คำนวณกลุ่มตวั อย่างโดยใชส้ ตู รของทาโร่ ยามาเน่ (Yamane, 1973) n=N/1+Ne2 (e = ความคลาดเคล่ือน 5%) ไดจ้ ำนวนกลุ่มตัวอยา่ งจำนวน 300 คน และติดตามหลงั คลอด 6 เดือนถงึ มนี าคม 2564 ระยะท่ี 2 จัดทำการพฒั นาโปรแกรมส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของสามีในการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่ อยา่ งเดยี วต่อประสทิ ธผิ ลของการเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ ในมารดาทม่ี บี ตุ รคนแรก และทดลองใชโ้ ปรแกรมที่ พฒั นากับกลมุ่ ตัวอยา่ งนำร่องในช่วงเดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2564 – กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 จำนวน 5 คู่ ระยะท่ี 3 นำข้อมลู ท่ีไดจ้ ากกลุ่มตวั อย่างในระยะที่ 2 มาปรับปรงุ และพัฒนาโปรแกรมสง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของสามีในการเลีย้ งลกู ดว้ ยนมแม่อย่างเดยี วต่อประสทิ ธิผลของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ใน มารดาทม่ี บี ุตรคนแรก เพ่ือใช้ในกลมุ่ ตวั อย่างจริง โดยคำนวณกลมุ่ ตัวอย่างจากการคำนวณโดยเปดิ ตาราง กำหนดขนาดของกล่มุ ตวั อย่างท่ีวเิ คราะห์ดว้ ยสถิติ t-test (Cohen, 1988) เม่ือกำหนดให้ large effect size (.80) และ power = .80 ทแ่ี อลฟ่า .05 ต้องใช้กลมุ่ ตัวอย่างขนาด 26 คู่ และเก็บกล่มุ ตวั อยา่ งเพิ่ม อกี 20% เผ่ือการสูญหายของกลมุ่ ตัวอย่าง ซึ่งต้องเกบ็ ตัวอยา่ งท้ังหมด 30 คู่ โดยกลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นมารดา

21 ครรภแ์ รกที่มาฝากครรภแ์ ละต้องการคลอดโรงพยาบาลชลบุรีในช่วงระยะเวลา มถิ นุ ายน 2565 – มีนาคม 2566 โดยเลือกกลมุ่ ตวั อยา่ งตามเกณฑท์ ี่กำหนดไว้ ดังนี้ 1. มารดาท่มี บี ุตรคนแรก และสามี เขา้ รว่ มการศกึ ษาตลอดโปรแกรม 2. มารดาท่ีมีบุตรคนแรกเต้านมปกติ หัวนมไมบ่ อด 3. พกั อาศยั อย่กู ับสามี 4. มารดาคลอดบุตรครบกำหนด 5. ทารกมีสขุ ภาพแข็งแรง ไม่มีภาวะแทรกซอ้ นท่เี ปน็ อุปสรรคในการดูดนมแม่ 6. สตรีครรภแ์ รก ไม่ขอ้ ห้ามในการเล้ยี งลูกด้วยนมแม่ 7. สตรคี รรภ์แรก ได้หยดุ งานหลังคลอดอยา่ งน้อย 1 เดอื น 8. สตรีครรภแ์ รก และสามี สามารถส่ือสารภาษาไทย และตดิ ตอ่ ทางโทรศัพทไ์ ด้สะดวก 9.10.3 การพิทักษ์สทิ ธกิ ลมุ่ ตวั อย่าง (จริยธรรมการทำวจิ ัยในมนษุ ย์) ในการวิจยั ครงั้ นผี้ วู้ ิจัยได้มีการพิทักษ์สิทธ์กิ ลมุ่ ตวั อย่าง โดยขออนญุ าตการทำวิจัยจาก คณะกรรมการวจิ ยั ในมนุษย์ ผ่านการตรวจสอบโครงร่างการวจิ ัยโดยคณะกรรมการวิจัยวทิ ยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ชลบุรี และผา่ นความเห็นชอบจากผู้อำนวยการโรงพยาบาลชลบุรี และผวู้ ิจยั ช้แี จง รายละเอยี ดให้กลมุ่ ตวั อย่างทราบ เป็นลายลักษณ์อกั ษร เก่ียวกบั วัตถุประสงค์ และประโยชน์ท่จี ะได้รบั ใน การทำวิจัยครง้ั น้ี รวมท้ังชแ้ี จงให้ทราบว่า การตอบแบบสอบถามคร้ังนี้ ไม่มีผลต่อการบริการและการ รกั ษาที่กล่มุ ตัวอย่างจะได้รับ รวมทงั้ ไมเ่ สียค่าใช้จา่ ยใดๆ การตอบแบบสอบถามไม่ตอ้ งใส่ ชือ่ -สกลุ ใน แบบสอบถามจะใชเ้ ปน็ รหสั ในการเก็บบนั ทกึ ข้อมูล โดยข้อมลู ที่ไดจ้ ากแบบสอบถามจะเปน็ ความลบั นำมาใช้เพ่ือการทำวิจยั คร้ังนเ้ี ทา่ นนั้ โดยนำเสนอเปน็ ข้อมูลในภาพรวม และถา้ กลุ่มตัวอย่างต้องการยุติ การเขา้ รว่ มวจิ ัยคร้ังน้ี สามารถทำได้ทนั ทโี ดยไม่มผี ลต่อการใหบ้ รกิ ารใดๆ 9.10.4 เครื่องมือท่ใี ช้ในการวิจัย ระยะที่ 1 เปน็ การศึกษาสภาพการณ์การเลยี้ งลกู ด้วยนมแม่อย่างเดียวในมารดาท่ีมีบตุ รคนแรก เครอ่ื งมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ประกอบด้วย 1. แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของมารดา เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ลักษณะครอบครัว อายุครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก วธิ กี ารคลอด ภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารก ระยะเวลาในการหยดุ งานหลังคลอดบุตร ระยะเวลาท่ี ตง้ั ใจในการเล้ยี งลูกดว้ ยนมแม่ 2. แบบสอบถามสัมพนั ธภาพระหว่างคสู่ มรส เป็นแบบสอบถามท่พี ัฒนาขน้ึ โดยสปาเนียร์ (Spanier, 1976) แปลเปน็ ไทยโดยวจั มัย สขุ วนวัฒน์ และดัดแปลงข้อคำถามเพื่อให้เหมาะกับบริบทของสังคมไทย ประกอบด้วยคำถามด้านบวก 22

22 ข้อ และข้อคำถามด้านลบ ๕ ข้อ แบบวัดเปน็ มาตรประมาณค่า Likert scale 5 ระดับ จาก1 หมายถึง ไม่ เป็นพ้องกันเลย จนถึง 5 หมายถึง เห็นพ้องกันมากที่สุด ในข้อคำถามที่มีความหมายด้านลบจะกลับ คะแนน ก่อนนำไปคำนวณ คะแนนรวมที่ได้จะอยู่ในช่วง 27 – 135 คะแนน คะแนนมากหมายถึง สมั พนั ธภาพระหวา่ งคสู่ มรสดี 3. แบบทดสอบความรูก้ ารเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ เป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นโดยสุวรรณา ชนะภัยและคณะ (2557) ลักษณะเป็นคำถาม ปลายปิดชนิดเลือกตอบ 2 ตัวเลือก คือ ถูกและผิด จำนวน 16 ข้อ โดยมีเกณฑ์ในการให้คะแนนคือ ตอบ ถูก (คะแนน = 1) ตอบผิด (คะแนน = 0) พิสัยของคะแนนอยู่ระหว่าง 0 - 16 คะแนน คะแนนรวมมาก แสดงวา่ มารดามีความรเู้ ก่ียวกบั การเล้ียงลกู ด้วยนมแมม่ าก 4. แบบสอบถามทศั นคติการเลยี้ งลกู ด้วยนมแม่ เป็นแบบสอบถามทีส่ รา้ งข้นึ โดย De La Mora และคณะ แปลเป็นภาษาไทยโดยสุวรรณา ชนะภัย และคณะ (2557) จำนวน 17 ข้อ ประกอบด้วยคำถามด้านบวก 8 ข้อ และข้อคำถามด้านลบ 9 ข้อ ลักษณะแบบวัดเป็นมาตรประมาณค่า Likert scale 5 ระดับ จาก1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จนถึง 5 หมายถึง เห็นด้วยอยา่ งยิ่ง ในข้อคำถามที่มีความหมายด้านลบจะกลับคะแนน ก่อนนำไปคำนวณ คะแนนรวมที่ไดจ้ ะอยู่ในช่วง 17 – 85 คะแนน คะแนนรวมมาก แสดงว่า มารดามที ัศนคติท่ีดีเก่ียวกับการ เลยี้ งลกู ด้วยนมแม่ 5. แบบสอบถามการรบั รสู้ มรรถนะในตนเองในการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ สร้างขึ้นโดย Dennis สร้างจากแนวคิดของ Bundura แปลเป็นภาษาไทยโดยสุวรรณา ชนะภัย และคณะ (2557) จำนวน 14 ข้อลักษณะแบบวัดเป็นมาตรประมาณค่า Likert scale 5 ระดับ จาก1 หมายถึง ไม่มั่นใจเลย จนถึง 5 หมายถึง มั่นใจมาก คะแนนรวมที่ได้จะอยู่ในช่วง 14 – 70 คะแนน คะแนนรวมมาก แสดงวา่ มารดามกี ารรบั รสู้ มรรถนะในตนเองในการเลีย้ งลกู ด้วยนมแม่สูง 6. แบบสอบถามการสนับสนนุ จากพยาบาลในการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่ สร้างข้ึนโดยสุวรรณา ชนะภัย และคณะ (2557) ลักษณะเป็นคำถามปลายปิดชนิด เลือกตอบ 2 ตัวเลือก คือ ใช่ และไม่ใช่ จำนวน 9 ข้อ โดยมีเกณฑ์ให้คะแนน คือ ตอบใช่ (คะแนน= 1) ตอบไม่ใช่ (คะแนน= 0) คะแนนรวมที่ได้จะอยู่ในช่วง 0 – 9 คะแนน คะแนนรวมมาก แสดงว่า มารดา ไดร้ บั การสนบั สนุนจากพยาบาลในการเล้ยี งลกู ด้วยนมแม่มาก 7. แบบสอบถามการสนับสนุนจากสามี สร้างข้ึนโดยสุวรรณา ชนะภัย และคณะ (2557) ลักษณะเป็นคำถามปลายปิดชนิด เลือกตอบ 2 ตัวเลือก คือ ใช่ และไม่ใช่ จำนวน 6 ข้อ โดยมีเกณฑ์ให้คะแนน คือ ตอบใช่ (คะแนน= 1) ตอบไม่ใช่ (คะแนน= 0) คะแนนรวมที่ได้จะอยู่ในช่วง 0 – 6 คะแนน คะแนนรวมมาก แสดงว่า มารดา ไดร้ ับการสนบั สนุนจากสามใี นการเล้ยี งลกู ด้วยนมแมม่ าก 8. แบบสมั ภาษณก์ ารให้อาหารทารก

23 สร้างขึ้นโดยสุวรรณา ชนะภัย และคณะ (2557) เพื่อติดตามและสรุปผลการให้อาหาร ทารก ลักษณะเป็นคำถามปลายเปิด จำนวน 2 ข้อ และคำถามปลายปิด 2 ข้อ ประกอบด้วย รายการ อาหารที่ลูกได้รับ ระยะเวลาที่เริ่มและหยุดอาหารชนิดนั้น และเหตุผลที่เริ่มและหยุดอาหารชนิดนั้น นำ ข้อมลู มาสรปุ วา่ ทารกไดร้ บั นมแม่อยา่ งเดยี วเมอ่ื 6 เดอื นหรือทารกได้รบั นมแมร่ ่วมกับอาหารอนื่ ระยะท่ี 2 และระยะท่ี 3 วจิ ัยและการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของสามีในการเลี้ยง ลกู ด้วยนมแมอ่ ยา่ งเดียวต่อประสิทธผิ ลของการเลย้ี งลูกด้วยนมแม่ ในมารดาท่ีมีบตุ รคนแรก เครื่องมือที่ใช้ ในการวจิ ัย ประกอบดว้ ยเครอื่ งมอื ในการดำเนนิ การวิจยั และเครื่องมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เครอ่ื งมือในการดำเนินการวจิ ยั ได้แก่ 1. โปรแกรมสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของสามีในการเลยี้ งลูกด้วยนมแมอ่ ยา่ งเดียว ประกอบดว้ ย 1.1 การให้ความรู้ และฝึกทักษะก่อนการคลอด 2 ครั้ง กับมารดาที่มีบุตรคนแรกและ สามี ในช่วงอายุครรภ์ 32-37 สปั ดาห์ 1.2 ตดิ ตามในระยะหลังคลอดโดยผวู้ ิจยั ส่งเสรมิ สามีให้มสี ่วนรว่ มในการชว่ ยเหลือมารดา ให้ทารกเข้าเตา้ ดูดนมแม่ และใหเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมในคลนิ กิ นมแม่ 1.3 วางแผนการจำหนา่ ยตามโปรแกรม 1.4 ตดิ ตามเยี่ยมทางโทรศัพท์เมอ่ื กลบั ไปบา้ นท่ี 1, 2, 6 สัปดาห์ และ 3, 6 เดือน เพ่ือให้ คำปรกึ ษาในปญั หาและอุปสรรคที่พบ และสอบถามเกย่ี วกับอาหารทท่ี ารกไดร้ บั 2. แผนการสอน ครั้งท่ี 1 ในช่วงอายุครรภ์ 32-34 สัปดาห์ ผู้วิจัยให้ความรู้เก่ียวกับประโยชน์ในการเล้ยี ง ลูกดว้ ยนมแม่ “มหัศจรรยน์ มแม่” ความรเู้ ร่อื ง 4 ดดู (ดูดเร็ว ดูดบอ่ ย ดดู ถูกวธิ ี ดูดเกลี้ยงเตา้ ) และบทบาท ในการมีสว่ นรว่ มของสามีเพ่อื สนับสนนุ การเลยี้ งลูกดว้ ยนมแม่ ครั้งที่ 2 ในช่วงอายุครรภ์ 35-37 สัปดาห์ ให้ความรู้และสาธิตวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ท่าอุ้มให้นมทารก การบีบ เก็บ ตุน น้ำนมแม่ และการมีส่วนร่วมของสามี และให้มารดาและสามีสาธิต ย้อนกลบั ครงั้ ท่ี 3 ระยะหลังคลอด ผวู้ จิ ยั สง่ เสริมสามีให้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือมารดาให้ทารก เข้าเต้าดูดนมแม่ และให้เข้าร่วมกิจกรรมในคลนิ ิกนมแม่ ทบทวนความรู้ในการประเมนิ ความเพียงพอของ นำ้ นม ประเมนิ ทกั ษะการให้นมทารก และการแก้ไขปัญหา โดยใหส้ ามมี ีสว่ นร่วมในทุกๆกจิ กรรม ครั้งที่ 4 ให้ความรู้ก่อนการจำหน่ายกลับบ้านตามสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (สมุดสี ชมพูของกระทรวงสาธารณสุข) ทบทวน การบีบเก็บตุนน้ำนม การให้อาหารทารกตามวัย โดยการมีส่วน รว่ มของสามี และเน้นย้ำการให้นมแมอ่ ย่างเดียวนาน 6 เดอื น 3. คู่มอื (เป็นค่มู ือท่ีใช้ประกอบการสอน) มี 3 ชุด คือ 1. คูม่ ือมหัศจรรย์นมแม่

24 2. คู่มอื การเล้ียงลูกดว้ ยนมแม่ ท่าอุม้ ใหน้ ม การบีบ เก็บ ตนุ น้ำนม 3. สมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพแม่และเดก็ (สมุดสชี มพูของกระทรวงสาธารณสุข) 4. you-tube การเลีย้ งลกู ด้วยนมแม่ เมื่อแมต่ อ้ งทำงาน การตรวจสอบความตรงของเคร่อื งมือ เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัยทั้งหมด ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยการทบทวนจากตำรา เอกสารวิชาการตา่ งๆ และประสบการณ์ในการทำงาน นำไปตรวจสอบความตรงตามเนือ้ หาและภาษาที่ใช้ โดยผู้เช่ียวชาญด้านสตู ิศาสตร์ จำนวน 3 ทา่ น และนำไปปรับเปลย่ี นตามขอ้ เสนอแนะจากผเู้ ช่ียวชาญก่อน นำไปใชจ้ ริง เครอื่ งมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1. แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของมารดา เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ลักษณะครอบครัว อายุครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก วิธีการคลอด ภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารก ระยะเวลาในการหยุดงานหลังคลอดบุตร ระยะเวลาที่ตั้งใจในการ เลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ 2. แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของสามี เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ลักษณะครอบครัว ระยะเวลาในการหยุดงานหลังคลอดบุตร ระยะเวลาที่ ต้งั ใจในการเลยี้ งลกู ด้วยนมแม่ 3. แบบสอบถามสมั พันธภาพระหว่างคสู่ มรส เป็นแบบสอบถามทพ่ี ัฒนาขึ้นโดยสปาเนียร์ (Spanier, 1976) แปลเปน็ ไทยโดยวัจมยั สุข วนวัฒน์ และดัดแปลงข้อคำถามเพื่อให้เหมาะกับบริบทของสังคมไทย ประกอบด้วยคำถามด้านบวก 22 ข้อ และข้อคำถามด้านลบ ๕ ข้อ แบบวัดเปน็ มาตรประมาณค่า Likert scale 5 ระดับ จาก1 หมายถึง ไม่ เป็นพ้องกันเลย จนถึง 5 หมายถึง เห็นพ้องกันมากที่สุด ในข้อคำถามที่มีความหมายด้านลบจะกลับ คะแนน ก่อนนำไปคำนวณ คะแนนรวมที่ได้จะอยู่ในช่วง 27 – 135 คะแนน คะแนนมากหมายถึง สมั พันธภาพระหวา่ งค่สู มรสดี 4. แบบทดสอบความร้กู ารเล้ยี งลูกดว้ ยนมแม่ เป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นโดยสุวรรณา ชนะภัยและคณะ (2557) ลักษณะเป็นคำถาม ปลายปิดชนิดเลือกตอบ 2 ตัวเลือก คือ ถูกและผิด จำนวน 16 ข้อ โดยมีเกณฑ์ในการให้คะแนนคือ ตอบ ถูก (คะแนน = 1) ตอบผิด (คะแนน = 0) พิสัยของคะแนนอยู่ระหว่าง 0 - 16 คะแนน คะแนนรวมมาก แสดงวา่ มารดามคี วามร้เู กี่ยวกบั การเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม่มาก

25 5. แบบสอบถามทศั นคตกิ ารเลี้ยงลกู ด้วยนมแม่ เป็นแบบสอบถามทีส่ รา้ งขึน้ โดย De La Mora และคณะ แปลเปน็ ภาษาไทยโดยสวุ รรณา ชนะภัย และคณะ (2557) จำนวน 17 ข้อ ประกอบด้วยคำถามด้านบวก 8 ข้อ และข้อคำถามด้านลบ 9 ข้อ ลักษณะแบบวัดเป็นมาตรประมาณค่า Likert scale 5 ระดับ จาก1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างย่ิง จนถึง 5 หมายถึง เห็นด้วยอยา่ งยิง่ ในข้อคำถามที่มีความหมายด้านลบจะกลบั คะแนน ก่อนนำไปคำนวณ คะแนนรวมท่ไี ดจ้ ะอยู่ในชว่ ง 17 – 85 คะแนน คะแนนรวมมาก แสดงวา่ มารดามีทศั นคติทีด่ ีเก่ียวกับการ เลยี้ งลูกด้วยนมแม่ 6. แบบสอบถามการรบั รู้สมรรถนะในตนเองในการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่ สร้างขึ้นโดย Dennis สร้างจากแนวคิดของ Bundura แปลเป็นภาษาไทยโดยสุวรรณา ชนะภัย และคณะ (2557) จำนวน 14 ข้อลักษณะแบบวัดเป็นมาตรประมาณค่า Likert scale 5 ระดับ จาก1 หมายถึง ไม่มั่นใจเลย จนถึง 5 หมายถึง มั่นใจมาก คะแนนรวมที่ได้จะอยู่ในช่วง 14 – 70 คะแนน คะแนนรวมมาก แสดงว่า มารดามกี ารรับร้สู มรรถนะในตนเองในการเลย้ี งลูกดว้ ยนมแมส่ ูง 7. แบบสอบถามการสนับสนุนจากสามี สร้างขึ้นโดยสุวรรณา ชนะภัย และคณะ (2557) ลักษณะเป็นคำถามปลายปิดชนิด เลือกตอบ 2 ตัวเลือก คือ ใช่ และไม่ใช่ จำนวน 6 ข้อ โดยมีเกณฑ์ให้คะแนน คือ ตอบใช่ (คะแนน= 1) ตอบไม่ใช่ (คะแนน= 0) คะแนนรวมที่ได้จะอยู่ในช่วง 0 – 6 คะแนน คะแนนรวมมาก แสดงว่า มารดา ได้รับการสนับสนุนจากสามใี นการเลยี้ งลูกดว้ ยนมแม่มาก 8. แบบสมั ภาษณก์ ารให้อาหารทารก สร้างข้ึนโดยสุวรรณา ชนะภัย และคณะ (2557) เพื่อติดตามและสรุปผลการให้อาหาร ทารก ลักษณะเป็นคำถามปลายเปิด จำนวน 2 ข้อ และคำถามปลายปิด 2 ข้อ ประกอบด้วย รายการ อาหารที่ลูกได้รับ ระยะเวลาที่เริ่มและหยุดอาหารชนิดนั้น และเหตุผลที่เริ่มและหยุดอาหารชนิดนั้น นำ ขอ้ มูลมาสรปุ ว่าทารกไดร้ ับนมแมอ่ ย่างเดียวเม่อื 6 เดือนหรือทารกไดร้ บั นมแมร่ ว่ มกบั อาหารอืน่ 9.10.5 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ระยะท่ี 1 ของการวจิ ยั เก็บรวบรวมขอ้ มูล จากแบบสอบถามขอ้ มูลทั่วไปของมารดา แบบทดสอบความรู้การเลย้ี งลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามทัศนคตกิ ารเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ แบบสอบถามการ รับรสู้ มรรถนะในตนเองในการเล้ยี งลูกดว้ ยนมแม่ แบบสอบถามการสนบั สนนุ จากพยาบาลในการเลี้ยงลูก ดว้ ยนมแม่ แบบสอบถามการสนับสนุนจากสามี และแบบสัมภาษณ์การใหอ้ าหารทารกท่ี 1, 2, 6 สัปดาห์ และ 3, 6 เดือน ระยะที่2 และระยะที่ 3 ของการวิจัย - เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนเข้าโปรแกรมจากแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของมารดา แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของบิดา แบบทดสอบความรู้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามทัศนคติการ

26 เลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะในตนเองในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และแบบสอบถาม สัมพันธภาพระหวา่ งคู่สมรส - เก็บรวบรวมข้อมูลหลังเข้าโปรแกรมก่อนการจำหน่ายกลับบ้าน จากแบบทดสอบ ความรู้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามทัศนคติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามการรับรู้ สมรรถนะในตนเองในการเล้ยี งลกู ด้วยนมแม่ และแบบสอบถามสมั พันธภาพระหวา่ งคู่สมรส - เก็บรวบรวมข้อมูลตดิ ตามทางโทรศพั ท์เม่ือกลับไปบา้ นที่ 1, 2, 6 สปั ดาห์ และ 3, 6 เดอื น จากแบบสมั ภาษณ์การใหอ้ าหารทารกที่ 1, 2, 6 สัปดาห์ และ 3, 6 เดือน เพ่อื สัมภาษณ์ และให้ คำปรึกษาในปญั หาและอุปสรรคทีพ่ บตามโปรแกรม 9.10.6 การวิเคราะหข์ ้อมลู ระยะที่ 1 การศกึ ษาสภาพการณ์การเลย้ี งลูกด้วยนมแม่ในมารดาที่มีบุตรคนแรกใน โรงพยาบาลชลบรุ ี จำนวน 300 คน วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยใช้สถติ คิ วามถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบน มาตรฐาน และสมุ่ ตวั อย่างมาจำนวน 30 คนเพื่อเป็นกลมุ่ ควบคุมสำหรับเปรยี บเทยี บกับกล่มุ ทดลองใน การทดสอบประสทิ ธิผลของโปรแกรม ระยะที่ 2-3 นำโปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียว ไปใช้ในกลุ่มตัวอย่างโดยศึกษานำร่องในระยะที่ 2 จำนวน 5 คู่ และนำผลการทดลองใช้ โปรแกรมมาปรับปรุงพัฒนาและศึกษากับกลุ่มทดลองจำนวน 30 คู่ ในระยะที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูลส่วน บคุ คลโดยใช้สถติ ิความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน วเิ คราะห์ข้อมลู ประสิทธผิ ลของการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ได้แก่ ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อัตราการ เล้ียงลกู ดว้ ยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือนและสัมพนั ธภาพระหว่างคู่สมรส เปรยี บเทียบระหว่างก่อนได้รับ โปรแกรมและภายหลังได้รับโปรแกรมด้วยสถิติ dependent t-test (Paired-sample t-test ) และ วิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมด้วยสถิติ independent t- test 9.11 ระยะเวลาการดำเนินการวิจยั ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพการณ์เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาที่มีบุตรคนแรกใน โรงพยาบาลชลบุรี เพื่อเป็นข้อมูลพืน้ ฐานสำหรบั การพัฒนาโปรแกรม (R1) จำนวน 300 ราย ในช่วงเดือน สิงหาคม 2563 – กันยายน 2563 และสุ่มตัวอย่างมาจำนวน 30 คนเพื่อเป็นกลุ่มควบคุมสำหรับ เปรียบเทียบกับกลุ่มทดลองในการทดสอบประสิทธิผลของโปรแกรม และติดตามหลังคลอด 6 เดือนถึง มีนาคม 2564 รวมใช้ระยะเวลา 8 เดอื น

27 ระยะที่ 2 จัดทำโปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว (D1) โดยนำข้อมูลในระยะที่ 1 มาร่วมประชุมกับผู้เกี่ยวข้องและจัดทำโปรแกรม ใช้ระยะเวลา 3 เดือน และทดลองใช้โปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว (R2) ท่ี พัฒนาข้นึ กับมารดาท่ีมบี ุตรคนแรกในระยะตั้งครรภ์ ท่อี ายคุ รรภ์ 32-37 สปั ดาห์ จำนวน 5 คู่ และติดตาม ในระยะหลังคลอดโดยผู้วิจัยส่งเสริมสามีให้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือมารดาให้ทารกเข้าเต้าดูดนมแม่ และใหเ้ ข้าร่วมกิจกรรมในคลินกิ นมแม่ มีสว่ นร่วมในกจิ กรรมวางแผนการจำหน่ายตามโปรแกรมและผู้วิจัย ติดตามทางโทรศัพท์เมื่อกลับไปบ้านที่ 1, 2, 6 สัปดาห์ และ 3, 6 เดือน เมื่อสิ้นสุดโปรแกรมสัมภาษณ์ ความคดิ เหน็ ตอ่ โปรแกรมเพื่อเป็นขอ้ มูลในการปรบั ปรุงพฒั นาโปรแกรม ใช้ระยะเวลา 10 เดือน ระยะท่ี 3 ปรับปรุงพฒั นาโปรแกรมส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของสามีในการเล้ียงลูกด้วยนมแม่อย่าง เดยี ว (D2) และทดลองใชโ้ ปรแกรมที่ปรบั ปรุงใหม่ ประเมินประสิทธิผลของโปรแกรม (R3) ในเร่ืองความรู้ ทศั นคติ การรับรสู้ มรรถนะแหง่ ตนในการเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ อัตราการเลยี้ งลูกดว้ ยนมแมอ่ ย่างเดียวนาน 6 เดือน และสมั พนั ธภาพระหว่างคสู่ มรส เป็นเวลา 12 เดอื น 9.12 สถานทีท่ จ่ี ะทำการวจิ ัย/เกบ็ ข้อมูล/ทดลอง - ระยะท่ี 1 ของการวิจัย สถานที่ศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แผนกสูติกรรมหลังคลอด โรงพยาบาลชลบุรี เก็บข้อมูลจากมารดาที่มีบุตรคนแรกทุกรายท่ีนอนพักในแผนกสูติกรรมหลงั คลอด เก็บ ข้อมูลก่อนการจำหน่ายกลับบ้าน และติดตามทางโทรศัพท์ เพื่อสัมภาษณ์เกี่ยวกับอาหารที่ทารกได้รับใน สปั ดาห์ 1, 2, 6 สปั ดาห์ และ 3, 6 เดือน - ระยะที่ 2 และ 3 ของการวิจัย สถานที่ศึกษาคือ แผนกฝากครรภ์ และแผนกสูติกรรมหลัง คลอด โรงพยาบาลชลบุรี เก็บข้อมูลจากมารดาที่มีบุตรคนแรกทมี่ าฝากครรภแ์ ละคลอดโรงพยาบาลชลบุรี เก็บข้อมูลก่อนได้รับโปรแกรมและก่อนการจำหน่ายกลับบ้าน และติดตามทางโทรศัพท์ เพื่อสัมภาษณ์ เกยี่ วกับอาหารทท่ี ารกได้รบั ในสัปดาห์ 1, 2, 6 สปั ดาห์ และ 3, 6 เดือน แผนการดำเนนิ การตลอดโครงการวิจยั ในระยะท่ี 1 มดี ังน้ี (เขยี นแบบ Gant Chart)

28 ช่อื วจิ ัยเรอ่ื ง ศกึ ษาสภาพการณ์การเล้ยี งลกู ดว้ ยนมแม่ ในมารดาที่มบี ุตรคนแรกทค่ี ลอดโรงพยาบาลชลบรุ ี (ศกึ ษาสภาพการณ์ในมารดาทม่ี บี ุตรคนแรกจำนวน 300 คน และส่มุ ตัวอย่างเป็นกลมุ่ ควบคมุ จำนวน 30 คน) โดย นวพร มามาก กสุ มุ ล แสนบุญมา เกศนิ ี ไชยโม วันเพ็ญ ถ่ถี ว้ น และณิชากร ช่นื อารมณ์ แผนดำเนนิ งานวิจยั ระยะท่ี 1 ในปีงบประมาณ......2563-2564.......... เดอื น เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. 1. ทบทวน วรรณกรรม และเอกสาร ทีเ่ ก่ยี วข้อง 2. โครงการ ร่างวจิ ยั 3. เสนอ โครงร่างวิจัย เพ่ือขอรับ งบประมาณ สนับสนนุ 4. สร้าง เครอื่ งมอื การวจิ ยั และ ตรวจสอบ คุณภาพ เครอ่ื งมอื 5. เกบ็ รวบรวม ข้อมลู เดอื น แผนดำเนินงานวิจัยระยะท่ี 1 ในปงี บประมาณ......2563-2564.......... เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. 6. วิเคราะห์ ขอ้ มลู 7.สรปุ ผลการวจิ ัย

29 8. จัดทำ รปู เลม่ 9. นำเสนอ เพื่อเผยแพร่ ผลงาน แผนการดำเนนิ การตลอดโครงการวิจัยในระยะที่ 2 มีดังนี้ (เขียนแบบ Gant Chart) ช่อื วจิ ัยเร่อื ง การพัฒนาโปรแกรมสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของสามีในการเล้ยี งลูกดว้ ยนมแมอ่ ยา่ งเดียว โดย นวพร มามาก กสุ มุ ล แสนบญุ มา เกศินี ไชยโม วันเพ็ญ ถถี่ ้วน และณิชากร ชน่ื อารมณ์ แผนดำเนนิ งานวจิ ัยระยะท่ี 2 ในปงี บประมาณ......2564-2565.......กลุ่มนำรอ่ ง... เดอื น มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. หมาย เหตุ 1.สรา้ ง เครอื่ งมือการ วิจัยและ ตรวจสอบ คุณภาพ เครือ่ งมือ (D1) 2. เก็บ รวบรวมข้อมลู 3. วเิ คราะห์ ข้อมูล 4. สรุป ผลการวจิ ยั และพฒั นา โปรแกรม แผนดำเนินงานวิจยั ระยะท่ี 3 ในปีงบประมาณ......2565-2566.......กลุ่มตวั อย่าง... เดอื น มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1. เก็บ รวบรวมข้อมลู 2. วิเคราะห์ ข้อมูล 3. สรุป ผลการวจิ ัย

30 4. จดั ทำ รปู เลม่ 5. นำเสนอ เพื่อเผยแพร่ ผลงาน 10. รายละเอยี ดงบประมาณท่เี สนอขอตามหมวดเงิน งบประมาณการวิจัยตามระเบียน หลักเกณฑ์ อัตรา วิธกี าร และเง่ือนไข การจา่ ยเงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษา เป็นค่าใช้จ่ายการวิจัยและผลิตผลงานทางวิชาการ จากมติคณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิจัย วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี เป็นคา่ ใช้จ่ายตอ่ ไปนี้ ระยะที่ 1 หมวดค่าตอบแทน - ค่าตอบแทนการแปลบทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ เปน็ เงนิ 500 บาท - คา่ ตอบแทนผชู้ ่วยเก็บขอ้ มลู จำนวน 300 ชุด ชดุ ละ 25 บาท เปน็ เงนิ 7,500 บาท - ค่าตอบแทนผู้ลงรหสั ข้อมลู จำนวน 100 ขอ้ x 0.50 x 300 ชุด เปน็ เงิน 15,000 บาท - คา่ ตอบแทนผ้ปู ระมวลผลและวเิ คราะห์ขอ้ มลู เป็นเงิน 8,000 บาท - คา่ ตอบแทนผู้บนั ทึกขอ้ มูลรายงานวจิ ยั (พิมพพ์ ร้อมแก้ไข) 120 หน้า x 25 เป็นเงนิ 3,000 บาท - คา่ ตอบแทนผู้บนั ทึกขอ้ มลู (พิมพ์พร้อมแกไ้ ขฉบบั ตีพมิ พ์)15 หน้าx25 เป็นเงิน 375 บาท วัสดุ อุปกรณ์ และค่าใชจ้ ่ายอน่ื - ค่าถ่ายเอกสารทบทวนวรรณกรรม จำนวน 500 หน้า x 0.50 เป็นเงนิ 250 บาท - คา่ ถา่ ยเอกสารรายงานวิจัยฉบบั สมบรู ณ์จำนวน 120หนา้ x0.50x10เล่ม เป็นเงิน 600 บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบสอบถาม จำนวน 10 หนา้ x 0.50 x 300 ชดุ เป็นเงนิ 1,500 บาท - ค่าเข้ารปู เล่มและทำปก เล่มละ120 บาท x 10 เลม่ เป็นเงนิ 1,200 บาท รวมระยะที่ 1 เปน็ เงิน 37,925 บาท (สามหมน่ื เจด็ พันเกา้ รอ้ ยยส่ี บิ หา้ บาทถ้วน) ระยะที่ 2 และระยะท่ี 3 หมวดค่าตอบแทน - ค่าตอบแทนผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือการวจิ ยั คนละ 500บาทx 3 คน เป็นเงิน 1,500 บาท

31 - คา่ ตอบแทนท่ีปรึกษา จำนวน 3 คน คนละ 2000 บาท เปน็ เงนิ 6,000 บาท - ค่าตอบแทนการแปลบทคัดย่อภาษาอังกฤษ เปน็ เงิน 500 บาท - คา่ ตอบแทนผูช้ ว่ ยเกบ็ ขอ้ มูล จำนวน 100 ชุด ชดุ ละ 25 บาท เป็นเงนิ 2,500 บาท - ค่าตอบแทนผลู้ งรหัสข้อมลู จำนวน 100 ขอ้ x 0.50 x 100 ชดุ เป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าใช้จา่ ยในการจดั การประชุมเพือ่ การจัดทำโปรแกรม และพฒั นาโปรแกรม • ค่าอาหารว่างและเครื่องดม่ื 35 บาท x 7 คน x 4 ม้ือ เป็นเงนิ 980 บาท • ค่าอาหารกลางวนั 80 บาท x 7 คน x 2 ม้ือ เป็นเงนิ 1,120 บาท - ค่าตอบแทนผู้ใหข้ ้อมลู 35 คนๆละ 200 บาท เป็นเงนิ 7,000 บาท - คา่ ตอบแทนผ้ปู ระมวลผลและวเิ คราะห์ขอ้ มลู เปน็ เงิน 8,000 บาท - ค่าตอบแทนผูบ้ นั ทกึ ข้อมลู รายงงานวจิ ัย(พิมพ์พร้อมแก้ไข)160หน้าx25บาท เปน็ เงิน 4,000 บาท - คา่ ตอบแทนผูบ้ นั ทกึ ขอ้ มลู บทความวิจัย (พิมพ์พร้อมแก้ไข)15หนา้ x25บาท เปน็ เงิน 375 บาท วัสดุ อุปกรณ์ และค่าใช้จา่ ยอนื่ - คา่ ถ่ายเอกสารทบทวนวรรณกรรม จำนวน 500 หนา้ x 0.50 บาท เปน็ เงนิ 250 บาท - ค่าถา่ ยเอกสารรายงานวิจัยฉบบั สมบรู ณ์ จำนวน 160 หน้า x 0.50 x 10เล่ม เปน็ เงิน 800 บาท - คา่ ถา่ ยเอกสารแบบสอบถามวิจัย จำนวน 10 หน้า x 0.50 บาท x 100 ชดุ เป็นเงิน 500 บาท - คา่ ถ่ายเอกสารคมู่ ือชดุ ที่1 จำนวน 30 หน้า x 35 เล่ม x 0.50 บาท เปน็ เงนิ 1,050 บาท - คา่ ถา่ ยเอกสารคมู่ ือชุดที่2 จำนวน 30 หนา้ x 35 เล่ม x 0.50 บาท เปน็ เงนิ 1,050 บาท - คา่ เข้ารูปเลม่ และทำปกรายงานวจิ ยั เล่มละ120 บาท x 10 เลม่ เป็นเงิน 1,200 บาท รวมระยะท่ี 2 และ 3 เป็นเงิน 41,825 บาท (สี่หมื่นหนึ่งพันแปดร้อยย่ีสบิ หา้ บาทถ้วน) รวมระยะท่ี 1, 2 และ 3 เป็นเงนิ ทัง้ ส้นิ 79,750 บาท (เจ็ดหมนื่ เกา้ พนั เจด็ ร้อยห้าสิบบาทถว้ น) ลงชอ่ื ……………………………………….ผู้จัดทำโครงการ (นางนวพร มามาก) หวั หนา้ โครงการวจิ ัย ลงชื่อ………………………………………ผเู้ สนอโครงการ (นางลัดดา เหลืองรตั นมาศ) รองผอู้ ำนวยการกลุ่มงานวจิ ยั และบริการวิชาการ

32 ลงช่อื ………………………………………ผู้อนมุ ตั โิ ครงการ (นางสาวศุกรใ์ จ เจรญิ สุข) ผู้อำนวยการวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี วนั ท่ี ………./………………………………../…............



33


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook