Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 129 นางสาวอรอุมา หัสรินทร์

129 นางสาวอรอุมา หัสรินทร์

Published by natthida_123_, 2021-10-24 07:04:33

Description: Sweet

Search

Read the Text Version

แบบบันทึกการเรียนรู้ รายวิชา เเนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย นางสาวอรอุมา หัสรินทร์ ๖๔๑๑๕๒๔๕๑๒๙ นักศึกษาสาขาวิชา ภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เสนอ อาจารย์พฤฒิชา นาคะผิว

คำนำ สมุดบันทึกการเรียนรู้นี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา เเนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย รหัสวิชา ๒๑๕๔๑๔๐๑ มีจุดประสงค์เพื่อบันทึกความรู้ในแต่ละสัปดาห์ ซึ่งสมุดบันทึกการเรียนรู้ เล่มนี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวรรณคดีไทย ความรู้สึกในการเรียน แนวทางการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ ปัญหาหรืออุปสรรคในการเรียน และการประเมิน ความตั้งใจของผู้เรียนในการเรียนแต่สัปดาห์ นางสาวอรอุมา หัสรินทร์ ผู้จัดทำ

สารบัญ สัปดาห์ที่ ๑ ปฐมนิเทศรายวิชา ๕ สัปดาห์ที่ ๒ เราเรียนวรรณคดีไปทำไม สัปดาห์ที่ ๓ วรรณคดีมาจากไหน ๗ สัปดาห์ที่ ๔ วันหยุดทางราชการ ๙ สัปดาห์ที่ ๕ ประวัติวรรณคดีไทย ๑๑ สัปดาห์ที่ ๖ การศึกษาขนบธรรมเนียมวรรณคดีไทย สัปดาห์ที่ ๗ ชายและหญิงที่ดีมีลักษณะอย่างไร ๑๒ สัปดาห์ที่ ๘ สอบกลางภาค ๑๔ สัปดาห์ที่ ๙ วรรณคดีไม่ใช่เรื่องไกลตัว ๑๖ สัปดาห์ที่ ๑๐ วรรณคดีที่ยังมีชีวิต ๑๘ สัปดาห์ที่ ๑๑ บทบาท คุณค่า และศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย ๑๙ สัปดาห์ที่ ๑๒ การอ่าน วิจักษ์ และแนวทางศึกษาวรรณคดี ๒๑ สัปดาห์ที่ ๑๓ นำเสนอความคืบหน้างานกลุ่ม ๒๓ สัปดาห์ที่ ๑๔ อาจารย์ให้ทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย ๒๕ สัปดาห์ที่ ๑๔ อาจารย์ให้ทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย ๒๗ สัปดาห์ที่ ๑๖ สร้างสรรค์ผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวรรณคดีไทย ๒๘ ๒๙ เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๑ ๓๐ เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๒ เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๔ ๓๒ เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๕ ๓๓ เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๖ ๓๔ เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๗ ๓๕ ๓๖ ๓๗

ประวัติส่ วนตัว ชื่อ - สกุล : นางสาวอรอุมา หัสรินทร์ ชื่อเล่น : ต้นอ้อ รหัสนักศึกษา : ๖๔ ๑๑๕๒๔๕๑๒๙ วัน/เดือน/ปีเกิด : ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕ สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไ ทย ที่อยู่ : บ้านหนองแวง ต.ไชยวาน อ.ไชยวาน จ.อุดรธานี ๔๑๒๙๐ จบจาก : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เบอร์โทร : ๐๖๕-๓๔๗-๖๒๐๖ งานอดิเรก : ฟังเพลง อ่านการ์ตูน ดูหนัง

สัปดาห์ที่ ๑ ปฐมนิเทศรายวิชา ทำความรู้จักอาจารย์ประจำวิชา ข้อตกลงในการเรียน อาจารย์พฤฒิชา นาคะผิว ๑ . การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ๒ . การเข้าเรียนตรงเวลา ๑๓ : ๐๐ อาจารย์ประจำรายวิชา ๓ . มารยาทในการเรียน ๔ . เกณฑ์การให้คะเเนน แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย ๕. แนวทางการลาป่วย /ลากิจ คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย -สาย ๒ ครั้งเท่ากับขาด ๑ ครั้ง มหาวิทยลัยราชภัฏสกลนคร -ลาป่วย/ลากิจ ได้ไม่เกิน ๓ ครั้ง จบการศึกษาจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สัปดาห์ที่ ๑ ปฐมนิเทศรายวิชา แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย เนื้อหาร ายวิชา สืบค้น วิเคราะห์ความรู้พื้นฐานทางวรรณคดี ความหมาย ลักษณะของวรรณคดีประเภทต่าง ๆ ศัพท์วรรณคดี และแนวทางหลักการวิเคราะห์ทางวรรณคดี จุดมุ่งหมายข องรายวิชา ๑. สสสาาามมมาาารรรถถถบววิิอเเคคกรรคาาวะะาหห์์มเเนชหืื่้ออมมหาโยายเแชงืล่คอะ วมจาโำมยแงรู้นววกรรรรปณณระคคเดดภีีกกทัับบขชศอีวางิตสวไตรดร้ร์ณแขคนดีงไตด่้าง ๆ ได้ ๒. ๓. ๔. สามารถนำความรู้ที่ได้จาการเรียนวรรณคดีไทยไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตประจำวัน ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ ได้รู้ถึงแนวทางในรายวิชาที่จะ อยากเก่งวรรณคดีไทย มีแรงบันดาลใจในการเรียน ได้เรียนในวิชาเรียนนี้ ต้องทำอย่างไรคะ ? นำความรู้และเเนวทางที่ และได้รู้จักท่านอาจารย์ที่เป็น อาจารย์บอก เหมือนแรงบันดาลใจในการเรียน มาใช้ในชีวิตประจำวัน ให้สำเร็จตามเป้าหมายเช่นเดียว กับท่านอาจารย์ ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ สัญญาณเน็ตไม่ดี เต็ม ๔ ให้ ๓ เพราะ ทำให้เรียนไม่ค่อยรู้เรื่อง ( เรียนออนไลน์ ) สัญญาณเน็ตไม่ดี

สัปดาห์ที่ ๒ เราเรียนวรรณคดีไปทำไม ความรู้วันนี้ ๑. กิจกรรมระดมสมอง ๒. ความสำคัญและองค์ประกอบของวรรณคดี ๓. ประเภทของวรรณคดีไทย การเรียน วรรณคดีไทยมีบทบาทในหมู่คนชั้นสูงเป็นสื่อในการชี้นำ วรรใณนอคดดีีตไทย + กำกับความคิดประชาชนให้อยู่ในทิศทางเดียวกัน ในอดีตชนชั้นนำของสังคมเป็นผู้มีโอกาสได้เล่าเรียนศึกษา เรียนวรรณคดีเพราะป็นแบบเรียน เรียนวรรณคดีเพราะเป็นตำราประพันศาสตร์ เราเรียนวรรณคดีไปทำไม ? เรียนเพราะเป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง การเรียน เรียนเพราะเป็นเนื้อหาหนึ่งในหลักสูตร วรรณคดีไทย เรียนเพื่อสร้างองค์ความรู้เเละสืบสาน ในปัจจุบัน เข้าใจสังคม + วัฒนธรรม เข้าใจภาษา เข้าใจ + เข้าถึงวรรณคดี

สัปดาห์ที่ ๒ เราเรียนวรรณคดีไปทำไม ความสำคัญของวรรณคดี วรรณคดี แตกต่างจาก วรรณกรรม เป็นเครื่องชูอารยธรรม หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี วรรณคดีและงานเขียนทุกชนิดที่สื่อ ภาษาดี มีศิลปะในการแต่งยอดเยี่ยม ความคิดและจินตนาการ เช่น นิทาน เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของธรรมชาติ ทั้งด้านการใช้คำและโวหาร ตำนาน นิยาย บทความ เป็นต้น สะท้อนแนวคิด สังคม วิถีชีวิต เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ช่วยให้รับรู้เรื่องราวในอดีต เมื่ออ่านแล้วสร้างความเข้าใจ และความประทับใจแก่ผู้อ่าน องค์ประกอบ เกณฑ์การจำแนก วรรณคดี ประเภทวรรณคดีไทย ๑. เนื้อหา ๑. จำแนกตามลักษณะการเขียน ๒. ภาษาที่ใช้ ๒. จำเเนกตามความสำคัญ ๓. จำแนกตา มเนื้อหา ๔. จำแนกต ามหลักฐานที่ได้มา ๓. รูปแแบบคำประพันธ์ ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ นำไปใช้ในการสอน รู้สึกสนุกกับกิจกรรม ทำไมประเทศอื่นไม่ ให้ความรู้นักเรียน แต่ไม่ค่อยดี แยกวรรณคดี ในอนาคต ในเรื่องความสะดวกกับ กับวรรณกรรมเหมือน อิเล็กทรอนิกส์ ไทย ? ในการทำกิจกรรม ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ อิเล็กทรอนิกส์ในการ ให้ ๒ เต็ม ๔ เพราะทำ ทำกิจกรรม กิจกรรมไม่สะดวก ไม่สะดวก

สัปดาห์ที่ ๓ วรรณคดีมาจากไหน ความรู้วันนี้ ๑. ปัจจัยที่มีผลต่อวรรณคดีไทย ๒. แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมสร้างบ้านความรู้ ๑ ๒ สังคม อิทธิพลตำนาน และวัฒนธรรม และนิทานพื้นบ้าน ที่มาของ ๓ วรรณคดีไทย ๔ อิทธิพลวรรณกรรม ต่างประเทศ (ตะวันออก + ตะวันตก) ผู้สรรค์สร้างวรรณคดี (แรงบันดาลใจกวี)

สัปดาห์ที่ ๓ วรรณคดีมาจากไหน สรุปองค์ความรู้ ๑. พุทธศาสนาและความเชื่ออันเนื่องด้วยศาสนามีอิทธิพลทำให้กวีไทยนิยมสร้างสรรค์วรรณคดีเพื่อ เป็นพุทธบูชา วัฒนธรรมอันดีงามของไทยทำให้กวีไทยภาคภูมิไทยจนนำไปแต่งเป็นวรรณคดีเศรษฐกิจ และการเมืองงมีผลกระทบต่อการศึกษาของไทย ทำให้มีอิทธิพลต่อรูปแบบและเนื้อหาของวรรณคดี ไทย โดยเฉพาะตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา ๒. วรรณกรรมพื้นบ้านมักมีเรื่องราวลึกซึ้งตรึงใจ หรือเป็นตำนานของการตั้งถิ่นฐานของคนไทย โบราณที่ดูน่าอัศจรรย์ใจ แต่ส่อเค้าความจริงอยู่ ทำให้กวีไทยติดใจจนนำเนื้อเรื่องมาแต่งขึ้นใหม่ ๓. อิทธิพลวรรณกรรมตะวันออกที่ปรากฏในวรรณคดีไทย ได้แก่ วรรณกรรมอินเดีย เปอร์เซีย ชวา จีน และมอญ มีข้อสังเกตว่าไทยนิยมนำเรื่องประเภทนิทานของวรรณคดีของชาติตะวันออก มาดัดแปลงเป็นวรรณคดีไทยมากที่สุด ๔. ไทยเริ่มรับอิทธิพลวรรณกรรมตะวันตกในรัชกาลที่ ๕ อันเป็นสมัยที่มีการปฏิรูปทางการเมือง และสังคมครั้งสำคัญ วรรณกรรมตะวันตกทำให้กวีไทยสร้างสรรค์งานร้อยแก้วมากขึ้น ทำให้วรรณคดีประเภทเรื่องสั้น นวนิยายและบทละครพูดขึ้น ๕. ผู้สร้างสรรค์วรรณคดีเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์วรรณคดีที่สุด กวีหรือ ผู้ประพันะ์นำประสบการณ์ที่ประทับใจของตนมานิพนธ์ขึ้นเป็นวรรณคดีที่ปรุงแต่งด้วยภาษา ภูมิหลังและลักษณะนิสัยของกวี ตลอดจนสังคมและวัฒนธรรมในยุคสมัยของกวี ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ รู้สึกสนุกกับกิจกรรมเพราะ กวีอ้างอิงลักษณะ นำความรู้และแนวทางการคิด ทำให้ได้กล้าคุย กล้าแสดง กลอนที่แต่งว่าคือ จากกวีไปเป็นแรงบันดาลใจใน ความคิดเห็นกับเพื่อนภายใต้ กลอนอะไร จากอะไร ชีวิตประจำวัน การเรียนออนไลน์ ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ สัญญาณอินเตอร์เน็ต ให้ ๓ เต็ม ๔ เพราะมี และไม่สะดวกใน เสียงรบกวนแทรก เทคโนโลยี บ่อย

สัปดาห์ที่ ๔ วันหยุดทางราชการ



สัปดาห์ที่ ๕ ประวัติวรรณคดีไทย วรรณคดีแต่ละยุคสมัย วรรณคดีสมัยสุโขทัย วรรณคดีสมัยกรุงธนบุรี ๑. ศิลาจารึกหลักที่ วรรณคดีสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ๑. รามเกียรติ์ ๒. สุภาษิตพระร่วง ๑. สามก๊กราชาธิราช ๒. ลิลิตเพชรมงกุฎ ๓. เตรภูมิกถา ๒. บทมโหรีเรื่องกากี ๓. โคลงยอพระเกียรติสมเด็จ ๔. นางนพมาศ ๓. สมบัติอมรินทร์คำกลอน ๔. ลิลิตพหุยาตราเพชรพวง พระเจ้ากรุงธนบุรี วรรณคดียุคกรุงศรีอยุธยา ๕. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ๔. อิเหนาคำฉันท์ ( ตอนกลาง ) ๖. นิราศภูเขาทอง ๕. กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ ๗. โลกนิติคำโคลง ๖. นิราศพระยามหานุภาพ ๑. โคลงนิราศหริภุญชัย (ฯลฯ) ๒. สมุทรโฆษคำฉันท์ ไปเมืองจีน ๓. โคลงภาษิต ๓ วรรณคดีไทยสมัยอยุธยา ๔. เพลงยาวพยากรณ์ ( ตอนปล าย ) วรรณคดีไทยสมัยอยุธยา ( ตอนต้น ) กรุงศรีอยุธยา ๑.โคลงชลอพระพุทธไสยาสน์ ๕. โคลงเฉลิมพระเกียรติ ๒.จินดามณีฉบับพระเจ้าบรมโกศ ๓.บทละครเรื่องอิเหนาใหญ่ ๑. ลิลิตโองการแช่งน้ำ พระเจ้าปราสาททอง ๔.บทละครเรื่องอิเหนาเล็ก ๒. มหาชาติคำหลวง ๖. เสือโคคำฉันท์ ๕.โคลงนิราศเจ้าอภัย ๓. ลิลิตพระลอ ๗. พระราชพงศาวดาร ๖.นันโทปนันทสูตรคำหลวง ๔. ลิลิตยวนพ่าย ๗.พระมาลัยคำหลวง ๕. กาพย์มหาชาติ กรุงเก่า ๘. จินดามณีของ (ฯลฯ) ความรู้สึก พระโหราธิบดี การนำไปประยุกต์ใช้ ๙. โคลงนิราศหริภุญชัย ๑๐. สมุทรโฆษคำฉันท์ ๑๑. โคลงภาษิต ๓ ๑๓. เสือโคคำฉันท์ (ฯลฯ) รู้สึกสนุกกับการเล่นเกม คำถาม ? นำความรู้วันนี้ไปใช้ใน การทำกิจกรรม วิชาเรียนต่าง ๆ ทำให้ผ่อนคลาย ทำไมวรรณคดี สนุกกับการเรียน ในสมัยสุโขทัย และนำไปใช้เรียนต่อยอด ถึงมีน้อยกว่า ในอนาคต ปัญหาอุปสรรค ปัญหาสัญญาณ ยุคอื่น ๆ ประเมินความตั้งใจ อินเตอร์เน็ตไม่ ให้ ๓ เต็ม ๔ เพราะ เสถียร เรียนนานทำให้ปวดตา

สัปดาห์ที่ ๖ การศึกษาขนบธรรมเนียมวรรณคดีไทย ความรู้วันนี้ ๑. ขนบวรรณคดีคืออะไร ? ๒. แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมระดมความคิด ๓. มอบหมายงานสัปดาห์ต่อไป คำว่า \" ขนบ \" หมายถึงอะไร ขนบ หมายถึง แบบอย่าง แบบแผน ระเบียบ ลักษณะจารีตนิยมทางวรรณคดีไทย แบบแผน คำประณาม ทาง พจน์ ฉันทลักษณ์ และการลงท้าย ตัวอย่าง จารีต นิยมในวรรรคดี บท ความเปรียบ แบบฉบับ พรรณนา ในเชิง ของตัวเอก ต่าง ๆ

สัปดาห์ที่ ๖ การศึกษาขนบธรรมเนียมวรรณคดีไทย ประโยชน์ของการศึกษาขนบการสร้างบทพรรณนาในวรรณคดีไทย เข้าใจลักษณะสำคัญของวรรณคดีไทย ( สีสันวรรณคดีไทย ) เข้าใจแนวคิดการสร้างสรรค์งานของกวีแต่ละยุคสมัย ( สืบทอด และสร้างสรรค์ ) แสดงให้เห็นอัจฉริยภาพทางภาษาของกวีไทย เป็นความรู้พื้นฐานสำคัญที่มีประโยชน์ต่อการวิจักษ์ วิจารณ์ วิจัยวรรณคดีและวรรรกรรมไทย ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ นำไปใช้ในการทำงาน รู้สึกสนุกกับการทำกิจกรรม วรรณศิลป์ที่ใช้ในการ กลุ่มที่ได้รับมอบหมาย เพราะเพื่อนทุกคนเริ่ม แต่งเป็นขนบหรือไม่ คุยกันมากขึ้น ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ สัญญาณอินเตอร์เน็ต ให้ ๓ เต็ม ๔ เพราะ ไม่เสถียรเพราะฝนตก ฝนตกเรียนไม่คอย รู้เรือง

สัปดาห์ที่ ๗ ชายและหญิงที่ดีมีลักษณะอย่างไร ความรู้วันนี้ ๑. ชายและหญิงที่ดีมีลักษณะอย่างไร ๒. คำเรียกผู้หญิง ๓. นำเสนองานกลุ่มที่ตนได้รับมอบหมาย มีความเป็นผู้นำ เป็นสุภาพบุรุษ มีความเป็นสุภาพสตรี ซื่อสัตย์ และให้เกียรติ อ่อนโยน ผู้หญิงและผู้อื่น ซื่อสัตย์เเละมีความเป็น แม่ศรีเรือน ปัจจุบัน ตัดสินจากอะไร ? อดีต จาก จาก สื่ออิเตอร์เน็ต ข่าว เนื่องจากในอดีต หนังสือ หนัง ละคร เป็นต้น ไม่มีสื่อก็ตัดสินจากค่านิยม จารีตเป็นส่วนมาก คำเรียกผู้หญิงในวรรคดีไทย สมัยอยุธยา คำเรียกผู้หญิงในวรรคดีไทยสมัยอยุธยามี ๑๙๗ คำ แบ่ง ๒ ปะเภทคือ คำเรียกที่มีความหมายนัยตรง มีทั้งหมด ๑๑ คำ และคำเรียกผู้หญิงที่มีความหมายแฝง มีทั้งหมด ๑๘๖ คำ ดังนั้นแสดง ให้เห็นว่ากวีในสมัยอยุธยานิยมใช้เรียกความหมายแฝงมากที่สุด

สัปดาห์ที่ ๗ ชายและหญิงที่ดีมีลักษณะอย่างไร ยกตัวอย่าง งามกลุ่มที่ดิฉันได้รับมอบหมาย พระเอกนอกขนบในวรรณคดีไทย พระอภัยมณี ประวัติ : พระอภัยมณี เป็นโอรสของท้าวสุทัศน์กษัตริย์แห่งกรุงรัตนา กับนางปทุมเกสร มีน้องชายชื่ อศรีสุวรรณ พระอภัยมณีไปเรียนวิชาเป่าปี่ จนเชี่ ยวชาญสามารถทำให้ผู้ที่ ได้ยินเสียงปี่ เคลิ้มหลับได้ ลักษณะนิสัย : พระอภัยมณีมีนิสัย เจ้าชู้ จึงมีภรรยาหลายคน ทำไมถึงเป็นพระเอกนอกขนบวรรณคดีไทย : เพราะพระอภัยมณีของท่านสุนทรภู่ เป็น พระเอกที่แหวกไปจากขนบของพระเอกทั้งหลายในยุคนั้น ด้วยว่าพระเอกอื่นๆใน วรรณคดีส่วนใหญ่ ล้วนไปเรียนศิ ลปศาสตร์หรือพวกรัฐศาสตร์ไว้ปกครองบ้านเมืองทั้ง นั้น แต่ “พ่ออภัยฯ” ของเรากลับไปเรียน “วิชาเป่าปี่ ” ดังนั้น“พระอภัยมณี” จึงถือได้ว่า เป็น “พระเอกนักดนตรีคนแรกของไทย” เป็น “พระเอกศิ ลปิน” ที่ท่านสุนทรภู่ปั้ น ไว้ ประดับวงการวรรณคดีไทยเป็นคนแรก และน่าจะเป็นคนเดียวด้วย เพราะวรรณคดีสมัย หลังๆก็ยังไม่ปรากฏว่ามีพระเอกศิ ลปินนักดนตรีคนใดอีก กล่าวได้ว่าจินตนาการและ แนวคิดในการสร้างพระเอกของท่านล้ำหน้า ก้าวไกลเกินยุคเมื่อ 200 กว่าปีที่ผ่านมา ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ รู้สึกตื่นเต้นที่ได้นำเสนอ ทำไมพระเอกหล่อ นำความรู้ไปใช้ในการเรียน และได้ความรู้ใหม่ ๆ ถึงต้องซ่อนรูป ต่อยอดในอนาคต กล้าคุยกับเพื่อนร่วม และในรายวิชาอื่น ๆ กลุ่มมากขึ้น อีกด้วย ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ สัญญาณอินเตอร์เน็ต ให้ ๓ เต็ม ๔ เพราะ ไม่เสถียรเพราะฝนตก ปวดตาเรียนนาน และหิว

สัปดาห์ที่ ๘ สอบกลางภาค

สัปดาห์ที่ ๙ วรรณคดีไม่ใช่เรื่องไกลตัว ความรู้วันนี้ ๑. ตัวอย่างรามเกียรติ์ไม่ใช่เรื่องไกลตัว ๒. แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมวรรณคดีไทยไม่ใช่เรื่องไกลตัว ( สุ่มสมาชิก ) ๒.๑ แต่ละกลุ่มช่วยกันหาข้อมูล ๒.๒ นำเสนอหัวข้อ ๓. นำเสนองานเกร็ดความรู้วรรณคดีไทย รามเกียรติ์ในวิถีไทย (อดีต) แสลำะนภวาษนา แขนศิงลตป่าะง ๆ คติชนวิทยา รามเกียรติ์ในวิถีไทย (ปัจจุบัน) ในปัจจุบันมีการนำเอาวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์มาประยุกต์ใช้ในสังคม ปัจจุบันหลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นไอเดียงานออกแบบของฝาก เช่น ที่ปิดตารามเกียรติ์ แก้วน้ำ เสื้อผ้า ฯลฯ และนอกจากนี้รามเกียรติ์ ยังปรากฏในที่อื่น ๆ ตามสถานที่ เช่น วัด ภาพจิตรกรรมฝาผนังตามวัด เป็นต้น

สัปดาห์ที่ ๙ วรรณคดีไม่ใช่เรื่องไกลตัว ตัวอย่างสิ่ งของที่ออกแบบลวดลายตามวรรณคดีไทย เรื่องรามเกียรติ์ สรุป ทำไมรามเกียรติ์ยังเป็นมรดกวรรณคดีที่ยังมีชีวติ มรดกวรรณคดี = ตัวเรื่อง บทบาท รูปแบบศิ ลปะที่ถ่ายทอดวรรณคดี เรื่ องนี้ มาตั้ งแต่โบราณและได้รับการสื บทอดต่อยอดมาจนถึงปัจจุบัน มรดกวรรณคดีที่มีชีวิต = เป็นวรรณคดีที่ตกทอดมาแล้วเป็นที่สนใจของผู้คน จนมีการนำมาดัดแปลงนำเสนอในลักษณะต่าง ๆ ที่ปรากฏ ดังกล่าวคือเรื่องรามเกียรติ์มีการถูกนำมาปรับใช้ ในปัจจุบันหลายด้าน จึงทำให้เรื่องนี้เป็นวรรณคดีที่มีชีวิต ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ ยักษ์แต่ละสีต่าง นำแนวทางความรู้ไป รู้สึกสนุกอยู่ในระดับหนึ่ง กันอย่างไร ? แต่ก็มีความเหนื่อเพราะ คิดออกแบบ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ เรียนออนไลน์ ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ เรียนนานทำให้ปวดตา ให้ ๓ เต็ม ๔ เพราะ เพราะเรียน เหนื่อย ออนไลน์ และปวดตามาก

สัปดาห์ที่ ๑๐ วรรณคดีที่ยังมีชีวิต ความรู้วันนี้ นำเสนงานที่แต่ละกลุ่มได้รับมอบหมาย กลุ่มที่ ๑ เรื่อง ขุนช้างขุนแผนในวรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๒ เรื่อง สัตว์ในป่าหิมพานต์ กลุ่มที่ ๓ เรื่อง The Mask วรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๔ เรื่องวรรณคดีไทยกับมิสยูนิเวิร์ส กลุ่มที่ ๕ เรื่อง พระอภัยมณีในวรรณคดีไทย ๑. ขุนช้างขุนแผนในวรรณคดีไทย ๒. สัตว์ในป่าหิมพานต์ กลุ่มที่ ๑ ได้นำเสนอวรรณคดีที่มีชีวิตในวรรณคดี กลุ่มที่ ๒ ได้นำเสนอวรรณคดีที่มีชีวิตในวรรณคดี เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ซึ่งเนื้อหางานก็มีการยกตัวอย่าง เรื่อง สัตว์ในป่าหิมพานต์ โดยในปัจจุบันสัตว์ในป่าหิมพานต์ ผลงานทีี่มีการนำเรื่องของขุนช้างขุนแผนมาปรับใช้ให้ นั้นมีความเชื่อมโยงของคนไทยในปัจจุบันนั้นอยู่หลายด้าน ทันสมัยตามในปัจจุบันแบ่งออกเป็น ๕ ด้าน ดังนี้ จึงทำให้ได้รู้ว่าสิ่งเหล่านี้ยังมีชีวิตอยู่กับวิถีคนไทยในปัจจุบัน ๑. ศิลปะร่วมสมัย เช่น การแต่งกาย จิตรกรรมฝาผนัง โดยยกตัวอย่างในปัจจุบันแบ่งออกป็น ๓ ด้าน ดังนี้ ๒. การปกครอง เช่น ข่าวการปกครองเมืองของไทย . ๑. ยภกาพตัยวอนตย่รา์/งลเะรื่คอรง ครุฑม หายุทธ หิมพานต์ ๓. หน่วยงานราชการ เช่น จัดนิทรรศการในห้องสมุด. ๒. ศิลปะแขนงต่าง ๆ ๔. สื่อสมัยใหม่ เช่น ละคร เพลง การ์ตูน ภาพยนตร์ ๓. ยหกนังตัสวืออกย่าารง์ตูเนช่น เจชิ่ตนรกหรนมังมสือปหริะมตพิมาานกต์รผรจมญเปภ็ันยต้น ๕. สำนวนสุภาษิต เช่น นางวันทองสองใจ เป็นต้น ๓. The Mask วรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๓ ได้นำเสนอวรรณคดีที่มีชีวิตในวรรณคดี เรื่อง The Mask วรรณคดีไทย ในปัจจุบันรายการโทรทัศน์มีการ จัดรายการ The Mask วรรณคดีไทย โดยแต่ละหน้ากากมีการแต่งตัว ในธีมของวรรณคดีไทย ซึ่งเป็นการผสมผสานทำให้เป็นการอนุรักษ์ เเละยกระดับวรรณคดีไทยให้ยังมีชีวิตอยู่่คู่กับวิถีไทยในปัจจุบัน โดยมีทั้งหมด ๒๔ กลุ่มนี้ยกตัวอย่างมา ๖ หน้ากาก ๑. หน้ากากมัจฉานุ ๒. หน้ากากชาละวัน ๕๓.. หหนน้้าากกาากกโมส้านนินล้อมัยงเกรืรอนงาม ๔๖.. หหนน้้าากกาากกเนวาตงาเมลขลา

สัปดาห์ที่ ๑๐ วรรณคดีที่ยังมีชีวิต ๔. วรรณคดีไทยกับมิสยูนิเวิร์ส ๕. พระอภัยในวรรณคดี กลุ่มที่ ๔ ได้นำเสนอวรรณคดีที่มีชีวิตในวรรณคดี กลุ่มที่ ๔ ได้นำเสนอวรรณคดีที่มีชีวิตในวรรณคดี เรื่อง วรรณคดีไทยกับมิสยูนิเวิร์ส ปัจจุบันประกวดมิสยูนิเวิร์ส เรื่อง พระอภัยมณ๊ในวิถีไทย กลุ่มนี้ได้นำเสนอ โดยมิสยูนิเวิร์สของประเทศไทย แสดงให้เห็นถึงการส่งเสริม ว่าในปัจจุบันมีการนำแนวคิดจากวรรณคดีในเรื่อง และอนุรักษณ์ความเป็นไทย โดยให้สาวงามแต่ละท่านแต่ง พระอภัยมณีหลากหลายด้าน และมีการยกตัวอย่างมาดังนี้ ชุดประจำชาติให้เกี่ยวกับวรรณคดีไทยเพื่อจะยกระดับ ๑. การแต่งตัว เช่น แต่งตัวตัวละครในวันสุนทรภู่ ของวรรณคดีไทยให้มีชื่อเสียงในต่างประเทศและที่สำคัญ ๒. เพลง เช่น เพลงผีเสื้อสมุทร ยังมีการจัดฉากพื้นหลังของเวทีให้เป็นธีมเกี่ยวกับ ๓. หนัง/ภาพยนต์ เช่น เรื่องสุดสาคร เรื่องผีเสื้อสมุทร วรรณคดีไทยทั้งหมด ยกตัวอย่างทั้งหมดมา ๕ ชุด ๔. การ์ตูนอนิเมชั่น/หนังสือการ์ตูน ๑. อสุรี ศรีสมุทร ๒. ไตรรงค์อนงค์นาถสุพรรณมัจฉา ๓. รจนานารี ๔. ลำหัดชมไพร ๕. ออกรบ ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ นำความรู้ที่ได้ไปใช้ รู้สึกสนุกเพราะได้เห็น มีวรรณคดีที่สูญ และศึกษาต่อยอด และตื่นตาตื่ใจกับ หายไปตามกาล ร่วมกับวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ผลงานของเพื่อน เวลาหรือไม่ ? แต่ละกลุ่ม ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ มีเพียงเล็กน้อยคือได้ ให้ ๔ เต็ม ๔ เพราะ ยินเสียงเพื่อน เรียนสนุก นำเนอไม่ชัด เเละน่าไม่เบื่อ

สัปดาห์ที่ ๑๑ บทบาท คุณค่า และศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย ความรู้วันนี้ ๑. บทบาทของวรรณคดีไทย ๒. คุณค่าของวรรณคดีไทย ๓. ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย ๔. นำเสนอเกร็ดความรู้วรรณคดีไทย ( กลุ่ม ๕ ) ๑. เป็นเครื่อง ๒. ใช้ประกอบ บันเทิงใจ การแสดง ๕. วรรณคดี บทบาทของ เป็นส่วน วรรณคดีไทย หนึ่งของพิธี ๓. วรรณคดี ต่าง ๆ มีไว้สั่งสอน ๔. วรรณคดี มีไว้ส่งสาร คุณค่าของวรรณคดีไทย ๑. วรรณคดีไทยช่วยนำเสนอภาพสังคมไทยบางแง่มุม ๒. วรรณคดีช่วยยกระดับจิตใจของผู้อ่าน ( ความเชื่อเรื่องความดี ความเชื่อเรื่องกรรม ) ๓. วรรณคดีไทยแสดงให้เห็นภูมิปัญญาทางภาษาและวัฒนธรรมของคนไทย

สัปดาห์ที่ ๑๑ บทบาท คุณค่า และศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย ๑. อุปมา ๒. อุปลักษณ์ การใช้ภาพพจน์ ๓. บุคคลวัต การเล่นเสียง ๔. คำเลียนเสียงธรรมชาติ ๑. เล่นเสียงพยัญชนะ การเล่นคำ ๒. เล่นเสียงสระ ๓. เล่นเสียงวรรณยุกต์ ๑. การเล่นคำเชิงถาม ๒. การเล่นคำซ้ำ ๓. การเล่นคำพ้อง ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ บทบาทของวรรณ นำความรู้ไปใช้ศึกษา มีความสนุกและมี คดีขึ้นอยู่กับอะไร ? เพิ่มเติมต่อไปในวัน ความเหนื่อยนิดหน่อย ข้างหน้า เพราะเรียนนาน ทำให้เหนื่อยสายตา ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ ฝนตกแรงทำให้สัญญาณ ให้ ๓ เต็ม ๔ เพราะ เน็ตขาดหายเรียนไม่ทัน เรียนนานเลยทำให้ เพื่อนบางช่วง เหนื่อยสายตา นิดหน่อย

สัปดาห์ที่ ๑๒ การอ่าน วิจักษ์ และแนวทางศึกษาวรรณคดี ความรู้วันนี้ ๑. เล่นเกมทดสอบความรู้เรื่องภาพพจน์ ๒. การอ่านวรรณคดีไทย ๓. การวิจักษ์วรรณคดีไทย ๔. แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย ๕. นำเสนอเกร็ดความรู้วรรณคดีไทย การอ่านวรรณค ดี ๑. อ่านเพื่อความเพลิดเพลินอารมณ์ ๒. เพราะชอบที่เป็นเรื่องถูกกับนิสัยและชีวิตของตน เราอ่านวรรณคดีไปทำไม ? ๓. เพราะชอบที่เป็นเรื่องที่แปลกและแตกต่างที่ตนเคยเจอ ๔. อ่านเพราะเพ็งเล็งข้อเท็จจริงเหมือนตำรา ๕. อ่านเพื่อเพิ่มพูมประสบการณ์ ๖.เพื่อรับรสความงามของบทประพันธ์ การวิจักษ์วรรณคดี การวิจักษ์วรรณคดีหมายความว่าอย่างไร ? วิจักษ์ = แปลตามรูปศัพท์ได้ว่า การเห็นหรือการมองเห็น = ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของศิลปกรรมและวรรณกรรม ความนิยม ความซาบซึ้ง เช่น วรรณคดีวิจักษ์ ( appreciation ) วิจักษ์ = ความเข้าใจ + ความตระหนักในคุณค่า ( เข้าถึง ) วิธ๊เข้าใจและเข้าถึงวรรณคดี ๑. อ่านอย่าง ๒. ศึกษาข้อมูล ๓. พิจารณาประเภท ละเอียด พื้นฐาน เนื้อหา + จุดมุ่งหมาย ๗. พิจารณากลวิธี ๔. พิจารณาเนื้อหา ๕. พิจารณาองค์ประกอบ ๖. วินิจสาร ในภาพรวม ของวรรณคดีตาม ( ตีความ ) ประเภทนั้น

สัปดาห์ที่ ๑๒ การอ่าน วิจักษ์ และแนวทางศึกษาวรรณคดี การศึกเชษิงาปวรระรวณัตคิ ดีไทย ศึกษาการก่อกำหนดของวรรณคดี ศึกษาเหตุการณ์ที่มีอิทธิพล ต่อวรรณคดี ศึกษาผู้แต่งวรรณคดี ศึกษาประวัติวรรณคดีและ การชำระวรรณคดี การศึกษาวรรณคดีไทยเชิงประวัติ = การศึกษาวรรณคดีโดยใช้เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องมาเป็นเครื่องมือ หรือที่เรียกว่า การศึกษาประวัติวรรณคดี การศึ กษาวรรณคดีไทยเชิ งวิเคราะห์เนื้ อหาและวรรณศิ ลป์ ๑. วิเคราะห์เนื้อหาและวรรณศิลป์ของวรรณคดีไทยเฉพาะเรื่อง ๒. การวิเคราะห์เนื้อหาและวรรณศิลป์ในงานของนักเขียนฌฉพาะบุคคล ๓. การวิเคราะห์เนื้อหาและวรรรศิลป์ในเฉพาะประเภท ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ ขั้นตอนการวิจักษ์ รู้สึกสนุกและสบาย นำความรู้ไปใช้ศึกษา เพราะใช้เวลาเรียน และวิจารณ์ เพิ่มเติมในวิชาอื่น ๆ ต่างกันอย่างไร ไม่นานเท่าไหร่ ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ สัญญาณอินเตอร์เน็ต ให้ ๔ เต็ม ๔ เพราะ ไม่ค่อยเสถียร เรียนสนุกใช้เวลา ไม่นาน

สัปดาห์ที่ ๑๓ นำเสนอความคืบหน้างานกลุ่ม เพื่ไอด้นทำๆผลในงกาลนุ่ทมี่ไดทุ้รกับคแนรเงห็บนันพด้อางลตใ้จอจงากักนวว่รารต้ณอคงกดีาโรดทยำผเ่รืา่อนงกนีร้ ะคบือวนกกาารรทคำิดเพแลลงะถเาพมลง ทุกข์ระทมปมความรัก โดยเนื้อหาเพลง มีเนื้อหาที่นำวรรณคดีเรื่อง มัทนะพาธา มาแต่งเป็นเพลผ่งานซึ่โงดในยเตนัืว้อลเพะคลรงเมอีกกาใรนนเรำื่อเสงนจอะเเลรื่่อาถงึงราเกวี่ยคววกาัมบทคุกวาข์มที่รเักกิดจากความรัก ของนางมัทนา พร้อมมีคติสอนใจเกี่ยวกับความรักในเพลง คำแนะนำ ได้รับคำแนะนำเพิ่มเติมจากท่านอาจารย์ คือ การตรวจสอบเนื้อเพลงว่ามีคำที่พิมพ์ ผิดหรือไม่ และหาทำนองใส่ เพลงที่อื่นก็ได้แต่ต้องใส่ อ้างอิง ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ นำความรู้ที่ท่านอาจารย์ ได้รับความรู้เพิ่มเติมจาก ---- อาจารย์ไปปรับงาน แนะนำไปปรับงาน ให้ดีขึ้น ให้สมบูรณ์ ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ ---- ให้ ๔ เต็ม ๔ เพราะ ได้คำติชมไปปรับแก้งาน ใช้เวลาเรียนไม่นาน

สัปดาห์ที่ ๑๔ อาจารย์ให้ทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย

สัปดาห์ที่ ๑๕ อาจารย์ให้ทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย

สัปดาห์ที่ ๑๖ สร้างสรรค์ผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๑ ทำเพลง เพลงนางสิบสอง กลุ่มที่ ๑ ได้ทำผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวรรณคดี (ทำนอคืงอเพกลางรรทักำตเิพดลไซงเรในน)ชื่อโดเพยลเนืง้อเพหลาเงพนลางงสิมบีเสนื้ออหงาที่นำ วรรณคดีเรื่อง นางสิบสอง โดยเล่าเรื่องราวของนางสิบสอง ถ่ายทอดออกมาเป็นบทเพลงโดยใส่ทำนองเพลง รักติดไซเรน กลุ่มที่ ๒ พระเอกในวรรณคดีมาเกิดใหม่เป็นโอ้ปป้าเกาหลี เรกื่อลุ่งมทเีม่ื่อ๑พไดร้ะทเำอผกลในงาวนรทรี่ณได้ครัดบีมแราเงกบิัดนใดหามล่เใป็จนจโอา้กปวป้รารเณกาคหดลีี โดยเนื้อหางาน มีการบอกลักษณะของพระเอกในวรรณคดีมาเปรียบ ดเ้ทวียยบลักกับษพณระะนเิอสักยเหกราือหอลีะหไรรือที่โคอ้ลป้าปย้ากัเนช่รนะหพว่รงะพอรภะัยเอมกณีในกัวบรยูรจณอคงดี และพระเอกเกาหลีในปัจจุบัน กลุ่มที่ ๓ ROV ในดินแดนหิมพานต์ กลุ่มที่ ๓ ได้ทำผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวรรณคดี พรเระื่อเองกRในOวVรรใณนดคินดีแที่ดเปน็นหิตมัวพลานะคต์รใโดนเยกเมนื้อRหOาผVลวง่าามนีพกรลุ่ะมเอนี้กบใอนวกรถึรงณว่คา ดี ตัวละครไหนบ้างที่มีสิ่งของวิเศษ มีพลังวิเศษ และมีสกิลวิเศษต่าง ๆ ยกตัวอยอ่ีากงมเาช่กนมพายระที่สกังลุข่์มสนีุ้ไดด้สยากคตรัวเอป็ยน่าต้งนมาแนลำะเสยังนมอีตัวละคร

สัปดาห์ที่ ๑๖ สร้างสรรค์ผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวรรณคดีไทย กลุ่มที่ ๔ ทำเพลง เพลงทุกข์ระทมปมความรัก คือกกลุา่มรทที่ำเ๑พไลด้งทำเพผลลงงทาุนกทขี์่รไดะ้ทรับมแปรมงคบัวนาดมารลักใจโจดายกเนวื้อรรหณาเคพดลี ง มี เนื้อหาที่นำวรรณคดีเรื่อง มัทนะพาธา มาแต่งเป็นเพลง ซึ่งในเนื้อ เพลงมีกาตรันวำลเสะคนรอเอเรืก่อใงนรเารื่วอคงวจาะมเลทุ่ากถขึ์งทีเ่กเีก่ยิดวจกัาบกคคววาามมรรัักก ผ่านโดย ของนางมัทนา พร้อมมีคติสอนใจเกี่ยวกับความรักในเพลง กลุ่มที่ ๕ make up แก้วหน้าม้า & มณีรัตนา กลุ่มที่ ๕ ได้ทำผลงานที่ได้รับแรงบันดาลใจจากวรรณคดี มีเเนรืื้่อองหาmที่aนkำeวรuรpณแคกด้ีวเรหื่อน้งาแม้กา้ว&หน้มาณม้ีารัตมนาานำโเดสยนเอนื้อโดหยานผำลเพงื่าอนน ในกลุ่มมาเป็นแบบของนางแก้วหน้าม้า ซึ่งได้มีการแต่งหน้าในรูป ว่แาบนบางขมอณงีนรัาตงนแากแ้วลหะนน้าามง้าแแก้ลวะหนน้าางมม้าณมีีครัตวนามาแพตรก้อต่มาเงลก่ัานเรอื่อย่งารงาไวร ความรู้สึก คำถาม ? การนำไปประยุกต์ใช้ รู้สึกสนุกกับการเรียนและ ------------ จะนำความรู้ที่ท่านอาจารย์ อาจาร์ใจดีน่ารักรู้สึกขอบคุณ มอบให้ไปใช้ในวิชาชีพ ท่านอาจารย์ที่ได้มอบความรู้ ของตนในวันข้างหน้า ค่ะ และความรักให้กับ นักศึกษาทุกคนค่ะ ปัญหาอุปสรรค ประเมินความตั้งใจ ------------ ให้ ๔ เต็ม ๔ เพราะ เรียนสนุกและท่าน อาจารย์น่ารักใจดี ค่ะ

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย ๑ เกร็ดความรู้วรรณคดีไทยกลุ่มที่ ๑ เรื่อง ลักษณะนิสัยนางในวรรณคดี โดยกลุ่มที่ ๑ ได้มีการยกตัวอย่างนางในวรรณคดีมาทั้งหมด ๕ นาง แล้วบอกว่าลักษณะนิสัยของนางที่ยกตัวอย่างมานั้นมีลักษณะนิสัยเป็นอย่างไร ดั้งนั้น จะเป็นข้อมูลความรู้เพิ่มเติมให้เพื่อน ๆ ได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมมากขึ้น

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย ๒ เกร็ดความรู้วรรณคดีไทยของกลุ่มที่ ๒ โดยนำเสนอเนื้อหาข้อมูลที่ว่าที่ เราเคยเรียนวรรณคดีไทยหลาย ๆ เรื่องมาตั้งแต่ประถมศึกษานั้น เรื่องไหนบ้างที่ได้รับการ ยกย่องให้เป็นยอดของวรรณคดีไทยบ้าง โดยมีเนื้อหาข้อมูลเรื่อยงยอดของวรรณคดี ดังต่อไปนี้

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย ๓ เกร็ดความรู้วรรณคดีไทยของกลุ่มที่ ๓ โดยนำเสนอในเรื่องของนำเกร็ดความรู้ วรรณคดีไทยในหัวข้อเรื่อง วรรคทองในวรรณคดีไทย มาให้เพื่อน ๆ รับชมเพื่อนำเสนอ ให้เพื่อน ๆ ได้รู้ถึงว่าวรรคทองนี้อยู่ในวรรณคดีเรื่องใด ผู้แต่งคือใคร และใช้ลักษณะคำประพันธ์อะไรในการแต่ง

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย ๔ เกร็ดความรู้กลุ่มที่ ๔ โดยได้นำเสนอเกร็ดความรู้ในท้องเรื่องนางใน วรรณคดีผู้ที่มีชะตาอาภัพ มาให้เพื่อน ๆ ได้ศึกษาเป็นความรู้เพิ่มเติม ว่ามีนางในวรรณคดีหญิงใดที่มีโชคชะตาอาภัพรักที่น่าสงสาร และน่าเวทนา

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย ๕ เกร็ดความรู้ในวรรณคดีไทยของกลุ่มที่ ๕ ได้นำเสนอเกร็ดความรู้ เรื่องสัตว์ในป่าหิมพานต์ ที่ปรากฏอยู่ในตำนานวรรณคดีไทยหลาย ๆ เรื่อง มีสัตว์หิมพานต์อยู่มากมายนา ๆ ชนิด โดยได้มีการทำการคัดเลือกมา ๕ ตัว ให้เพื่อน ๆ ได้อ่านและได้ทำความรู้จัก มีสัตว์ที่ยกตัวอย่างมา มีดังต่อไปนี้ ๑. ช้างเอรวัณ ๒. วารีกุญชร ๓. กินรี ๔. อรหัน ๕. กิเลน

เกร็ดความรู้วรรณคดีไทย ๖ เกร็ดความรู้ในวรรณคดีไทยของกลุ่มที่ ๖ โดยนำเสนอเกร็ดความรู้เรื่อง เปิด Timeline การเป่าปี่ในเรื่องพระอภัยมณี ซึ่งเป็นเกร็ดความรู้เล็ก ๆ น้อย ๆ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการประกอบการสอนในอนาคตได้อย่างแน่นอน โดยมีเนื้อหาข้อมูลดังนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook