Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Geological phenomena 02

Geological phenomena 02

Published by aompiyawun, 2018-04-17 07:27:03

Description: Geological phenomena 02

Search

Read the Text Version

รายงานเรื่องน้ีเป็นส่วนหนึ่งของวิชา 4143501 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ รายงานน้ีจัดทาข้ึนเพ่ือเป็นประโยชน์ให้นักเรียนที่สนใจเก่ียวกับเรื่องปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาได้นาไปศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเพ่ิมเติมต่อไปได้รายงานนี้ประกอบไปด้วย แผ่นดินไหว สึนามิ จุดกาเนิดคล่ืนสึนามิ ภูเขาไฟระเบิด แมกมา แหลง่ กาเนิดของแมกมา ประเภทของภเู ขาไฟ การกาเนดิ หนิ อัคนีหากข้าพเจ้าทาผดิ พลาดประการใดกข็ ออภยั มา ณ ท่นี ี้ คณะผ้จู ัดทา วันท่ี 16 สิงหาคม 2561

เร่อื ง หนา้แผ่นดินไหว (Earthquake) 5 8คลื่นสึนามิ (Tsunami) 9จุดกาเนิดคลนื่ สนึ ามิ 10ภูเขาไฟระเบิด 11แมกมา 12แหลง่ กาเนิดของแมกมา 13ประเภทของภูเขาไฟ 14การกาเนิดหินอคั นี 15คาถาม 16แผนผังความคดิ

1. เพอ่ื ให้ผู้เรียนมีความร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา2. เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถบอกแหล่งกาเนิดและสาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์ทางธรณวี ิทยาได้3. เพื่อให้ผ้เู รียนนาความร้ทู ไ่ี ด้รับไปเผยแพร่แกบ่ คุ คลอ่นื ได้

แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซ่ึงเกี่ยวเนื่องกับกระบวนธรณีแปรสัณฐาน (Plate Tectionics) ซึ่งเกิดข้ึนเม่ือหินเปลือกโลกเคล่ือนท่ีหรือสั่นสะเทือนและคายพลังงานออกมา เมื่อแผ่นธรณีกระทบกัน แรงกดดันหรือแรงเสียดทานจะทาใหห้ ินทบ่ี ริเวณขอบของแผ่นธรณเี กดิ ความเค้นและความเครียด สะสมพลังงานไว้ภายใน เม่ือหินแตกหรือหักก็จะปลดปล่อยพลังงานออกมา ทาให้เกิดการสั่นสะเทือนเปน็ แผ่นดินไหว

ภาพแผ่นดินไหวทเ่ี มอื งซานฟรานซิสโก ปี พ.ศ.2449 แผ่นดนิ ไหวมกั เกิดขึน้ ในบรเิ วณรอยต่อของแผ่นธรณี เนื่องจากเป็นบริเวณท่ีเกิดกระบวนการธรณแี ปรสณั ฐาน มี 3 ลกั ษณะ 1.แผ่นธรณเี คลอ่ื นทอ่ี อกจากกัน (Divergent boundaries) แมกมาจากชั้นฐานธรณีภาคดันให้แผ่นธรณีโก่งตัวอย่างช้าๆ จนแตกเป็นหุบเขาทรุด (Rift valley) หรือสันเขาใต้สมทุ ร (Oceanic Ridge) ทาใหเ้ กดิ แผ่นดนิ ไหวขนาดเบาทีร่ ะดับตื้น (ลึกจากพื้นผิวน้อยกว่า70 กโิ ลเมตร)

2.แผ่นธรณีเคล่ือนที่เข้าหากัน (Convergent boundaries) การชนกันของแผ่นธรณีสองแผ่นในแนวมุดตัว (Subduction zone) ทาให้แผ่นท่ีมีความหนาแน่นมากกว่าจมตัวลงตัวสู่ช้ันฐานธรณีภาค การปะทะกันเช่นน้ีทาให้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่ระดับลึก (300 – 700 กิโลเมตร) และหากเกิดขึ้นในมหาสมุทรก็จะทาให้เกิดคลน่ื สึนามิ 3.แผ่นธรณีเคล่ือนท่ีผ่านกัน (Transform fault) ทาให้เกิดแรงเสียดทานของหินเปลือกโลก แม้ว่าแผ่นธรณีจะเคลื่อนที่ผ่านกันด้วยความเร็วเพียงปีละประมาณ3 - 6 เซนติเมตร แต่เมื่อเวลาผ่านไป 100 ปี ก็จะเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 3 - 6 เมตรซง่ึ ถา้ หากหนิ คืนตวั กจ็ ะสามารถปลดปลอ่ ยพลงั งานมหาศาลได้

คลื่นสึนามิ (Tsunami) เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหว เป็นคลื่นยักษ์มีขนาดใหญ่กวา่ คลน่ื ผวิ นา้ หลายสิบเท่า พลงั งานจลนจ์ ากแผน่ ดนิ ไหวใต้มหาสมุทรถูกถ่ายทอดจากใต้เปลือกโลกถูกถ่ายทอดข้ึนสู่ผิวน้า แล้วขยายตัวทุกทิศทุกทางเข้าสู่ชายฝ่ัง คาว่า “สึ”เป็นภาษาญ่ีปุ่นแปลว่าท่าเรือ \"นามิ\" แปลว่าคล่ืน ที่เรียกเช่นน้ีเป็นเพราะ ชาวประมงญป่ี นุ่ ออกไปหาปลา พอกลับมาก็เหน็ คล่นื ขนาดยักษ์พดั ทาลายชายฝั่งพงั พินาศ

จดุ กาเนดิ คลน่ื สนึ ามิ คลื่นสึนามิมีจุดกาเนิดจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวบริเวณเขตมุดตัว (Subduction zone)ซึ่งอยู่บริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีเข้าหากัน (Convergent plate boundary) เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรเคล่ือนปะทะกัน หรือชนเข้ากับแผ่นธรณีทวีป แผ่นมหาสมุทรซึ่งมีความหนาแนน่ จะจมตัวลงสู่ชน้ั ฐานธรณภี าค ทาให้เกดิ แผน่ ดนิ ไหวอยา่ งรุนแรงท่ีระดับลึก เมื่อเปลือกโลกใต้มหาสมุทรยุบตัวลงเป็นร่องลึกก้นสมุทร (Oceanic trench) น้าทะเลท่ีอยู่ด้านบนก็จะไหลยุบตามลงไปด้วย น้าทะเลในบริเวณข้างเคียงมีระดับสูง กวา่ จะไหลเข้ามาแทนที่แล้วปะทะกนั ทาให้เกดิ คลนื่ สะทอ้ นกลบั ในทุกทศิ ทุกทาง

ภเู ขาไฟระเบิด ภูเขาเกิดจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก ซ่ึงแผ่นธรณีทวีปดันกันทาใหช้ ้ันหนิ คดโคง้ (Fold) เปน็ รปู ประทนุ คว่าและประทนุ หงายสลบั กัน ภูเขาทม่ี ียอดแบนราบอาจเกิดจากการยกตัวของเปลือกโลกตามบริเวณรอยเลื่อน (Fault)แต่ภูเขาไฟ (Volcano) มีกาเนิดแตกต่างจากภูเขาท่ัวไป ภูเขาไฟเกิดจากการยกตัวของแมกมาใตเ้ ปลอื กโลก

แมกมา เม่ือแผ่นธรณีมหาสมุทรเคล่ือนที่เข้าหากัน หรือปะทะกับแผ่นธรณีทวีปแผ่นธรณีมหาสมุทรซึ่งมีความหนาแน่นกว่าจะจมลงสู่ชั้นฐานธรณีภาค และหลอมละลายกลายเป็นหินหนืดหรือแมกมา (Magma) โดยมีปัจจัยที่เร่งให้เกิดการหลอมละลาย ได้แก่ 1.ความรอ้ น 2.นา้ ในช้ันฐานธรณีภาค 3.การลดความกดดัน

แหลง่ กาเนดิ ของแมกมา แมกมาไม่ได้กาเนิดขึ้นทั่วไปทุกหนแห่งของโลก หากมีอยู่แต่บริเวณท่ีรอยต่อของแผ่นธรณบี างชนดิ และบริเวณจดุ รอ้ นของโลก ได้แก่ 1.รอยตอ่ ของแผน่ ธรณเี คล่อื นทีอ่ อกจากกัน 2.รอยต่อของแผน่ ธรณเี คลื่อนทเี่ ข้าหากนั 3.จุดร้อน (Hotspot) 4.แมกมาแกรนิต และ แมกมาบะซอลต์ แหล่งกำเนิดแมกมำบรเิ วณสันเขำใต้มหำสมุทร

ประเภทของภเู ขาไฟ จาแนกชนิดของภเู ขาไฟตามลกั ษณะทางกายภาพได้ 3 ประเภท ดงั นี้ 1. ภูเขาไฟแบบโล่ (Shield Volcano) เป็นภูเขาไฟที่มีความลาดชันน้อย เพียง 6-12องศาเท่านั้น เนื่องจากเกิดจากแมกมาบะซอลต์ มีอัตราการไหลเร็ว แข็งตัวช้า ทาให้ลาวาไหลไปได้ไกล และสามารถก่อตัวเปน็ ภูเขาไฟขนาดใหญ่ 2. ภูเขาไฟแบบกรวยกรวด (Ash and Cinder Volcano) เป็นภูเขาไฟที่มีรูปทรงกรวย มีความลาดชันปานกลางประมาณ 30 - 40 องศา เกิดจากการระเบิดรุนแรง ทาให้กรวดและเถา้ ภูเขาไฟกระเดน็ ขนึ้ สดู่ า้ นบนแล้วตกลงมาทบั ถมกันบรเิ วณปากปล่อง 3. ภูเขาไฟแบบสลับช้ัน (Composite Volcano) เป็นภูเขาไฟขนาดกลาง ลักษณะเป็นรูปทรงกรวย มีปากปล่องขนาดใหญ่และมีแอ่งบริเวณปากปล่อง ภายในภูเขาไฟมีธารลาวากรวด เถ้าภูเขาไฟ เรียงสลบั ชนั้ กัน

การกาเนิดหนิ อคั นี หนิ อัคนี (Igneous rock) เป็นหนิ ท่ีเกดิ จากการแข็งตัวของแมกมาจากใต้เปลือกโลกที่แทรกตวั ขึ้นมา เราแบง่ หินอคั นตี ามแหล่งที่มาเป็น 2 ประเภท - หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rock) เป็นหินที่เกิดจากหินหนืดที่เย็นตัวลงภายในเปลือกโลกอย่างช้าๆ ทาให้ผลึกแร่มีขนาดใหญ่และมีเน้ือหยาบ เช่นหินแกรนิต หินไดออไรต์ และหนิ แกบโบร - หนิ อัคนพี ุ (Extrusive igneous rock) บางทีเรียกวา่ หนิ ภเู ขาไฟ เปน็ หินหนดื ที่เกดิ จากลาวาบนพ้นื ผิวโลกเย็นตวั อยา่ งรวดเร็ว ทาใหผ้ ลกึ มีขนาดเลก็ และเนือ้ ละเอยี ดเชน่ หินบะซอลต์ หินไรออไรต์ และหนิ แอนดีไซต์

https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSeiDGX6qVHXbQeIiY1dABVf9ochQ0h7-5N_BbPSV9cjlOIZqw/viewform?usp=sf_link




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook