Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore O - NET วิทยาการคำนวณ ม.6 (1)

O - NET วิทยาการคำนวณ ม.6 (1)

Published by saripornjamsai, 2020-12-20 14:27:49

Description: O - NET วิทยาการคำนวณ ม.6 (1)

Search

Read the Text Version

O - NET .6วทิ ยาการคํานวณ ม ครูสริภรณ์ แจ่มใส เ นื อ ห า ป ร ะ ก อ บ ก า ร ติ ว O - N E T วิ ท ย า ก า ร คํา น ว ณ ม . 6 วั น อั ง ค า ร ที 2 2 ธั น ว า ค ม 2 5 6 3 เวลา 12.50 - 15.50 น. ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี

ค(DวาIGมฉITลAาดLทาIงNดTจิ Eทิ LัลLIGENCE) ความฉลาดทางดิจิทัล เปนสมรรถนะด้านสติปญญา การรู้คิด สังคม อารมณ์และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการที จะเผชิญกับความท้าทายและสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข 8บนโลกดิจิทัลอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ความฉลาดทาง ดิจิทัลมีองค์ประกอบ ด้าน 1C. IเTอIกZลEักNษณID์พEลNเมTอื ITงYดิจ)ทิ ัล (DIGITAL เปนความสามารถสร้าง และบริหารจัดการอัตลักษณ์ทีดี ของตนเองไว้ได้อย่างดีทังในโลกออนไลน์ และโลกความจริง อัตลักษณ์ทีดีคือ การทีผู้ใช้สือดิจิทัลสร้างภาพลักษณ์ในโลก ออนไลน์ของตนเองในแง่บวก ทังความคิดความรู้สึก และ การกระทํา โดยมีวิจารณญาณในการรับส่งข่าวสาร และแสดง ความคิดเห็น มีความเห็นอกเห็นใจผู้ร่วมใช้งานในสังคม ออนไลน์ และรู้จักรับผิดชอบต่อการกระทํา ไม่กระทําการทีผิด กฎหมาย และจริยธรรมในโลกออนไลน์ เช่น การละเมิด ลิขสิทธิ การกลันแกล้งหรือการใช้วาจาทีสร้างความเกลียดชัง ผู้อืนทางสือออนไลน์ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี

(2S.CกRารEบEรNหิ าTรจIMดั กEารMเวAลาNบAนGโลEกMดิจEทิ NัลT) เปนความสามารถควบคุมตนเอง ความสามารถในการ จัด ส ร ร เ ว ล า ใ น ก า ร ใ ช้ง า น อุ ป ก ร ณ์ ดิ จิทั ล แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ เ ท ค โ น โ ล ยี ไ(ดS้OอยC่างIAมLีปรMะสEิทDธิภIAาพ)แลระวเมกถมึงอกอานรไใลชน้ง์ า(นOสNือสLังINคมEGAMES) ด้วยความรับผิดชอบต่อตนเอง สามารถบริหารเวลาทีใช้ อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไปถึงการควบคุมเพือให้เกิดสมดุล ระหว่างโลกออนไลน์ และโลกความเปนจริง อีกทังตระหนักถึง อันตราย และสุขภาพจากการใช้เวลาหน้าจอนานเกินไป และ ผลเสียของการเสพติดสือดิจิทัล (3C. YกาBรEจRดั BกUารLกLาYรกINลันGแกMล้งAบNนAไซGเบEอMร์ENT) เปนความสามารถในการปองกันตนเอง การมีภูมิคุ้มกัน ในการรับมือและจัดการ กับสถานการณ์การกลันแกล้งบน อินเทอร์เน็ตได้อย่างชาญฉลาด การใช้อินเทอร์เน็ตเปนเครือง มือหรือช่องทาง เพือก่อให้เกิดการคุกคามล่อลวง และการ กลันแกล้งบนโลกอินเทอร์เน็ตและสือสังคมออนไลน์ โดยกลุ่ม เปาหมายมักจะเปนกลุ่มเด็กจนถึง เด็กวัยรุ่น การกลันแกล้ง บนโลกไซเบอร์คล้ายกันกับการกลันแกล้งในรูปแบบอืน หาก แต่การกลันแกล้งประเภทนี จะกระทําผ่านสือออนไลน์ หรือสือ ดิจิทัล เช่น การส่งข้อความทางโทรศัพท์ ผู้กลันแกล้งอาจจะ เปนเพือนร่วมชัน คนรู้จักในสือสังคมออนไลน์ หรืออาจจะเปน คนแปลกหน้าก็ได้ แต่ส่วนใหญ่ ผู้ทีกระทําจะรู้จักผู้ทีถูกกลัน แกล้ง รูปแบบของการกลันแกล้ง มักจะเปนการว่าร้าย ใส่ความ ขู่ทําร้าย หรือใช้ถ้อยคําหยาบคาย การคุกคามทาง เพศผ่านสือออนไลน์ การแอบอ้างตัวตนของผู้อืน การแบล็ก เมล์ การหลอกลวง การสร้างกลุ่มในโซเชียลเพือโจมตีโดย เฉพาะ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี

4(C. YกาBรEจRดั SกEารCคUวาRมITปYลอดMภAัยNบนAรGะบEบMเคEรNอื ขTา่)ย เปนความสามารถในการสาํ รวจ ตรวจสอบ การปองกัน และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบเครือข่าย ปองกันข้อมูล ด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยทีเข้มแข็ง และปองกันการโจรกรรมข้อมูล หรือการถูกโจมตีออนไลน์ได้ มีทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ การรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์ คือการ ปกปองอุปกรณ์ดิจิทัล ข้อมูลทีจัดเก็บ และข้อมูลส่วนตัวไม่ให้ เสียหาย สูญหาย หรือถูกโจรกรรมจากผู้ไม่หวังดีในโลก ไซเบอร์ (5P. RกIาVรAจดั CกYารคMวAามNเปAนGสว่EนMตEัวNT) เปนความสามารถในการจัดการกับความเปนส่วนตัวของ ตนเองและของผู้อืน การใช้ข้อมูลออนไลน์ร่วมกัน การแบ่ง ปนผ่านสือดิจิทัล ซึงรวมถึงการบริหารจัดการ รู้จักปองกัน ข้อมูลส่วนบุคคลของตนเอง เช่น การแชร์ข้อมูลต่าง ๆ ด้วยเครืองมือดิจิทัล การขโมยข้อมูลอัตลักษณ์ เปนต้น โดยต้องมีความสามารถในการฝกฝนใช้เครืองมือ หรือวิธีการ ในการปองกันข้อมูลตนเองได้เปนอย่างดี รวมไปถึงปกปด การสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ในเว็บไซต์ เพือรักษาความเปนส่วน ตัว ความเปนส่วนตัวในโลกออนไลน์ คือสิทธิการปกปอง ข้อมูลความส่วนตัวในโลกออนไลน์ของผู้ใช้งาน ทีบุคคล หรือ การบริหารจัดการข้อมูลส่วนตัว รวมถึงการใช้ดุลยพินิจ ปกปอง ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลทีเปนความลับของผู้อืน ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี

6(C. RกIาTรIคCิดAอยLา่ งTมHวี IจิNาKรณINญGา)ณ ความสามารถในการตัดสินของบุคคลว่าควรเชือ ไม่ควร เชือ ควรทําหรือไม่ควรทํา บนความคิดเชิงเหตุและผล มีความ สามารถในการวิเคราะห์แยกแยะ ระหว่างข้อมูลทีถูกต้อง และ ข้อมูลทีผิด ข้อมูลทีมีเนือหาเปนประโยชน์ และข้อมูลทีเข้าข่าย อันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลน์ทีน่าตังข้อสงสัย และน่าเชือ ถือได้ เมือใช้อินเทอร์เน็ต ทราบว่าเนือหาใดมีประโยชน์ รู้เท่าทัน สือและสารสนเทศ สามารถวิเคราะห์ และประเมินข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลทีหลากหลายได้ เข้าใจรูปแบบการหลอกลวงต่าง ๆ ในสือดิจิทัล เช่น ข่าวปลอม เว็บไซต์ปลอม ภาพตัดต่อ ข้อมูล อันทีเท็จ เปนต้น (7D. IรGอ่ IงTรAอยLทาFงOดิจOทิ TัลPRINTS) เปนความสามารถในการเข้าใจธรรมชาติของการใช้ชีวิตใน โลกดิจิทัล ว่าจะหลงเหลือร่องรอยข้อมูลทิงไว้เสมอ ร่องรอย ทางดิจิทัล อาจจะส่งผลกระทบในชีวิตจริง ทีเกิดจากร่องรอย ทางดิจิทัลเข้าใจผลลัพธ์ทีอาจเกิดขึน เพือนาํ มาใช้ในการจัดการ กับชีวิตบทโลกดิจิทัล ด้วยความรับผิดชอบ ข้อมูลร่องรอยทาง ดิจิทัล เช่น การลงทะเบียน อีเมล การโพสต์ข้อความหรือ รูปภาพไฟล์งานต่าง ๆ เมือถูกส่งเข้าโลกอินเทอร์เน็ตแล้ว จะทิง ร่องรอยข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งานไว้ ให้ผู้อืนสามารถติดตามได้ และจะเปนข้อมูลทีระบุตัวบุคคลได้อย่างง่ายดาย (8D. IคGวIาTมAเหLน็ EอMกเหPน็AใTจแHลYะส) รา้ งสมั พนั ธภาพทีดีกับผอู้ ืนทางดิจทิ ัล เปนความสามารถในการเข้าใจผู้อืน การตอบสนองความ ต้องการของผู้อืน การแสดงความเห็นใจและการแสดงนาํ ใจต่อผู้ อืนบนโลกดิจิทัลได้อย่างเหมาะสม มีปฏิสัมพันธ์อันดีต่อคนรอบ ข้าง ไม่ว่าพ่อแม่ ครู เพือนทังในโลกออนไลน์ และในชีวิตจริง ไม่ด่วนตัดสินผู้อืนจากข้อมูลออนไลน์แต่เพียงอย่างเดียว และ จะเปนกระบอกเสียงให้ผู้ทีต้องการความช่วยเหลือในโลกออนไลน์ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี

ภัยคุกคาม จากเทคโนโลยี

Phishing คือการหลอกลวงทางอินเทอรเ์ น็ต เพือขอข้อมูลที สาํ คัญเช่น รหัสผ่าน หรอื หมายเลขบัตรเครดิต โดยการส่งข้อความ ผ่านทางอีเมลหรอื เมสเซนเจอร์ ตัวอย่างของการฟชชิง เช่น การ บอกแก่ผู้รบั ปลายทางว่าเปนธนาคารหรอื บรษิ ัททีน่าเชือถือ และ แจ้งว่ามีสาเหตุทําให้คุณต้องเข้าสู่ระบบและใส่ข้อมูลทีสาํ คัญใหม่ โดยเว็บไซต์ทีลิงก์ไปนัน มักจะมีหน้าตาคล้ายคลึงกับเว็บทีกล่าวถึง Phishing แผลงมาจากคําว่า fishing แปลว่าการตกปลา ซึงมีความ หมายถึง การปล่อยให้ปลามากินเหยือทีล่อไว้

ไวรสั คอมพิวเตอร์ (computer virus) คือ โปรแกรม คอมพิวเตอรท์ ีบุกรุกเข้าไปในเครอื งคอมพิวเตอรโ์ ดยไม่ได้รบั ความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์รา้ ยและสรา้ ง ความเสียหายให้กับระบบของเครอื งคอมพิวเตอรน์ ัน ๆ บ่อยครงั ทีผู้คนจะสับสนระหว่างไวรสั กับเวิรม์ เวิรม์ นันจะมีลักษณะของการ แพรก่ ระจาย โดยไม่ต้องพึงพาหะ ส่วนไวรสั นัน จะสามารถแพร่ กระจายได้ก็ต่อเมือมีพาหะนาํ พาไปเท่านัน เช่น ทางเครอื ข่าย หรอื ทางแผ่นดิสก์ โดยไวรสั นัน อาจฝงตัวอยู่กับแฟมข้อมูล และ เครอื งคอมพิวเตอรจ์ ะติดไวรสั เมือมีการเรยี กใช้แฟมข้อมูลนัน หนอนคอมพิวเตอร์ (computer worm) คือ หน่วยย่อยลงมาจากไวรสั คอมพิวเตอร์ ปกติแล้ว หนอนคอมพิวเตอรจ์ ะแพร่ กระจายโดยไม่ผ่านการใช้งานของผู้ใช้ โดย มันจะคัดลอกและกระจายตัวมันเองข้าม เครอื ข่าย เช่น ระบบเครอื ข่าย หรอื อินเทอรเ์ น็ต เปนต้น หนอนคอมพิวเตอร์ สามารถทําลายข้อมูลและแบนด์วิท สรา้ ง ความเสียหายให้กับคอมพิวเตอรร์ วมไปถึง การทําให้คอมพิวเตอรห์ ยุดทํางาน

ม้าโทรจัน (Trojan horse) หมายถึง โปรแกรมทีหลอก ลวงให้ผู้ใช้นึกว่าเปนโปรแกรมธรรมดาทัวไป เมือติดตังและ ใช้งาน โปรแกรมจะทํางาน ลอบเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เครอื งนัน เช่น ข้อมูลชือผู้ใช้ รหัสผ่าน เลขทีบัญชีธนาคาร หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนบุคคลอืน ๆ โดยส่วน ใหญ่แฮกเกอรจ์ ะส่งโปรแกรมเข้าไปในคอมพิวเตอรเ์ พือดัก จับข้อมูลดังกล่าว แล้วนาํ ไปใช้ในการเจาะระบบ และเพือโจมตี คอมพิวเตอร,์ เซิรฟ์ เวอร,์ หรอื ระบบเครอื ข่ายอีกที

โปรแกรมโฆษณา (Advertising Supported Software) คือ โปรแกรมทีสามารถทํางานแสดง หรอื ดาวน์โหลดสือโฆษณา โดย อัตโนมัติไปยังคอมพิวเตอรท์ ีได้รบั การติดตังโปรแกรมชนิดนีไว้ โปรแกรมเรยี กค่าไถ่ (Ransomware) เปนมัลแวร์ (Malware) ประเภทหนึงทีมีลักษณะการทํางานทีแตกต่างกับมัลแวรป์ ระเภท อืน ๆ คือไม่ได้ถูกออกแบบมาเพือขโมยข้อมูลของผู้ใช้ แต่จะ ทําการเข้ารหัสหรอื ล็อคไม่ว่าจะเปนไฟล์เอกสาร รูปภาพ วิดีโอ ผู้ใช้งานจะไม่สามารถเปดไฟล์ใด ๆ ได้เลยหากไฟล์เหล่านัน ถูก เข้ารหัส ซึงการถูกเข้ารหัสก็หมายความว่าจะต้องใช้คีย์ในการ ปลดล็อค เพือกู้ข้อมูลคืนมา ผู้ใช้งานจะต้องทําการจ่ายเงินตาม ข้อความ “เรยี กค่าไถ่” ทีปรากฎ

รูปแบบการปองกันภัยคุกคาม วิธีการหนึงทีใช้สาํ หรบั การปองกันภัยคุกคามด้านไอที คือการตรวจสอบและยืนยันตัวตนก่อนเรมิ ใช้งาน โดยสามารถ ดาํ เนินการได้ 3 รูปแบบ ดังนี 1. การตรวจสอบจากสิงทีผู้ใช้รู้ เช่น ชือผู้ใช้และรหัสผ่าน

2. การตรวจสอบจากสิงทีผู้ใช้มี เช่น บัตรสมารท์ การด์ 3. การตรวจสอบจากสิงทีเปนส่วนหนึงของผู้ใช้ เช่น การสแกนนิว ใบหน้า เสียง เปนต้น

ก า ร จั ด ก า ร ลิ ข สิ ท ธิโ ล ก อ อ น ไ ล น์ CREATIVE COMMONSด้วยมาตรฐาน CC

ครีเอทีฟคอมมอนส์ (CREATIVE COMMONS: CC) เปน องค์กรไม่แสวงกําไรทีสนับสนุนการใช้เนือหา โดยไม่ถูกจาํ กัดจากสัญญา อนุญาต สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์ จะเอือให้มีการใช้สือ ทังทางภาพ เสียง ข้อมูล โดยการแบ่งแยกสัญญาอนุญาตย่อยออก สาํ หรับการแจกจ่าย และการใช้ข้อมูล โดยการอ้างอิงถึงเจ้าของ ลิขสิทธิเดิม ครีเอทีฟคอมมอนส์ก่อตังโดย ลอว์เรนซ์ เลสสิก ซึง ( )ปจจุบันบริหารงานโดย โจอิจิ อิโต จอย อิโต สาํ หรับสัญญาครีเอฟทีฟคอมมอนส์ ภาษาไทย จัดทําขึนโดยความ CHANGEFUSIONร่วมมือของสาํ นักกฎหมายธรรมนิติ สถาบัน และ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธรรม หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยรองรับ 3.0ตามหลักเกณฑ์ครีเอทีฟคอมมอนส์ รุ่น และปรับให้เข้ากับกฎหมาย ลิขสิทธิไทย จึงสามารถใช้บังคับได้ตามกฎหมายไทย ประกาศเปดตัวเมือวัน 2 . . 2552 51ที เมษายนพ ศ เปนลําดับที ของโลก CREATIVE COMMONS หรือ สัญญาอนุญาตแบบเปด เปนลิขสิทธิประเภทหนึง ทีเปดโอกาสให้สาธารณะ ได้นาํ ผลงานนัน ไปใช้ได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ไม่เปนการละเมิดลิขสิทธิ แต่ผู้ทีนาํ ผลงานไปใช้ จะ ต้องทําตามเงือนไขทีกําหนดไว้บนผลงาน

4เงือนไขในการใหอ้ นุญาตของครเี อทีฟคอมมอนส์ มอี ยู่ เงือนไข คือ 1. (BY)อ้างอิงแหล่งทีมา หมายถึงการนาํ ไปใชจ้ ะต้องอ้างอิงกลับมาถึงผเู้ ขยี น /แสดงทีมา อ้างทีมา (ATTRIBUTION - BY) : อนุญาตให้ผู้อืนทําซาํ แจกจ่าย หรือแสดงและนาํ เสนอชินงานดัง กล่าว และสร้างงาน ดัดแปลงจากชินงานดังกล่าวได้เฉพาะกรณี ทีผู้นัน ได้แสดงเครดิตของผู้เขียน หรือผู้ให้อนุญาตตามทีระบุไว้ 2. (SA)ใหอ้ นญุ าตต่อไปแบบเดยี วกัน คือยนิ ยอมใหม้ กี ารดดั แปลงงานไดโ้ ดยต้องมอบ ความยนิ ยอมต่อไปดว้ ย อนุญาตแบบเดียวกัน (SHARE ALIKE - SA) : อนุญาตให้ผู้อืนแจกจ่ายงาน ดัดแปลง เปลียนรูปหรือต่อเติมงาน ได้เฉพาะกรณีทีชินงานดัดแปลงนัน เผยแพร่ด้วยสัญญาอนุญาต ทีเหมือนกันทุกประการกับงานต้นฉบับ หรือสรุปง่ายๆ ว่า ต้องใช้สัญญาอนุญาตชนิดเดียวกันกับงานดัดแปบงต่อยอด 3. หา้ มนาํ ไปใชเ้ พอื การค้า (NC) ไม่ใช้เพือการค้า (NONCOMMERCIAL - NC) : อนุญาตให้ผู้อืนทําซาํ แจกจ่าย หรือแสดงและนาํ เสนอชินงานดัง กล่าว และสร้างงานดัดแปลงจากชินงานดังกล่าวได้เฉพาะกรณีที ไม่นาํ ไปใช้ในทางการค้าปบงต่อยอด 4. (ND)หา้ มดดั แปลง คือต้องใชง้ านต้นฉบบั เท่านนั โดยไมม่ กี ารดดั แปลงใด ๆ ทังสนิ ไม่ดัดแปลง (NO DERIVATIVE WORKS - ND) : อนุญาตให้ผู้อืนทําซาํ แจกจ่าย หรือแสดงและนาํ เสนอชินงานดัง กล่าว ในรูปแบบทีไม่ถูกดัดแปลงเท่านัน

6สญั ญาอนญุ าตครเี อทีฟคอมมอนส์ แบง่ ไดเ้ ปน ชนดิ ใหญ่ ดงั นี 1. อ้างอิงแหล่งทีมา (CC-BY) ATTRIBUTION CC – BY ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุทีมา 2. อ้างอิงแหล่งทีมา ใหอ้ นญุ าตต่อไปแบบเดยี วกัน (CC-BY-SA) ATTRIBUTION CC – BY – SA ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุทีมาและ ต้องเผยแพร่งานดัดแปลง โดยใช้สัญญา อนุญาตเดียวกัน 3. อ้างอิงแหล่งทีมาหา้ มดดั แปลง (CC-BY-ND) ATTRIBUTION CC – BY – ND ให้เผยแพร่ โดยต้องระบุทีมา แต่ห้ามดัดแปลง 4. อ้างอิงแหล่งทีมาหา้ มนาํ ไปใชเ้ พอื การค้า (CC-BY-NC) ATTRIBUTION CC – BY – NC ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุทีมา แต่ห้ามใช้เพือการค้า

6สญั ญาอนญุ าตครเี อทีฟคอมมอนส์ แบง่ ไดเ้ ปน ชนดิ ใหญ่ ดงั นี 5(.CC-BY-NC-SA)อ้างอิงแหล่งทีมาหา้ มนาํ ไปใชเ้ พอื การค้า และใหอ้ นญุ าตต่อไปแบบเดยี วกัน ATTRIBUTION CC – BY – NC – SA ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุทีมา แต่ห้ามใช้ เพือการค้าและต้องเผยแพร่งานดัดแปลง โดยใช้สัญญาอนุญาตชนิดเดียวกัน 6(C. Cอ้า-งBอYิง-แNหCล่ง-ทNีมDา)หา้ มนาํ ไปใชเ้ พอื การค้า และหา้ มดดั แปลง ATTRIBUTION CC – BY – NC – ND ให้เผยแพร่ โดยต้องระบุทีมา แต่ห้ามดัดแปลง และห้ามใช้เพือการค้า

ฐ า น ค ว า ม ผิ ด แ ล ะ บทลงโทษ กฎหมายดจิ ทิ ัล

ฐ า น ค ว า ม ผิ ด แ ล ะ บทลงโทษ กฎหมายดจิ ทิ ัล

ฐ า น ค ว า ม ผิ ด แ ล ะ บทลงโทษ กฎหมายดจิ ทิ ัล

ฐ า น ค ว า ม ผิ ด แ ล ะ บทลงโทษ กฎหมายดจิ ทิ ัล

ฐ า น ค ว า ม ผิ ด แ ล ะ บทลงโทษ กฎหมายดจิ ทิ ัล

ฐ า น ค ว า ม ผิ ด แ ล ะ บทลงโทษ กฎหมายดจิ ทิ ัล GOOD LUCK


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook