Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit2

Unit2

Published by sksrptc, 2017-03-22 05:31:10

Description: Unit2

Search

Read the Text Version

หนวยท่ี 6 งานทอ เครอ่ื งทําความเยน็ และปรบั อากาศทอเครือ่ งมอื ดดั ทอดรีมเมอรการทําแฟลรหรือการบานทอการขยายทอการเชอื่ มเงินเคร่ืองมอื ทอ (Tubing) ทอ ท่ีใชเดนิ ในระบบเครอื่ งเยน็ โดยมากจะใชท อทองแดง ทอทองแดงทใี่ ชใ นระบบเครือ่ งเยน็ น้ีเรยี กวาทอ ACR. ทอ ACR. เปน ทอ ทผี่ ลิตใชกับเครือ่ งทําความเยน็ โดยเฉพาะเพราะวาทองแดงACR. จะถกู อดั หรือผา นดว ยแกส ไนโตรเจน เพอ่ื ปองกนั อากาศหรอื การเกิดสนมิหลังจากเช่ือมทอทองแดงดว ยเงนิ เชื่อมแลว ทอ ขณะเลกิ ใชหรือเก็บไวไ มใ ชค วรจะไดป ด ปลายทง้ั 2ขา งไว เพอ่ื ปอ งกันไมใ หอากาศชื้นหรอื เศษโลหะผา นเขา ไปในทอไดการวัดขนาดของทอทองแดงน้ัน วดั ความโตของเสนผา ศนู ยกลางดานนอก (Out side-diameter) หรือOD. ทอทีใ่ ชใ นระบบเครือ่ งเยน็ แบงออกเปน 2 แบบ คอื 1. ชนดิ K (K Type) 2. ชนดิ L (L Type) ท้ังแบบ K และ L น้ีจะผลิตมาเปน แบบทอหนาและบางทอ ทองแดงออน (Soft coppertubing) เปนทอที่นยิ มใชใ นระบบเคร่อื งทาํ ความเยน็ ตามบานเรอื นระบบเคร่ืองเยน็ ทางการคา และ

ระบบเครือ่ งปรบั อากาศ เปน ทอทยี่ ดื หยนุ สามารถดัดใหงอไดงา ย และสามารถขยายและบานทอเพือ่ ใหเ ขากบั แฟลรน ัตได ทอ หนงึ่ จะเปน มว น 0 ยาว มว นละ 25, 50 และ 100 ฟุต ขนาดวดั OD. ของทอมีขนาดต้ังแต 3/16, ¼, 5/16, 3/8, 7/16, ½, 9/16, 5/8 และ ¾ นิ้ว ทอ ทองแดงแข็ง (Hard drown copper tubing) เปนทอแขง็ ทใี่ ชใ นระบบเครอื่ งทําความเยน็ใหญแ ละเคร่อื งปรับอากาศ ทอ ชนิดน้ีสามารถทนแรงดนั ไดมาก และการดดั งอทําไดย าก ควรใชอุปกรณอ ่นื ๆ เชน ขอตอ ของอ เปนตน ทอเหล็ก (Steel tubing) สวนมากไมนยิ มใช จะใชเ ฉพาะแผงรอน (Condenser) ของตูเยน็ ตูแชแ ละระบบเครื่องปรบั อากาศเครื่องใหญ ๆ ทใี่ ชแ อมโมเนีย (R 717) เทาน้นั เพราะระบบทีใ่ ชแอมโมเนยี ถา ใชกบั ทอทองแดงหรอื ทองเหลอื งจะเกิดปฏิกริ ยิ าได ไมเหมาะจะนํามาใชเคร่อื งมอื ดัดทอ (Bending Tube) เคร่อื งมือทใี่ ชดัดทอ หรืองอทอ นั้น ที่ใชอยโู ดยทว่ั ไปทพี่ อจะหาไดง ายมี 2 ชนดิ 1. ใชสปรงิ ดดั ทอ (Spring Bender) 2. ใชเ ครือ่ งมือดัดทอ แบบกระเดือ่ ง (Lever Bender) สปรงิ ดดั ทอ ใชด ดั หรอื งอทอ ไดขนาดต้ังแต ¼” ถึง ½ “ O.D. เมือ่ ใชสปริงงดทอตามตอ งการแลว เวลาจะถอดสปรงิ ออกใหบิดตวั สปรงิ (หมุน) จะทําใหสปริงออกจากทอ ไดง า ย การใชเคร่อื งมอื ดัดทอ แบบกระเดื่องนน้ั จะมอี งศาบอกมมุ ท่ีดดั ดว ย การดดั ทอใหโคงกลับมาทิศทางขนานกบั ทางเดิม (U turn) นัน้ รัศมขี องความโคงของทอ อยา งนอ ยจะตองเปน 5 เทาของความโตของทอรีมเมอร (Reamer) คอื เคร่ืองมอื ใชสําหรบั แตงรทู อ ทองแดง หรอื กวา นรทู อ ทองแดงท่ีตดั แลว รตู ีบลงไปใชรมีเมอรแตงเพือ่ ใหร ูโตเทาเดิม รมี เมอรใชแตง ไดท ้งั รใู นและผิวรอบนอกของทอ

การทําแฟลรหรอื การบานทอ (Flaring) การทาํ แฟลรค อื การที่จะเอาทอ ทองแดงตอ เขา กับเกลยี วนอก เชนพวกยูเนยี น (Union) โดยการทําแฟลรห รือบานทีป่ ลายขา งหนึง่ ของทองแดง เพือ่ จะไดเอาแฟลรน ัต (Flare nut) ใสไวท ่ีปลายทอ ทองแดงและเอาแฟลรน ตั ขนั เขากับเกลียวนอกหรือยเู นยี น เครอื่ งมอื ทีใ่ ชในการบานทอ หรือทาํ แฟลร ประกอบดว ยตัวจบั ทอ (Blocking tool) และตัวบานทอ การบานทอ ใชทอทีต่ ัดและตกแตง เรยี บรอยแลว สอดเขา ไปในรูตามขนาดของทอ ของตัวจับทอ แลว จบั บบี ใหแ นน แลวจึงหมนุ ตวั ทอ ใหท อทโี่ ผลอ อกมาบานตอไป การบานทอ มีวธิ ีบาน 2วิธี คือ บานชน้ั เดียว และบานสองชนั้ เครอื่ งมอื บานทอตามรูปขา งบนเปนเครอ่ื งมือที่สามารถใชบานทอไดท ง้ั แบบชั้นเดยี วและสองชน้ัการขยายทอ (Swaging Copper Tubing) ในกรณที ีต่ องการจะตอ ทอขนาดเดยี วกนั ใหยาวออกไปอกี โดยไมใ ชขอ ตอ (Coupling) เราสามารถทาํ โดยเอาปลายทอ อกี ขา งหน่ึงทจ่ี ะตอ กัน มาขยายใหโ ตข้ึนเพอ่ื สวมเขากบั ทอทีจ่ ะตอกนั

กอนที่จะนาํ ไปเชอื่ มตดิ เครอื่ งทใี่ ชใ นการขยายทอ เรียกวา เครอื่ งมอื ขยายทอ (Swaging Tool) ซงึ่ประกอบดว ยตวั จับทอ ซ่งึ เปน แบบตวั จับทอ สําหรับบานทอ และตวั ขยายทอ (Swaging)การเช่ือมเงิน (Silver Brazing) การเชือ่ มเงนิ นี้ ใชเปนประจาํ ในงานซอมและตดิ ตงั้ เคร่อื งทาํ ความเยน็ การเช่อื มเงินสามารถทําไดง า ยและรอยเชอ่ื มทนทานแขง็ แรงมาก เปน ทน่ี ิยมใชกันโดยทัว่ ไป ลวดเงนิ เชอ่ื มนมี้ ีสวนผสมของเงินประมาณ 35 –45 % อุปกรณแ ละเครื่องมอื ทีใ่ ชในการบัดกรีหรือเช่ือมนน้ัโดยท่วั ไปจะใชแ บบเชื่อมแกส คอื ใชแกส ออกซิเจน และแกสอะซทิ ิลนิ ผสมกนั และจะใหค วามรอนพอท่ีจะสามารถบดั กรีหรอื เช่ือมทอ ทองแดงใหต ดิ กนั ได การตง้ั ไฟเชอ่ื มนั้นจะตองพจิ ารณาใหเหมาะสมกับขนาดของทอ เชนทอ เล็กควรจะเปด ใหแ กสออกซิเจนและ แกส อะซทิ ลิ นิ ออกมานอ ยหนอย โดยดูจากการตงั้ เรกกเู รเตอรของถงั แกส การเช่อื มเงินหรือบัดกรีน้ันเราอาจใชเ ปลวไฟจากถังเชื่อมแกสขนาดเล็ก (Propane Tank) ซ่ึงเปน ถังบรรจุแกส โปรเพน และเม่อื เอาหวั เช่อื มใสล งไปสามารถใหค วามรอนในการบดั กรแี ละเชือ่ มเงินได แตในการเชือ่ มทอใหญ ไมสามารถจะทําไดถาหากลกั ษณะงานซอ มอยกู บั ที่สมควรจะใชอุปกรณก ารเชอื่ มแบบแยกถังออกซิเจน และแกสอะซทิ ิลิน คนละถงั จะใหค วามรอ นพอเพยี งในการเชือ่ ม การเช่อื มเงนิ มวี ิธกี ารงาย ๆ คอื กอ นการเชอ่ื มจะตอ งทาํ ความสะอาดรอยท่ีจะเชอ่ื มเสยี กอ นดวยกระดาษทราย และใชนา้ํ ประสานเงินเชื่อมทารอบ ๆ รอยทจี่ ะเชอ่ื ม แลวจดุ หวั เชื่อมใหความรอนกับรอยทจี่ ะเชอ่ื มตามอณุ หภูมิที่กาํ หนด จนกระทง่ั ทอจะเช่ือมแดง และรอ นพอที่จะละลายเงิน

เชอื่ มได จึงเอาเงินเชือ่ มแหยล งไป ตรวจรอยท่จี ะเชอื่ ม ความรอ นจากทอท่จี ะเชื่อม จะรอนพอทจ่ี ะละลายเงนิ เชอ่ื มใหไหลไปรอบ ๆ ทอ ได แลวปลอยใหเยน็ ลง และทําความสะอาดรอยตอเพอ่ืตรวจหารอยร่ัวใหมอ ีกคร้งั หนึง่ ในขณะทําการเชื่อมถาสามารถทําไดค วรใชแกสไนโตรเจน ปลอ ยผานเขา ไปในทอสักประมาณ5 psig ท้ังนเ้ี พอ่ื ปอ งกันอนั ตรายจากการระเบิด และไนโตรเจนจะไมท าํ ปฏกิ รยิ ากับทอทองแดงขณะใหค วามรอน ทําใหทอภายในสะอาดเครอ่ื งมอื (Hand Tool) เครอ่ื งมือตอ ไปนี้ เปนเครอ่ื งมือทจ่ี ําเปน สําหรับผูท่ีจะทาํ งานชา งซอ มตูเ ยน็ ตแู ชเครือ่ งปรบั อากาศตดิ หนา ตาง ควรจะหาไวเ พอ่ื งานซอ มดว ยตนเอง ประแจ (Wrenches) ประแจทีใ่ ชใ นการซอ มเครื่องทาํ ความเย็นมหี ลายแบบ แตท่จี ะใชอ ยูประจาํ มดี งั นี้ 1. ประแจแหวน (Socket Wrench) เปน ประแจทเ่ี หมาะสาํ หรบั ไขแฟลรนัต เลยมีชือ่ เรยี กวาFlareNut Wrench 2. ประแจเลื่อน (Adjustable Wrench) เปนประแจท่ีสามารถปรับใหเ ลก็ ใหญได สามารถไขขนั หวั นัตไดห ลายขนาดแตไ มค วรใชป ระแจเล่ือนบอ ยนกั เพราะอาจทําใหหวั นตั เสยี ได 3. ประแจปากตาย (Double Head Wrench) เปน ประแจทมี่ ีปากจบั หวั นตั คงที่ ควรจะมเี ปนชุด 4. ประแจแหวนท่มี ปี ากเปดสวนหน่ึง ( Open End Wrench) เปนประแจแหวนที่ผา ปากออกไปบา งเหมาะสาํ หรบั ใชก ับงานขันแฟลรนัต ในเครื่องเย็น เพราะสามารถเอาปากทเ่ี ปด สอดในทอ และขนั แฟลรนตั ได 5. ประแจบอกซ (Box Wrench) เปน ประแจทใ่ี ชไ ดด มี ากในการขันนัตทป่ี ระแจแหวนไมสามารถจะขนั ไดใ นซอกหรอื มมุ แคบ ๆ 6. ประแจขนั เซอรว ิทวาลว (Service Valve Wrench) หรอื มชี ื่อเรียกอีกอยา งหนงึ่ วา RatchetWrench เปนประแจทใี่ ชปด เซอรวทิ วาลวเปนรปู ส่ีเหลี่ยมโดยเฉพาะ และบางแบบยงั ใชข นั นตั 6เหลยี่ มไดดวย

7. ประแจหกเหลี่ยม (Allen Hex Key) เปน ประแจสําหรบั ขนั นตั 6 เหลยี่ ม สาํ หรบั ใบพัดลมเครือ่ งปรับอากาศตดิ หนาตาง 8. สวานไฟฟา (Electric Drill) เปฯเครื่องมือสําคัญอันหน่งึ ท่จี ะตองใชเ จาะงานเพ่อื ตดิ ตัง้และซอมตูเยน็ และเครือ่ งปรบั อากาศ ควรซ้อื แบบปองกนั อันตรายจากไฟฟารว่ั ได (Shock Proof) 9. เล่ือยเหล็ก (Hack Saw) ใชสาํ หรับตัดเหลก็ และทอทองแดง ใบเลื่อยควรใชแ บบฟนละเอียด 10. คอ น (Hammer) ควรเปน คอนแบบ Riveting Hammer 11. คมี (Pliers) rs) ควรม ี 2 แบบ คือ คีมปากแหลม (Long Nose) และคมี ปากธรรมดา(Short Nose) 12. ไขควง (Screw Driver) ควรจะมแี บบเปนไขควงชุด หรอื มฉิ ะน้นั กค็ วรมี 2 แบบ คือแบบปากแบน และปากฟล ลปิ และควรเปน แบบทีส่ ามารถตอกดามได 13. ตะไบ (File) ควรเปนแบบสามเหล่ยี ม หรือสเี่ หลยี่ มเพ่ือไวตดั ทอแคป ท้วิ 14. คมี ลอค (Vise Grip) ใชส าํ หรับจบั งานท่ตี อ งการแรงยดึ มาก ๆ ควรมหี ลาย ๆ ขนาด 15. คมี บบี ปลายทอ (Pinch off Pliers) เปน คมี คลายคีมลอค แตไมม ีปากเปนซ่ี ๆ แตท ่ีปากของคีมบบี ทอ จะคลา ยลกู กลง้ิ หนบี เม่อื ใชคมี น้ีบบี ทอ จะแบนติดกัน มไี วสาํ หรบั เวลาชารจนํ้ายาเสรจ็ แลว จะตอ งใชค ีมนบ้ี ีบใหแ นนและตดั ออกแลวเชือ่ มปด 16. ถังเชอื่ มเลก็ หรือถังเช่ือมเปา เลน (Propane Torch) เปน ถงั บรรจแุ กสโปรเพน เมอ่ื เสยี บหวั เชอื่ มเหลก็ ลงไปและจดุ ไฟ จะสามารถบดั กรแี ลเช่อื มเงินได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook