Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวสอนวิชา อาร์ พีจี ๗-Copy

แนวสอนวิชา อาร์ พีจี ๗-Copy

Published by Nuttawout Plienkoontod, 2020-11-08 09:32:24

Description: แนวสอนวิชา อาร์ พีจี ๗-Copy

Search

Read the Text Version

แผนกวิชาอาวธุ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารราบ ......................................................................................................... หมวดวชิ า อาวุธ เรอ่ื ง เคร่ืองยิงจรวด อาร พี จี ๗ ขนาด ๔๐ มม. ......................................................................................................... ศนู ยก ารทหารราบ คายธนะรชั ต อ.ปราณบรุ ี จว.ประจวบคีรีขันธ

๑. บทเรยี นเรอื่ ง ๑ ๒. ความมุงหมาย แผนกวชิ าอาวธุ ๓. ของเขต กองการศึกษา โรงเรียนทหารราบ ศนู ยการทหารราบ ๔. งานมอบ ๕. หลักฐานอา งองิ คา ยธนะรชั ต อ.ปราณบรุ ี จว.ประจวบครี ีขันธ ............................... ตอนท่ี ๑ เอกสารนํา : เครอ่ื งยงิ จรวด อาร พี จี ๗ : เพ่อื ใหน กั เรยี นมีความรูเ รอ่ื งคุณลกั ษณะ ขดี ความสามารถ การถอด – ประกอบ การทํางานของเครอ่ื งกลไก เหตตุ ดิ ขดั และวิธแี กไข และ ระบบการทาํ งานของลูกจรวด : ๑. ใหม คี วามรูเ กีย่ วกับอาวธุ ศกึ ษาเปน อยา งดี สามารถนาํ ไปถายทอดให ผูใ ตบ งั คับบญั ชาได ๒. ใหม คี วามรูเ กยี่ วกบั การทาํ งานของลูกจรวด การแกไ ขเหตุตดิ ขดั การปรนนิบตั ิบาํ รงุ การฝก ทา ยงิ และการฝกการบรรจแุ ละเลกิ บรรจุ : ใหอา นและทาํ ความเขา ใจโดยตลอด และนําขอ สงสยั ซักถาม : คูม อื การฝก วา ดว ย เครือ่ งยิงจรวด อาร พี จี ๗ ของกองทัพบก พ.ศ.๒๕๒๕ ...................................

๒ ตอนท่ี ๒ หลักการสอน ๑. กลาวนํา เครอ่ื งยงิ จรวด อาร พี จี ๗ ขนาดกวางปากลํากลอ ง ๔๐ มม. เปน เคร่ืองยงิ จรวดท่มี นี่ ้าํ หนกั เบา สามารถนาํ ไปไดด ว ยบุคคลเพยี งคนเดี่ยว ใชทําการยงิ กับลกู จรวดขนาด ๘๕ มม. ดว ยการบรรจลุ ูกจรวด ทางปากลํากลอ งที่ละนดั เปนอาวธุ ท่มี อ่ี าํ นาจในการทาํ ลายสงู สามารถนําไปใชการตอ สูยงิ ทําลายรถถัง ทาํ ลายยานยนตชนิดตา ง ๆ ทีม่ น่ั ดดั แปลงและสังหารบคุ คลเปน กลมุ กอน ทําการยงิ ดว ยวธิ ีเลง็ ตรงทาํ การยิง ดว ยการพาดบา จากทายิงตา ง ๆ และมีขาทรายประกอบการยงิ เพื่อใหความมั่นคงและแมน ยํายิ่งขึ้น ๒ รายการทวั่ ไป ๒.๑ เครอ่ื งยิงจรวด ๒.๑.๑ กวางปากลํากลอง ๔๐ มม. ๒.๑.๒ นา้ํ หนกั เครอื่ งยงิ ๕.๕ กก. ๒.๑.๓ ความยาวของลํากลอ ง ๙๒.๗ ซม. ๒.๑.๔ ระยะยิงไกลสดุ ๑,๕๐๐ ม. ๒.๑.๕ ระยะยงิ หวงั ผล ๕๐๐ ม.ลงมา ๒.๑.๖ ความเรว็ ตน ๑๒๐ ม./วนิ าที ๒.๑.๗ อตั ราการยงิ ๔ – ๖ นดั /นาที ๒.๒ เครื่องเลง็ ศูนยหนา เปน ศูนยก ระโดงพบั ได สมารถปรับทางทิศและทางระยะได ศนู ยห ลังเปน ศูนยพ บั ได สามารถตดิ ต้ังระยะยิงไดใ นระยะ ๑๐๐ – ๕๐๐ ม. แผนเลอ่ื นมุมดักท่ี ศูนยหลังสามารถปรบั มุมดัก เพ่ือทําการยงิ ตอเปาหมายเคลื่อนทไ่ี ด ๓. ลกู จรวด ๓.๑ ขนาดลูกจรวด ๘๕ มม. ๓.๒ ชนิดของลูกระเบิด ระเบดิ แรงสงู (TNT + HYDROGEN) ๓.๓ นาํ้ หนกั ๑.๙ กก. ๓.๔ ความยาว ๖๔.๗ ซม. ๓.๕ นํา้ หนกั ดนิ สง เพิ่มพรอ มหางนําทศิ ๐.๔ กก. ๓.๖ ความยาวดนิ สง หลกั ๒๒ ซม. ๓.๗ ความยาวดินสงเพิ่ม ซม. ๔. อาํ นาจทะลุทะลวง (กระทบตัง้ ฉาก) ๔.๑ เจาะเกราะเหลก็ กลาไดห นาประมาณ ๓๓ – ๓๕.๕ ซม. ยานอันตรายเปลวเพลงิ ทายเครอ่ื งยิง ๔.๒ เปน รปู กรวยทาํ มมุ ๙๐ องศา

๓ ๔.๓ ระยะไกล ๓๐ เมตรทายเครอ่ื งยงิ ๕. เคร่อื งยิงจรวด ตัวเครือ่ งประกอบดว ยสวนใหญ ๔ สว น ไดแ ก ๕.๑ ลาํ กลอง ๕.๒ เครอื่ งล่นั ไกและหามไก ๕.๓ เคร่อื งเลง็ ๕.๔ เรอื นเขม็ แทงชนวน ๖. การถอดคมุ สามารถทาํ การถอดคุมได คอื เคร่อื งลัน่ ไกและชดุ เข็มแทงชนวน ๖.๑ การถอดคมุ เครอื่ งลนั่ ไก ๖.๑.๑ หมดุ เกลยี วและสลักยดึ เครอ่ื งลนั่ ไก ๖.๑.๒ หมดุ เกลยี วยดึ ฝาประกบั เครือ่ งลั่นไก ๖.๑.๓ ฝาประกบั เคร่อื งล่นั ไก ๖.๑.๔ หมดุ เกลียวยดึ กระเดอ่ื งนกปน ๖.๑.๕ กระเดอื่ งนกปน ๖.๑.๖ แหนบและแกนแหนบนกปน ๖.๑.๗ สลกั ไก ๖.๑.๘ ไก ๖.๑.๙ หามไก ๖.๑.๑๐ แหนบและครอบแหนบหา มไก ๖.๑.๑๑ เรือนเครอื่ งลัน่ ไก ๖.๑.๑๒ นกปน ๖.๒ ชดุ เข็มแทงชนวน ๖.๒.๑ ฝาครอบเขม็ แทงชนวน ๖.๒.๒ สลักฝาครอบแหนบเข็มแทงชนวน ๖.๒.๓ ฝาครอบเขม็ แทงชนวน ๖.๒.๔ แหนบเข็มแทงชนวน ๖.๒.๕ แหวนปอ งกนั แกส ๖.๒.๖ เข็มแทงชนวน ๗. การทํางานของเครื่องกลไก สาํ หรับเคร่ืองยิงจรวด อาร พี จี ๗ แบงลักษณะการทาํ งานออกเปน ๒ สวน คอื การทํางานของสวนเครอื่ งลัน่ ไก และการทํางานของสว นเขม็ แทงชนวน ๗.๑ การทํางานของเคร่ืองลน่ั ไก ๗.๑.๑ การขน้ึ นก เม่อื ขนึ้ นกจะทําใหแ หนบและแกนแหนบยบุ ตวั ต่ําลง แงห นา นกปน จะขดั กับนกปน

๔ ๗.๑.๒ การลนั่ ไก เมือ่ เหนย่ี วไกมาขา งหลงั จะทาํ ใหล าดโคงสว นบนของไกไปดนั กระเดอ่ื ง นกปนลอยตวั สูงขนึ้ พนจากการขดั กับแงห นานกปน แหนบนกปน ขยายตวั ดนั ใหน กปน ไปตีตอ ทา ยเข็มแทง ชนวน ๗.๑.๓ การหามไก ดา นเตม็ ของแทน หา มไกจะขดั กบั แงล างของไก ไมสามารถเหนย่ี วไก มาขา งหลงั ได การหา มไก จะตอ งกดสลกั หามไกจากซา ยไปขวา การเปด หามไก แงข องหา มไกดานเวา จะมาตรงกลบั แงล า งของไก สามารถจะเหนย่ี วไกมาขา งหลงั ได การเปดหา มไก ใหก ดสลกั หามไกจากขวาไปซาย ๗.๒ การทํางานของสวนเขม็ แทงชนวน การทนี่ กปน จะเคล่ือนท่ี ไปตตี อ ทา ยเขม็ แทงชนวนนน้ั ตําแหนง ทอ่ี ยูของชิ้นสวนตา ง ๆ ของเข็มแทงชนวนจะอยใู นลักษณะปกติ คือ จุดเกลยี วครอบเขม็ แทงชนวน จะกดใหแ หวนปอ งกันแกส ตดิ อยูกับแงซง่ึ อยใู นชอ งของแทน รับเรอื นเข็มแทงชนวน ซงึ่ ตดิ อยูกบั ลํากลอ งเครอ่ื งยิง เขม็ แทงชนวนจะถกู แหนบเข็มแทงชนวนกดไวใ หอยูในตําแหนง ตํา่ ทสี่ ุด และสว นที่เปน แปน เข็มแทงชนวนจะแนบสนิทอยกู บั แหวนปองกนั แกส ปลายของเข็มแทงชนวนจะอยใู นชอ งเขม็ แทงชนวนของแทน รบั เรอื นเขม็ แทงชนวนที่ตดิ อยกู ับลํากลอ ง แตจะไมย น่ื โผลพน เขา ไปในลํากลอง ในขณะท่ีทําการเหนีย่ วไก นกปน จะตที า ยเขม็ แทงชนวน จงึ ผลักดนั ใหเข็มแทงชนวน เคล่ือนท่เี ขา ไปขางบนจนกระทง่ั ปลายเขม็ แทงชนวน โผลเขาไปอยูภ ายนาลํากลอ งเครอื่ งยงิ ทางชอ งเขม็ แทง ชนวนของลาํ กลองเคร่อื งยงิ และปลายของเข็มแทงชนวนจะไปกระแทกตอจอกกระทบแตกทส่ี วนทา ยของ ลูกจรวด ซง่ึ บรรจอุ ยูใ นลาํ กลองน้ัน ในขณะที่เขม็ แทงชนวนเคล่อื นทขี่ ึ้นไปขา งบนนนั้ แหวนบังคับแหนบ เข็มแทงชนวนจะเคลอ่ื นทขี่ ้ึนไปทางขา งบน ตามเข็มแทงชนวนดวย จงึ มผี ลมผี ลทําใหเข็มแทงชนวนเกดิ การ อัดแหนบไว เมอื่ นกปนตีตอ ทายเขม็ แทงชนวนแลว แงสว นโคงดานส้ันของแกนแหนบบนนกปน จะดนั ใหน กปน เคลอ่ื นทีก่ ลับมาอยทู ่ีเดิม (ในลกั ษณะกอ นการขนึ้ นก) จึงทาํ ใหเ ขม็ แทงชนวนเปน อิสระเม่อื เข็มแทง ชนวนมีอสิ ระ แหนบเขม็ แทงชนวนซึง่ อดั ตัวอยจู ะขยายตัว และดันแหวนบงั คบั แหนบเข็มแทงชนวนให เคล่อื นท่ีลงมาทางขางลาง จะมีผลทาํ ใหป ลายเข็มแทงชนวนเคลอ่ื นท่ถี อนตัวออกจากชอ งเข็มแทงชนวนของ ลาํ กลอ งเครอ่ื งยิงดว ย และมาวางตวั อยใู นชองเขม็ แทงชนวนของแทน รับชุดเข็มแทงชนวน ทต่ี ดิ อยูก บั ลํากลองของเครือ่ งยิงในลกั ษณะเดมิ ตอนที่ ๓ สวนประกอบของลกู จรวด อาร พี จี ขนาด ๘๕ มม มสี ว นประกอบท่สี ําคญั ใหญ ๆ อยู ๓ สว น คอื ๑. สว นหวั รบ ๒. สว นตวั จรวด ๓. สว นหางนาํ ทศิ และดินสงเพม่ิ ๑. สว นหวั รบ ๑.๑ สวนหวั รบ คอื สวนหวั ของลูกจรวดซ่งึ บรรจุดนิ ระเบดิ แรงสูง และมหี นาทีร่ ะเบดิ ทําลายตอ เปาหมายโดยตรง หัวรบแบงออกเปน ๒ สว น คือ หวั ปลอม และตวั หัวรบ

๕ ๑.๑.๑ หวั ปลอม คือ สว นหัวสุดของหวั รบ ทําดว ยโลหะบาง ๆ เปน รูปกรวย ครอบตดิ ไวก บั สว นหนาสดุ ของหวั รบ ประโยชนท ่สี ําคญั ของหวั ปลอมก็คอื เปนตวั ชวยไมใหล ูกจรวดตา น ลมมากเกนิ ไปในขณะท่ีพงุ ไปในอากาศถูกเปาหมาย ทง่ั รกั ษาขปี นวิธีของลูกจรวดในขณะเคลือ่ นทไ่ี ปใน อากาศอีกดว ย นอกจากนี้หวั ปลอมยังมหี นาที่เปน ตวั กระทบเปา หมายกอน หวั รบจะเร่ิมทํางาน และท่ปี ลาย สดุ ของหัวปลอม จะใหเปนทส่ี าํ หรบั เครอื่ งกาํ เนิดไฟฟาซ่ึงวงจรเช่ือมโยงเขากับระบบการทํางานของเชอ้ื ปะทุ หวั รบ ซง่ึ ตดิ ตัง้ ภายในตรงสวนฐานของหัวรบ เครอื่ งกําเนิดไฟฟา จะถกู ครอบเอาไวด ว ยฝาครอบ ซึ่งมี ตัวสลักฝาครอบยึดตรงึ เอาไวอ ยา งมนั่ คง ๑.๑.๒ ตัวหัวรบ มลี กั ษณะเปน รปู กรวย ภายในบรรจไุ วดว ยระเบิด ทเี อน็ ที แรงสูง ผสมไฮโดรเจน ซึ่งจะมคี ุณภาพท่ังในดา นการระเบดิ แรงสงู และกอ ใหเ กดิ เพลงิ ไหมในขณะทจี่ ดุ ระเบดิ และ สว นฐานของตัวหวั รบใชเปน ที่สาํ หรบั ตดิ ตั้งสว นฝารองรบั ซึ่งใชส าํ หรบั ติดตั้งเชื้อปะทุหวั รบ ๒. สวนตวั จรวด ๒.๑ ตวั จรวด คือสว นกลางของลกู จรวด ภายในตวั จรวดบรรจุไวด วยดินสง หลกั ดนิ สง หลัก มีลักษณะเปนแทง เช้ือเพลิงแขง็ สีดํา รปู ทรงกระบอก เจาะเปน รไู วตรงกลางเพื่อเพมิ่ พนื้ ทีใ่ นการ เผาไหม ซ่ึงจะมผี ลทําใหเ กดิ แรงขบั ผลักดันใหล ูกจรวดเคลอื่ นท่ไี ปยังเปาหมายและทต่ี ัวจรวดนีจ้ ะตดิ ต้งั จอก กระทบแตกไวต รงบริเวณสว นทา ยสดุ ของตัวจรวด ซึ่งเม่อื บรรจลุ ูกจรวดเขากบั เครือ่ งยิงเรียบรอ ยแลว ทาํ ใหจ อกกระทบแตกอยูตรงกบั ชองเขม็ แทงชนวนของลํากลอ งเขา กบั เครอื่ งยิงไดพ อดี ๓ สว นหางนาํ ทิศาและดนิ สง เพมิ่ ๓.๑ หางนาํ ทิศและดนิ สงเพ่ิม คือ สวนประกอบทา ยสุดของลูกจรวด ซง่ึ สามารถทจี่ ะ ทาํ การถอดออกจากตวั จรวดหรอื ประกอบเขา กับตัวจรวดก็ได โดยการคายหรอื ขันเกลยี วตามทตี่ อ งการและ ตรงกลางหางนาํ ทศิ จะตดิ ต้ังครีบหางนําทศิ ไว ๔ ครบี ครบี หางนําทศิ นจี้ ะกางออกเมื่อลูกจรวดพน ปาก ลาํ กลองและตรงปลายของหางนําทิศ จะทาํ เปนครีบโลหะไวเ พื่อใหล กู จรวดหมนุ ทวนเขม็ นาฬกิ า ในขณะท่ี ลกู จรวดว่ิงไปยงั เปา หมาย ทห่ี างนําทศิ จะประกอบไปดว ยดนิ สงเพ่ิม ดินสง เพ่มิ มลี ักษณะเปน แผน ยาวเรยี วสี นา้ํ ตาล จาํ นวน ๑๖๐ แผน บรรจุไวในปลอกกระดาษและหอ หมุ อยูโดยรอบหางนาํ ทิศ ดินสงเพมิ่ จะถูกเผา ไหมห มดไปในทนั ที เม่อื เกิดการกระทบกบั ปลายเปลวเพลงิ จากดนิ จดุ ซ่ึงบรรจุอยูในถงุ ผาภายในแกนกลาง ของหางนําทศิ หนาท่สี าํ คัญของดนิ สง เพ่ิมกค็ อื จะทาํ ใหค วามเร็ว ณ ปากลาํ กลองของลกู จรวดไดท วีความเรว็ มากขึ้นกวา ปกติ ๔. การทํางานของลกู จรวด ลกู จรวด อาร พี จี ๗ ขนาด ๘๕ มม. แบงระบบการทาํ งานออกไดเ ปน ๒ ลกั ษณะ คอื ระบบการทํางานของตวั จรวด และระบบการทํางานของหวั รบ ๔.๑ ระบบการทํางานของตวั จรวด ตามปกตแิ ลว ในการเตรียมลูกจรวด เพ่ือจะใชท าํ การยงิ นน้ั พลยงิ จะตอ งประกอบหางนําทิศและดินสงเพิม่ เขา กับตัวจรวด และขันใหแ นน เสียกอนเสมอ ในขณะทพี่ ลยงิ ทําการเหนยี่ วไกปน น้ัน การทาํ งานของเครือ่ งลั่นไก จะดันใหเข็มแทงชนวน เคล่ือนท่ีพุง เขา ไปในชองเขม็ แทงชนวนของลํากลองเครอ่ื งยิง กระแทกตอจอกกระทบแตกของตวั จรวด

๖ ท่ีบรรจอุ ยูภายในลํากลองนน้ั ในขณะที่จอกกระทบแตกถกู กระแทกนั้นกจ็ ะทําใหเกดิ การจดุ ชนวนขนึ้ และ จากผลการจุดชนวนนีจ้ ะทําใหเ กิดการเผาไหมต อ ดนิ จุดซ่งึ บรรจอุ ยภู ายในถงุ ผา ภายในแกนกลางของหางนํา ทิศใหเกิดประกายเพลิงข้นึ ประกายเพลงิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ นจ้ี ะไปจดุ ดนิ สง เพมิ่ ซง่ึ หอ หมุ อยรู อบ ๆ หางนําทิศให เผาไหมข ึ้นทนั ที และในขณะเดียวกนั นน้ั เอง จากผลการจดุ ชนวนดงั กลา วแลว น้นั การเผาไหมอ ีกทางหนึ่ง กจ็ ะเผาไหมตอ ดินสงหลัก ซงึ่ บรรจุอยภู ายในตวั จรวดดวย เพราะฉะนน้ั แกส ท่ีเกดิ จากเผาไหมข องดนิ สง เพมิ่ และดนิ สงหลกั ตามท่ีกลา วมาแลว จะมีผลทําใหเ กิดแรงผลกั ดันใหล กู จรวดสามารถเคล่ือนท่ีออกจาก ปากลํากลอ ง ไดอ ยา งตอเนอ่ื งจนกระท่งั ลกู จรวดนน้ั กระทบเปาหมาย ๔.๒ ระบบการทํางานของหวั รบ ในขณะท่ีลูกจรวดว่ิงกระทบเปา หมายนนั้ เคร่อื งกาํ เนิด ไฟฟาซง่ึ ตดิ ตั้งอยูต อนปลายสดุ ของหวั ปลอมของลูกจรวด กจ็ ะเกดิ เปน ประกายไฟขนึ้ และกระแสไฟฟา ที่เกดิ ขึน้ นจ้ี ะเคลื่อนทไี่ ปตามวงจรของเคร่ืองกําเนดิ ไฟฟา ซง่ึ เชื่อมโยงไปเขา กบั ระบบการทาํ งานของเช้ือปะทุ หัวรบของลูกจรวดซึง่ ติดต้งั อยูภายในตรงสวนฐานของตัวหวั รบของลูกจรวดนั้น และไปกระตุนใหเ ชอ้ื ปะทุ หัวรบของลูกจรวดเกดิ การระเบดิ ขน้ึ ซึ่งจะมีผลใหด ินระเบิดแรงสูงผสมไฮโดรเจนทบ่ี รรจอุ ยภู ายในหัวรบ ซึ่งเปน ดนิ โพรงน้ันเกดิ การระเบดิ ข้นึ ในทนั ที ๕. การปฏิบัตติ อเคร่อื งยิง ๕.๑ การปฏบิ ัติตอ เคร่อื งยงิ ๕.๑.๑ ทาํ ความสะอาดลํากลองใหสะอาด ๕.๑.๒ ตรวจการทํางานของเครอื่ งล่ันไก, หามไก, เข็มแทงชนวน ๕.๒ การเตรยี มลกู จรวดเพอ่ื การยิง ๕.๒.๑ ตรวจความเรยี บรอยโดยทว่ั ๆ ไปของลูกจรวดถอดฝาครอบทายลูกจรวดออก ๕.๒.๒ ประกอบหางนําทศิ และดนิ สงเพม่ิ เขากบั ลูกจรวด ตรวจและขันเกลียวใหแนน ๕.๒.๓ ดึงสลกั ฝาครอบเครอ่ื งลนั่ ไกใสฝ าทีห่ ัวลูกจรวดและถอดฝาครอบออก ๖. การบรรจุ ๖.๑ หา มไก ๖.๒ ใหห ันปากลาํ กลอ งเครือ่ งยิงไปยงั ทศิ ทางทีจ่ ะยิง ๖.๓ ใชมือขวาบรรจุลูกจรวดซ่ึงประกอบดว ยดินสงเพิ่มเรียบรอยแลว เขาทางปากลาํ กลอง ๖.๔ หากบรรจไุ มสะดวก ใหห มนุ ลกู จรวดไปทางดา นซา ยและทางดานขวาเลก็ นอ ยพรอมกบั กดลกู จรวดลงไปจนกระทง่ั สลักยดึ ลกู จรวดอยูใ นชองบากของลาํ กลองซงึ่ จะทาํ ใหจ อกกระทบแตกของลกู จรวด ซงึ่ อยตู รงสว นทา ยของตวั จรวดตรงกบั ชอ งเข็มแทงชนวนพอดี ๗. การยงิ ๗.๑ ยกศนู ยห นา และศนู ยหลงั ข้ึน ๗.๒ เปดหามไก ดนั หามไกจากขวาไปซา ยจนเหน็ แทบวงแหวนสีแดงชนหามไก ๗.๓ ข้นึ นก ๗.๔ จัดทา ยิง ตรวจพ้ืนทย่ี ิง พน้ื ท่ีอันตรายทา ยเคร่อื งยงิ แนวเสนเล็ง

๗ ๗.๕ ลัน่ ไก ทา ลกู จรวดไมท าํ งานใหค อย ๑๕ วนิ าทีแลวข้ึนนกและล่ันไกซ้าํ อกี ครงั้ หนง่ึ ถายงั ไมท ํางานคอย ๑๕ นาทีแลว ใหเ ลกิ บรรจลุ ูกจรวดนัน้ เสยี ๘. การเลกิ บรรจุ ๘.๑ หา มไก ๘.๒ พับศูนยห นาและศูนยห ลัง ๘.๓ นําลูกจรวดออก ๘.๔ ลดนกปน ๘.๕ แยกลูกจรวดและหางนาํ ทิศออกจากกนั ๘.๖ ใสฝ าครอบหวั ลกู จรวดและสลัก ๙. เหตตุ ิดขดั สาเหตุท่ีทาํ ใหเ ครื่องยงิ เกดิ ตดิ ขดั มี ๓ ประการ คือ ๙.๑ เกดิ จากลกู จรวด เนอ่ื งจากจอกกระทบแตกเสือ่ ม ๙.๒ เกดิ จากเครื่องยงิ เข็มแทงชนวนชํารดุ และแหนบนกปนออน ๙.๓ เกดิ จากการบรรจุ บรรจไุ มเ ขา ท่ีทําใหจ อกกระทบแตกไมต รงกบั ชอ งเข็มแทงชนวน ๑๐. ระเบยี บปฏิบตั ิเมื่อเครื่องยิงติดขดั ถา เคร่อื งยิงเกดิ เหตตุ ดิ ขัด พลประจําเคร่ืองยิงจะตองจัดทายิงใหใกลเ คยี งกบั ทายิงไปยังเปา หมาย พ้ืนท่อี นั ตรายหลังเคร่อื งยิงจะตองไมม ีบคุ คลหรอื สง่ิ กดี ขวางใด ๆ อยู ๑๐.๑ สาเหตกุ ารตดิ ขดั ๑๐.๑.๑ เขม็ แทงชนวนหลวม ๑๐.๑.๒ จรวดดา น ๑๐.๑.๓ บรรจลุ ูกจรวดไมเขา ๑๑. การตรวจสภาพทว่ั ไป ๑๑.๑ ตรวจฝนุ , สนมิ ตามสวนตา ง ๆ ๑๑.๒ ตรวจศนู ยหนา – ศูนยห ลงั เครอื่ งเล็ง ๑๑.๓ ตรวจสภาพเครื่องล่ันไก ๑๑.๔ ตรวจเครื่องลนั่ ไกและเขม็ แทงชนวนโดยปฏบิ ตั ดิ ังนี้ ๑๑.๔.๑ ข้นึ นก ๑๑.๔.๒ ใชกระดาษบางสอดระหวางนกปน กบั เข็มแทงชนวน ๑๑.๔.๓ ตรวจดูกระดาษทสี่ อดอยหู ากมรี อยกระดาษขาด แสดงวา การทาํ งานของนกปน เปนปกติ ถา กระดาษไมขาดแสดงวา แหนบนกปน ออ นและดทู เ่ี ข็มแทงชนวน แปนเกลยี วเข็มแทงชนวนให เรยี บรอ ย ๑๒. การทาํ ความสะอาด อปุ กรณทําความสะอาด

๘ ๑๒.๑ แสประจําเครือ่ งยงิ พรอ มดอกแส ๑๒.๒ ผา สะอาด ๑๒.๓ นา้ํ มันหรือสบู ๑๒.๔ นาํ้ มันชโลม ๑๓. การปรบั และตรวจสอบเสนเลง็ จะกระทาํ เม่อื มปี ญหาความคลาดเคล่ือนทง่ั ในทางทศิ และทางระยะระหวา งตําบลกระสนุ ตกกับ ตาํ บลเลง็ ๑๓.๑ เคร่ืองมือสําหรบั ตรวจสอบเสน เลง็ ๑๓.๒ ทอโลหะตรวจแนวลํากลอ ง ๑๓.๓ ฐานของเครือ่ งยิง ๑๔. การฝก ยงิ เบ้อื งตน การเลง็ และการลัน่ ไก ๑๔.๑ การเลง็ เครอื่ งยิงจรวด อาร พี จี ๗ ทําการเลง็ ดว ยวธิ กี ารเลง็ แบบนั่งแทน โดยอาศยั ศนู ยห นา และ ศูนยห ลงั ๑๔.๒ การลน่ั ไก กระทําในลักษณะเชน เดยี วกบั การลั่นไกอาวธุ ประจาํ กายชนิดอนื่ ๆ ๑๕. ทา ยิงเครอื่ งยิงจรวด อาร พี จี มี ๔ ทา คือ ๑๕.๑ ทา ยนื ยงิ ๑๕.๒ ทานัง่ คุกเขายงิ ๑๕.๓ ทา น่ังราบยงิ ๑๕.๔ ทานอนยงิ ๑๖. เคร่อื งมอื เครอ่ื งใช ๑๖.๑ แสทาํ ความสะอาด ๑๖.๒ กญุ แจปากตายถอดเรือนเขม็ แทงชนวน ๑๖.๓ สลักเหล็กขนาดเลก็ ๑๖.๔ เคร่อื งมือสําหรับถอดแหนบนกปน ๑๖.๕ ทอ โลหะตรวจขอบลํากลอ ง เครื่องยงิ จรวด ขนาด ๔๐ มม. หรอื อาร พี จี ๒ มีขนาดกวา งปากลาํ กลอง ๔๐ มม. เปนอาวุธเสริม ใชกับหนวยระดับหมปู น เลก็ ทหารราบ มอี ํานาจในการทําลายรายแรง ใชสาํ หรบั ยงิ ทาํ ลายยานพาหนะ รถถัง รถเกราะ และปน ใหญ นอกจากนน้ั ยงั ใชย งิ ทําลายปอ มสนามของฝายตรงขามไดดวย และใชย ิงสงั หารบคุ คล เปนกลุมกอ น และเปน อาวธุ วิถีราบ ทําการยิงดว ยวธิ กี ารเลง็ ตรง บรรจุกระสนุ ทางปากลํากลอ ง ทําการยงิ

๙ ทลี ะนัด ไมม ีแรงสะทอนถอยหลัง เครื่องยงิ จรวดชนิดนใ้ี ชย งิ กับลูกจรวดตอ สรู ถถงั ซ่ึงขนาดใหญก วา ปากลํากลอ ง อํานาจการเจาะเกราะสูง ๒. ความมงุ หมาย เพอื่ ใหท ราบถงึ คณุ ลักษณะ ขดี ความสามารถ การถอดประกอบ การทาํ งานของเครือ่ งกลไก การทาํ งานของลูกจรวดตลอดจนการแกไขเหตตุ ดิ ขดั การบรรจุ การเลกิ บรรจุ การบาํ รงุ รกั ษา และการ ทาํ ความสะอาด ๓. รายการท่วั ไป ๓.๑ น้ําหนกั ๓.๑.๑ เครือ่ งยงิ ๒.๘ กิโลกรัม ๓.๑.๒ ลกู จรวด ๑.๖๒ กโิ ลกรมั ๓.๑.๓ หลอดดินสง ๐.๒๒ กโิ ลกรมั ๓.๒ ความยาว ๓.๒.๑ ลํากลอง ๙๕ เซนติเมตร ๓.๒.๒ ลูกจรวด ๕๐ เซนตเิ มตร ๓.๒.๓ หลอดดนิ สง ๑๗ เซนตเิ มตร ๓.๒.๔ ลูกจรวด + ดนิ สง ๖๗ เซนตเิ มตร ๓.๓ ความกวา ง ๔๐ มลิ ลเิ มตร ๓.๓.๑ ปากลาํ กลอง ๘๒ มลิ ลิเมตร ๓.๓.๒ ลกู จรวด ๓.๔ ระยะยงิ ๓.๔.๑ ความเร็วตน ๘๕ เมตร/วนิ าที ๓.๔.๒ อัตราการยงิ ๔ – ๖ นัด/นาที ๓.๔.๓ มาตราระยะยิงศนู ยห ลงั ๕๐ – ๑๕๐ เมตร ๓.๔.๔ ระยะยงิ ไกลสุด ๖๐๐ เมตร ๓.๔.๕ ระยะยิงหวังผล ๑๕๐ เมตรลงมา ๓.๕ ขดี ความสามารถ ๓.๕.๑ เจาะเกราะเหล็กกลา ๑๘๐ มิลลิเมตร ( กระทบตั้งฉาก) ๓.๕.๒ เจาะคอนกรตี ๖๐ – ๘๐ เซนตเิ มตร ๓.๕.๓ เจาะดนิ ๑ – ๑.๒ เมตร ๓.๖ พ้ืนท่อี นั ตราย ๓.๖.๑ เปน รปู กรวยทํามุม ๖๐ องศา ๓.๖.๒ หางจากทายเคร่ืองยงิ ๑๐ – ๑๕ เมตร ๓.๖.๓ พื้นทอ่ี นั ตรายประมาณ ๑๐ ตารางเมตร

๑๐ ๔ สว นประกอบของการยิง ประกอบดว ย ๔ สว นไดแ ก ๔.๑ ลํากลอง ๔.๒ เคร่อื งลัน่ ไก ๔.๓ เคร่อื งเลง็ ๔.๔ เข็มแทงชนวน ๕. การถอดประกอบ ๕.๑ เครื่องล่ันไก ๕.๑.๑ หมนุ เกลยี วและสลกั ยดึ เรอื นเครื่องล่ันไก ๕.๑.๒ หมนุ เกลียวฝาประกบั เคร่ืองลั่นไก ๕.๑.๓ ฝาประกบั เครอื่ งล่ันไก ๕.๑.๔ หมดุ เกลยี วยึดกระเด่ืองนกปน ๕.๑.๕ กระเดอ่ื งนกปน ๕.๑.๖ แหนบและแกนแหนบนกปน ๕.๑.๗ สลกั ไก ๕.๑.๘ ไก ๕.๑.๙ หามไก ๕.๑.๑๐ แหนบและครอบแหนบหา มไก ๕.๑.๑๑ หมดุ เกลยี วยดึ ฝาประกับดา มปน ๕.๑.๑๒ โครงเครอื่ งล่นั ไก ๕.๒ ชุดเขม็ แทงชนวน ๕.๒.๑ แปน เกลียวเขม็ แทงชนวน ๕.๒.๒ สลักฝาครอบเขม็ แทงชนวน ๕.๒.๓ ฝาครอบเขม็ แทงชนวน ๕.๒.๔ แหนบเข็มแทงชนวน ๕.๒.๕ แหนบปองกนั แกส ๕.๒.๖ เข็มแทงชนวน ๖. การทาํ งานของเครอื่ งกลไก แบง เปน ๒ ลักษณะ คือ การทาํ งานของเครอื่ งล่ันไกและการทาํ งานของ สว นเข็มแทงชนวน ๖.๑ การทํางานของเครอื่ งลนั่ ไก แบง ออกเปน ๓ ขนั้ ตอน ๖.๑.๑ การข้ึนนก เมื่อขึน้ นกจะทาํ ใหแ หนบและแกนแหนบนกปน ยบุ ตวั ตาํ่ ลง แหนบ นกปนจะถูกอดั ตัว ทาํ แงห นา นกปนขดั กบั แงก ระเดื่องของนกปน ๖.๑.๒ การล่นั ไก เม่อื เหนยี่ วไกมาขางหลัง ทําใหสวนบนของไกปน สงู ขน้ึ ไปดันกระเดื่อง นกปนใหสงู ขน้ึ ดวย ทําใหแ งข องกระเด่อื งนกปน พน จากแงหนาของนกปน แหนบนกปนจะขยายตวั นกปน

๑๑ เปนอสิ ระ ทาํ ใหนกปน ไปตที ายเขม็ แทงชนวน และสวนโคง ดา นสน้ั ของแกนแหนบนกปน จะบงั คับให นกปน กลับมาท่เี ดมิ ๖.๑.๓ การทาํ งานของเครอื่ งนิรภัย (หา มไก) ๖.๑.๓.๑ หามไก เมอื่ กดหา มไกอยใู นตาํ แหนงหาม จะทาํ ใหแทน หา มไกดานเตม็ ไปตรงกับดา นหลงั ของไก ทําใหเหนยี่ วไกมาขางหลงั ไมได การหา มไกจะตอ งกดสลกั หามไกจากซายไปขวา ใหวงแหวนสแี ดงหายไปในเรอื นเครื่องลนั่ ไก ๖.๑.๓.๒ เปด หา มไก เมื่อปลดหา มไกอยใู นตาํ แหนง ปลดหามไก จะทําใหช องเวา ของแทนหา มไกมาตรงสว นหลังไก ทาํ ใหเหนย่ี วไกมาขางหลงั ได ทําใหก ารปลดหา มไกจะตอ งกดสลกั หา มไกจากขวาไปซาย ๖.๒ การทํางานของเขม็ แทงชนวน การทน่ี กปนจะเคล่ือนทไ่ี ปตตี อทา ยเขม็ แทงชนวนนน้ั ตาํ แหนง ทอ่ี ยขู องชนิ้ สว นตา ง ๆ ของ เขม็ แทงชนวนจะอยใู นลักษณะปกติ คอื จุกเกลยี วครอบชดุ เขม็ แทงชนวน จะกดใหแ หวนปองกนั แกสอยกู ับ แง ซ่ึงอยูในชอ งของแทนรับเรอื นเข็มแทงชนวนซงึ่ ตดิ อยูก บั ลาํ กลอ งเครอ่ื งยิง เข็มแทงชนวนจะถูกแหนบ เขม็ แทงชนวนกดไวใ หอยูในตําแหนง ทต่ี ่ําท่สี ดุ และสว นทเี่ ปน แปนเขม็ แทงชนวนจะแนบสนิทอยูกบั แหวนปอ งกนั แก็ส ปลายของเข็มแทงชนวนจะอยูใ นชอ งเขม็ แทงชนวนของแทน รบั เรือนเข็มแทงชนวน ท่ีตดิ อยูกับลํากลอ ง แตจ ะไมย นื่ โผลพ นเขาไปในลํากลอง ในขณะทาํ การเหนยี่ วไก นกปน จะตีทายเข็มแทงชนวน จงึ ผลักดนั ใหเข็มแทงชนวนเคลื่อนทีข่ ้ึนไป ทางขางบน จนกระท่งั ปลายเขม็ แทงชนวนโผลเขา ไปภายในลาํ กลอ งเครื่องยิงทางชองเข็มแทงชนวนของ ลาํ กลอ งเครื่องยงิ และปลายของเข็มแทงชนวนจะไปกระทบตอ จอกกระทบแตก ที่สวนทา นของลูกจรวดซ่งึ บรรจุอยูใ นลาํ กลอง ในขณะทเี่ ข็มแทงชนวนเคลือ่ นทีข่ นึ้ ไปขา งบนนนั้ แหวนบังคบั แหนบเขม็ แทงชนวนเกิด อาการอดั แหนบไว เม่อื นกปนตตี อ ทา ยเขม็ แทงชนวนแลว แงสวนโคงดา นสน้ั ของแกนแหนบนกปนจะดนั ใหน กปน เคล่อื นทกี่ ลับมาทเี่ ดมิ (ในลกั ษณะกอ นการขนึ้ นก) จงึ ทําใหเ ข็มแทงชนวนมีอิสระเมื่อเขม็ แทงชนวนมีอิสระ แหนบเข็มแทงชนวนซ่ึงอัดตวั อยจู ะขยายตวั และดนั แหวนบงั คบั แหนบเขม็ แทงชนวนใหเคลื่อนทล่ี งมาทาง ขา งลา ง จึงมีผลทาํ ใหเ ขม็ แทงชนวนเคลือ่ นทีถ่ อนตัวออกจากชอ งเข็มแทงชนวนของลํากลองเครอ่ื งยงิ ดว ย และมาวางตัวอยใู นชองเขม็ แทงชนวนของแทน ชุดรบั เขม็ แทงชนวนทตี่ ิดอยกู ับลาํ กลอ งของเครือ่ งยงิ ใน ลกั ษณะเดิม ตอนท่ี ๓ ลกู จรวด ลกู จรวดสําหรบั เคร่อื งยิงจรวด ขนาด ๔๐ มม. เปนลกู จรวดทใ่ี หญก วา ปากลาํ กลอ ง คอื มขี นาด หวั รบ ๘๒ มม. เปนลูกระเบดิ ชนดิ ระเบดิ แรงสูงตอ สรู ถถงั และนอกจากนนั้ ยังใชท ําลายปอ มสนาม

๑๒ และขาศกึ เปน กลมุ กอนไดด ว ย มีระยะยิงหวังผลสูงสดุ ในระยะยงิ ไมเกิน ๑๕๐ เมตร อํานาจการทะลุทะลวงน้ี เกิดจากการบรรจุใหดนิ ระเบดิ เปนรูปกรวยมีท่วี างอยดู า นหนา เมื่อลกู จรวดวงิ่ ชนเปา หมาย ความรอนทีเ่ กดิ จากการรวมเขา สูจดุ ศูนยก ลางเดียวกนั จะละลายเกราะเหลก็ เขาไปและจะระเบิดขน้ึ ทําลายส่งิ อุปกรณต าง ๆ ๑. ลกู จรวด ประกอบดว ยสว นใหญไ ดแ ก ๑.๑ หวั รบ ๑.๒ ชนวนหวั รบ ๑.๓ หางนาํ ทศิ ๑.๔ หลอดดนิ สง ๑.๑ หัวรบ เปน สว นหวั ของลูกจรวดซง่ึ บรรจุดนิ ระเบิดแรงสูง และมีหนา ท่รี ะเบดิ ทําลายตอ เปา หมายโดยตรง หัวรบแบง ออกเปน ๒ สวน คือ หวั ปลอมและตวั หัวรบ ๑.๑.๑ หัวปลอม เปนรูปทรวงกรวยยาวทาํ ดว ยโลหะบาง ๆ ภายในกรวยมหี นาทส่ี ําคญั คอื ชวยไมใ หล กู ระเบิดตานลมมากเกินไปในขณะทพ่ี งุ ไปในอากาศสเู ปา หมาย รักษาขีปนวิธีของลกู จรวด และ เปนตัวกระทบเปา หมายกอนหัวรบเริม่ ทาํ งาน ๑.๑.๒ ตัวหัวรบ ภายในบรรจุดินระเบดิ ทีเอ็นที แรงสงู ผสมไฮโดรเจน และตรงสว นของ ตัวหวั รบจะตดิ ตั้งสวนฝารองรับ ซ่ึงที่ฝารองรับนี้จะเปน ทีต่ งั้ ชนวนหวั รบ ซึ่งมหี นา ที่จุดระเบดิ ตวั หัวรบ เม่อื หัวรบกระทบเปา หมาย ๑.๒ ชนวนหวั รบ มีรูปรา งลักษณะเปน หลอดรปู ทรงกระบอกขนาดเลก็ ซ่ึงจะประกอบตดิ ตง้ั อยู ทสี่ ว นฝารองตวั หวั รบ ชนวนหวั รบ มสี ว นประกอบท่ีสาํ คัญ ๆ ดังน้ี ๑.๒.๑ เรอื นชนวนหวั รบ ๑.๒.๒ จุกเกลยี วปด ทายชนวนหวั รบ ๑.๒.๓ ปลอกแหนบนิรภยั ๑.๒.๕ เรอื นเข็มแทงชนวน ๑.๒.๖ แหนบเข็มแทงชนวน ๑.๒.๗ แทงลกู ว่ิง ๑.๓ หางนําทิศ เปน สว นกลางของลกู จรวด ปลายขา งหน่งึ มีเกลยี วซึ่งใชต อ หวั รบ และปลายอกี ขางหนึง่ ใชเปนทีต่ อกับหลอดดินสง ทีส่ วนกลางของหางนําทศิ จะมคี รบี หางนาํ ทิศ จํานวน ๖ ครีบ ซงึ่ ตดิ ตั้งเรยี งรายไวโดยรอบทอสงกระบอกในลักษณะหา ง ๆ กัน ที่สว นทา ยของหางนาํ ทศิ จะมจี อกกระทบ แตก (ลกั ษณะเดยี วกบั จอกกระทบแตกของกระสุนปน ) ทจ่ี อกกระทบแตก จะมหี ลอดดินขยายการระเบดิ ติดอยู ภายในบรรจุดินดําปลายดานหน่งึ ของหลอดดนิ ขยายการระเบิดจะติดอยกู บั จอกกระทบแตก และปลาย อกี ดานหนงึ่ จะตอไปยังหลอดดนิ สง ๑.๔ หลอดดนิ สง มีลกั ษณะเปน หลอดรูปทรงกระบอก ปลายดา นหน่ึงจะมีรองเกลียวเพอื่ ขันเขา กบั หางนําทิศ ภายในหลอดดนิ สง จะบรรจุดว ยดินดาํ ดนิ ดาํ ภายในหลอดดินสงจะระเบดิ ขนึ้ ไดก ็ตอ เมอื่ หลอดดิน

๑๓ ขยายการระเบดิ มาจดุ ตอดนิ ดาํ ดนิ ดาํ ก็จะระเบิดขนึ้ จะมแี รงผลักดันใหล กู จรวดเคลือ่ นท่อี อกไปจากปาก ลํากลอ งเคร่อื งยงิ ๒. การทํางานของลูกจรวด ลกู จรวด อารพ ีจี ขนาด ๘๒ มม. แบง ระบบการทาํ งานออกเปน ๒ ลกั ษณะ คอื ระบบการ ทาํ งานของชดุ หางนําทิศและหลอดดินสง และระบบการทาํ งานของหัวรบ ๒.๑ ระบบการทาํ งานของชุดหางนําทศิ และหลอดดนิ สง ในขณะทพี่ ลยิงทาํ การเหนย่ี วไกปนน้ัน การทํางานของเรือนเคร่ืองล่นั ไก จะผลัดดันใหเขม็ แทงชนวนเคลื่อนท่พี ุงเขาไปในชอ งเขม็ แทงชนวนของ ลํากลองเคร่อื งยงิ และกระทบตอจอกกระทบแตกของลกู จรวด ซึ่งบรรจอุ ยภู ายในลาํ กลอ งน้ัน ในทนั ทที จี่ อก กระทบแตกถกู กระแทกจะเกดิ การจดุ ชนวนข้ึน จะเผาไหมดินขยายการระเบดิ ทบ่ี รรจอุ ยูภายในหลอดดิน ขยายการระเบดิ และตอ หลอดดินสง ซึ่งตดิ ตั้งตอ เชอ่ื มอยกู บั จอกกระทบแตกอยตู ามลําดบั เนือ่ งจากวาหลอด ดนิ สงของลูกจรวด อาร พี จี เปน สว นประกอบชนดิ หนงึ่ ของลูกจรวด ทีน่ ํามาตดิ ตงั้ ไวก บั ชุดหางนาํ ทิศเม่ือ จะใชย งิ ฉะนนั้ เม่ือหลอดดินขยายการระเบิดและทอตอ หลอดดนิ สง เกิดการเผาไหม จงึ เปน ชนวนจุดให ดนิ สงซ่ึงบรรจอุ ยูภ ายในหลอดดินสง ซ่ึงนํามาติดไวก ับจุกหางนําทิศในสว นทา ยของลกู จรวด เกดิ การระเบดิ ขนึ้ ในทันที แกส ทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการระเบดิ ของหลอดดินสง จะขบั ดันใหลูกจรวดเคล่อื นทอ่ี อกไปจากปาก ลาํ กลอ งเคร่ืองยงิ ๒.๒ ระบบการทํางานของหวั รบ ในลกั ษณะท่ีลูกจรวดยังบรรจอุ ยูทป่ี ากลาํ กลอ งของเครอื่ งยงิ นั้น ชนวนหวั รบยงั อยูในสภาพปลอดภัย เพระปลอกแหนบนิรภัย ไมส ามารถจะเคลอ่ื นไหวไดเ นอื่ งจากสลกั เข็ม แทงชนวนจะดนั ผนังดานในของปลอกแหนบนิรภยั ไวอ ยา งแนบแนน จะมีหมดุ ดมุ ขนาดเล็กทอ่ี ยบู นฐานเข็ม แทงชนวน วางขัดอยูตรงสว นลา งของรอ งปลอกแหนบนริ ภัยทางดานหลัง จึงทําใหเ ขม็ แทงชนวนนิ่งอยกู ับท่ี และไมมีโอกาสจะเคลือ่ นท่ไี ปแทงจอกกระทบแตกได เมื่อลกู จรวดเรมิ่ เคลือ่ นท่ีออกไปจากปากลาํ กลองแลว ในระยะประมาณ ๑.๕ – ๑.๘ เมตร ความเรว็ ในการเคล่อื นท่ีของลูกจรวด ทีเ่ คล่ือนท่ีพงุ ไปขางหนาดว ยแรงดนั ของแกส ทีเ่ กดิ ข้ึนจากการระเบดิ ของหลอด ดนิ สง นน้ั ยอมจะกอ ใหเ กดิ “แรงเฉ่ือยไปทางดา นหลงั ” ขึ้นภายในชนวนหวั รบทมี่ ากพอ ทําใหป ลอกแหนบ นริ ภัยเคลือ่ นทไ่ี ปขางหลงั ไดโ ดยอัตโนมตั ิ ในลกั ษณะท่เี คลอ่ื นทถ่ี อยมาขา งหลงั พรอมกบั หมนุ ตวั เองไปใน ทศิ ทางตามเขม็ นาฬกิ า เพราะวามหี มุดดมุ อยบู นฐานเข็มแทงชนวน ซ่ึงวางขัดอยใู นรองซกิ แซกทางดา นหลงั ของปลอกแหนบนิรภยั เปน เครอ่ื งบังคับใหหมุนตวั ไป ลกั ษณะการทป่ี ลอกแหนบนิรภยั เคลื่อนท่ลี งมาขา ง หลังพรอ มกับหมนุ ตวั ไปดว ยนี้ จะทําไหห วั สลักเข็มแทงชนวนท่ีถูกผนังดา นในของปลอกแหนบนริ ภัยกดทบั ไวห ลุดพนจากการถูกกด และพงุ สูงออกมาดวยแรงดนั ของแหนบสลกั เข็มแทงชนวน จนมาเขา อยูในรอง ปลายแหนบนริ ภัยทางดานหนา และในลกั ษณะเดียวกันหมุดดมุ ขนาดเล็กทอี่ ยบู นฐานเขม็ แทงชนวนก็จะ เปล่ยี นทีส่ งู ข้ึนไปตามรองบากปลอกแหนบนิรภยั ทางดา นหลงั และหลบหายเขา ไปอยภู ายใตผนังดา นในของ ปลอกแหนบนิรภัย เมือ่ หวั สลักเข็มแทงชนวนโผลข น้ึ มาวางอยใู นรอ งปลอกแหนบนริ ภยั และหมุดดมุ เปล่ยี น ทอี่ ยอู อกไปจากรองปลอกนริ ภัย จึงทาํ ใหผ นังดา นในของปลอกแหนบนิรภยั ไมม แี รงดนั ของหวั สลกั เขม็ แทง ชนวน และไมมีหมดุ ดมุ ขดั อยทู างอกี ดานหน่ึง ปลอกแหนบนริ ภัยจึงลอยตัว และเคลอื่ นทไี่ ปขางหนา ไดด วย

๑๔ แรงขยายตวั ของแหนบนริ ภยั ลกั ษณะเชน น้ี จะทาํ ใหเ ข็มแทงชนวนเปน อสิ ระและลอยตวั อยภู ายในเรอื นเขม็ แทงชนวนโดยมหี วั สลกั เข็มแทงชนวนวงิ่ อยภู ายในรองปลอกแหนบนิรภยั ทงั้ นเ้ี พือ่ เปนการบังคับไมให เขม็ แทงชนวนหมนุ ไปโดยรอบตวั เอง (ถาหมนุ รอบตัวเองไดใ นขณะทีเ่ ปนอสิ ระ ยอ มจะทําใหม แี รงกระแทก ไปขา งหนานอ ยลงได ) ในโอกาสท่ลี กู จรวดยงั คงเคลอื่ นทไี่ ปขา งหนา ตอ ไปนั้น ปลายเข็มแทงชนวนจะไมมี โอกาสเคลือ่ นท่พี ุงไปขางหนาไดอกี เพราะที่หนาเขม็ แทงชนวนวางยนั อยูระหวา ง หนาเข็มแทงชนวนกับ สวนทา ยของจอกกระทบแตก ในทนั ทที ห่ี วั รบกระทบเปา หมายยอมจะกอใหเกิดเปน “แรงเฉอ่ื ยไปขางหนา” ข้ึนภายในชนวน หัวรบ แรงเฉอื่ ยไปขางหนาทเ่ี กิดขนึ้ จากแรงกระทบของหัวรบตอเปา หมายนน้ั จะบงั เกดิ แรงมากพอทจ่ี ะทาํ ใหแ ทงลูกว่ิงซงึ่ วางลอยตัวอยใู นจุกเกลยี วปดทายชนวนหัวรบ เคล่อื นทไี่ ปขางหนา อยา งแรง และดันท่ที า ย เข็มแทงชนวนซง่ึ ลอยตัวเปน อิสระอยู ใหเคลอ่ื นที่ไปขางหนา และมีแรงมากพอทจี่ ะดนั ใหแ หนบเขม็ แทง ชนวน ทวี่ างยันหนาเข็มแทงชนวนกับสวนทายของจอกกระทบแตก ใหเกิดการอดั แหนบจนปลายแหนมคม ของเข็มแทงชนวนทม่ิ แทงจอกกระทบแตกไดอยา งงา ยดา ย เมอ่ื ปลายเข็มแทงชนวนแทงจอกกระทบแตก จะทําใหเ กดิ การจุดชนวนทเ่ี ชื้อปะทุ และเผาไหมต อ ติดขยายการระเบิด จนกระท่ังจดุ ดินระเบดิ แรงสูงทบ่ี รรจอุ ยูภายในตวั หัวรบใหเ กดิ การระเบิดขึน้ ในทันที ๓. การประกอบของลูกจรวด ในการประกอบลูกจรวดเพ่ือใชง าน ใหปฏบิ ตั ิดังนี้ ๓.๑ สวมแหวนรัดหางนําทศิ เขากบั เครือ่ งมือพับครีบหางนาํ ทิศ ๓.๒ ถอดฝารองทา ยลกู จรวดออก ๓.๓ ใชเ คร่ืองมอื พับหางนาํ ทศิ พับหางนําทิศลง ๓.๔ ใชเ ครื่องมอื กดแหวนรัดลง รัดครีบหางนาํ ทิศ ๔. การเตรียมเครือ่ งยิง ๔.๑ กอนทําการยิงตอ งทําความสะอาดลาํ กลอง ตรวจการทํางานของเคร่อื งกลไก และ เครอื่ งนริ ภัย ๔.๒ ตรวจดจู รวดและประกอบดนิ ขบั เขาดว ยกนั จะตอ งไมม รี อยบบุ แตกบนหวั จรวดและ ครบี หางนาํ ทศิ แตอาจมรี อยบุบบนตวั จรวดไดบาง แตต อ งลึกไมเกิน ๑.๕ มม. ๔.๓ ตรวจเกลยี วตอระหวางาตัวจรวดกบั ตอดินขับอยางละเอยี ด เปด ฝากนั ฝุนทา ยลกู จรวดจึงตอ เขา ดวยกนั ๕. ทา ยงิ ทา ยงิ มาตรฐาน มี ๔ ทา สามารถยิงไดจากทายนื ยิง, ทา นัง่ คกุ เขา ยงิ , ทานงั่ ราบยงิ และทา นอนยงิ ทามที พ่ี าดจะตอ งใชปาก ลาํ กลองเลยทีพ่ าดออกไป ๖. การเลอื กทตี่ ง้ั ยิง จะตองคํานึงถงึ แกส ท่พี ุงออกมาจากดา นหลงั ของเครื่องยิง ควรจะใหมีระยะหา งจากกาํ แพงผนงั อยา งนอ ย ๕๐ เมตร จากทายเครอื่ งยิง

๑๕ ๗ การบรรจุ (หามไกกอนทกุ คร้ัง) ในการบรรจใุ หถ อื ลกู จรวดซง่ึ พรอมใชยิงดวยมือซาย แลวบรรจุทางหลอดดินสง เขา ทางปากลํากลอง จนกระท่ังสลกั บนลกู จรวดเขา ไปฝงท่บี ากบนของปากลํากลองใหสนทิ ในขณะนจ้ี อกกระทบแตกจะตรงกับ ชองเขม็ แทงชนวนพอดี ในการบรรจุ จะตอ งหนั ปากลาํ กลอ งไปยังทศิ ทางทีท่ าํ การยิงเสมอไป ในการบรรจุ ลกู จรวดใหสะดวกตอ งหมนุ ลกู จรวดตามเข็มนาฬิกา ภายหลงั การบรรจุ ปลดหามไก, ข้ึนนกแลวทาํ การเล็งยงิ , ทา ยิงแลวไมท ํางานใหย งิ ซ้าํ อีกคร้งั แตอยาเปล่ียนทา ยิง ยิงไปแลว ๗ – ๑๐ นดั ใหทําความสะอาด ๘. การเลิกบรรจุ ๘.๑ หา มไก ๘.๒ ถอดลูกจรวดออก ๘.๓ ถอดหลอดดินสง ๘.๔ พับครีบหางนําทศิ รดั ไว ๘.๕ เกบ็ ลูกจรวดและหลอดดนิ สง ใสถ งุ ปดฝา ๘.๖ ลดนกปน กลบั ที่เดมิ ๘.๗ พับศูนยห นา – หลัง ๘.๘ ปด ฝาครอบลํากลอ งดา นหนา – หลัง ตารางแสดงการเลง็ กะระยะ ระยะยงิ เมตร ๕๐ เมตร การเล็งเผ่ือ หมายเหตุ ๑๐๐ เมตร ๑๕๐ เมตร ๒๕ ๐.๕ ๑.๔ - เคร่อื งหมายทเ่ี ปน เครอ่ื งหมายลบ (-) ตองเล็งให ๕๐ ๐ ๑.๘ สงู กวา เปา หมาย ๖๐ - ๐.๕ ๑.๗ - ระยะตวั เลขเปนเมตร ๗๐ - ๑.๐ ๑.๕ - ตวั เลขท่ีไมม เี คร่อื งหมายลบ (-) จะตอ งทาํ การ ๗๕ - ๑.๔ เล็งตาํ่ กวาจดุ เลง็ ท่ีเปา หมาย ๙๐ - ๐.๘ ๑๐๐ - ๐ ๓.๖ ๑๑๐ - - ๐.๘ ๓.๒ ๑๒๐ - - ๑.๗ ๒.๗ ๑๒๕ - - ๒.๒ ๒.๓ ๑๓๐ - - ๑.๙ ๑๔๐ - - ๑.๗ ๑๕๐ - - ๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook