Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานตนเอง

รายงานตนเอง

Published by thesis.5611405937, 2020-05-31 04:43:03

Description: รายงานตนเอง

Keywords: รายงานตนเอง

Search

Read the Text Version

๔๗ เกณฑ์กำรประเมนิ ที่ ๔ คณุ สมบัติอำจำรย์ผู้สอน ท่ีเป็นอำจำรยป์ ระจำ  ผ่ำน  ไมผ่ ำ่ น ลำดับ ชอื่ /ฉำยำ/ วฒุ ิกำรศกึ ษำ ตำแหนง่ รำยวิชำที่สอน คณุ วฒุ อิ ำจำรย์ผสู้ อน นำมสกุล ทำง ๑ พระครูศรีกาญ ป.ธ.๗ วชิ ำกำร รำยวิชำที่สอน  สาขาตรง จนกติ ติ - ธรรมะภาคปฏิบตั ิ ๑  สาขาสัมพนั ธ์ ธรรมะภาคปฏิบตั ิ ๓  ส า ข า วิ ช า ข อ ง - ธรรมะภาคปฏิบตั ิ ๕ รายวชิ าที่สอน - ธรรมะภาคปฏิบตั ิ ๗ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ รำยวชิ ำท่สี อน ธรรมะภาคปฏิบตั ิ ๒ ธรรมะภาคปฏิบตั ิ ๖ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ๒ พระวิสุทธิพงษ์ พธ.ด. รำยวชิ ำทส่ี อน  สาขาตรง เมธี, ดร. (รัฐประศาสน บาลีไวยากรณ์ ๒  สาขาสมั พนั ธ์ ศาตร)์ พระพุทธศานสนากับ  ส า ข า วิ ช า ข อ ง M.A. สังคมสงเคราะห์ รายวชิ าทีส่ อน (ภาษาศาสตร)์ พระพุทธศาสนากบั พธ.บ. สนั ตภิ าพ (การบรหิ ารรฐั กิจ) ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ รำยวชิ ำท่ีสอน ภาษาศาสตรเ์ บื้องต้น ธรรมนเิ ทศ นเิ ทศศาสตรใ์ น พระไตรปิฎก ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ๓ พ ร ะ ค รู วิ ล า ศ พธ.ด. รำยวชิ ำทีส่ อน  สาขาตรง กาญ จน ธรรม , (การจัดการเชิง ดร. พุทธ) งานวจิ ัยและ  สาขาสัมพันธ์ พธ.ม. (การจัดการเชิง วรรณกรรมทาง  ส า ข า วิ ช า ข อ ง พระพทุ ธศาสนา รายวิชาท่สี อน ภาคเรยี นท่ี ๑

๔๘ ลำดับ ชือ่ /ฉำยำ/ วุฒกิ ำรศกึ ษำ ตำแหนง่ รำยวิชำทีส่ อน คุณวฒุ ิอำจำรยผ์ ้สู อน นำมสกลุ ทำง พุทธ) วิชำกำร ปีการศึกษา ๒๕๖๑ พธ.บ. - (การจัดการเชิง รำยวิชำทีส่ อน พุทธ) - วสิ ุทธมิ ัคคศกึ ษา - ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ๔ พระมหาบุญรอด พธ.ด. รำยวิชำท่สี อน  สาขาตรง มหาวโี ร, ดร. (รัฐประศาสน ศาตร)์ ภาษาองั กฤษ  สาขาสัมพันธ์ M.A. (ภาษาศาสตร)์ เบ้ืองตน้  ส า ข า วิ ช า ข อ ง พธ.บ. (การสอนสงั คม) ธรรมะภาค รายวิชาที่สอน ภาษาอังกฤษ พระพทุ ธศาสนากับ วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ รำยวชิ ำที่สอน ภาษาองั กฤษชั้นสงู วากยสัมพันธ์ ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๕ พระครูศรีธรรม พธ.ม. รำยวิชำที่สอน  สาขาตรง วราภรณ์ (รฐั ประศาสน เทคนิคการศึกษา  สาขาสัมพนั ธ์ ศาสตร์) ระดับอดุ มศึกษา  ส า ข า วิ ช า ข อ ง พธ.บ. ภาคเรียนท่ี ๑ รายวชิ าทส่ี อน (การบริหารรัฐกิจ) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ภา รำยวิชำที่สอน บาลีไวยากรณ์ ๔ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ๖ พระครูกาญจน พธ.ด. รำยวิชำที่สอน  สาขาตรง กจิ โสภณ, ดร. (การจัดการเชิง พุทธ) เทคนิคการศึกษา  สาขาสัมพันธ์ พธ.ม.(การจัดการ เชิงพทุ ธ) ระดับอุดมศึกษา  ส า ข า วิ ช า ข อ ง พธ.บ. ศกึ ษาอิสระทาง รายวชิ าทส่ี อน (พระพุทธศาสนา) พระพุทธศาสนา ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

๔๙ ลำดับ ช่อื /ฉำยำ/ วฒุ กิ ำรศกึ ษำ ตำแหนง่ รำยวชิ ำที่สอน คณุ วฒุ อิ ำจำรยผ์ ู้สอน นำมสกลุ ทำง วิชำกำร รำยวิชำที่สอน คณิตศาสตร์เบื้องตน้ เศรษฐศาสตรใ์ น ชีวิตประจาวนั พระพุทธศาสนากบั เศรษฐศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๗ พระมหาแวนสัน พธ.ม. - รำยวิชำที่สอน  สาขาตรง พุทฺธสีโล (การจัดการเชงิ บาลีไวยากรณ์ ๑  สาขาสัมพนั ธ์ พทุ ธ) แปลบาลีเป็นไทย-  ส า ข า วิ ช า ข อ ง พธ.บ. แปลไทยเปน็ บาลี ๔ รายวชิ าท่สี อน (พระพุทธศาสนา) ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ รายวชิ าที่สอน แปลบาลเี ป็นไทย- แปลไทยเปน็ บาลี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ๘ พระมหาบุญเรือง พธ.ม.(รัฐประศาสน - รำยวิชำท่ีสอน  สาขาตรง สิรปิ ุญฺโญ ศาตร)์ บาลีไวยากรณ์ ๓  สาขาสมั พนั ธ์ พธ.บ. แปลบาลเี ป็นไทย-  ส า ข า วิ ช า ข อ ง (พระพทุ ธศาสนา) แปลไทยเปน็ บาลี ๕ รายวชิ าท่ีสอน ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ รายวชิ าทสี่ อน แปลบาลเี ปน็ ไทย- แปลไทยเป็นบาลี ๖ แปลบาลเี ปน็ ไทย- แปลไทยเปน็ บาลี ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

๕๐ ลำดบั ชื่อ/ฉำยำ/ วุฒิกำรศึกษำ ตำแหน่ง รำยวชิ ำทส่ี อน คุณวฒุ อิ ำจำรยผ์ ู้สอน นำมสกลุ ทำง  สาขาตรง รำยวชิ ำทีส่ อน  สาขาสัมพันธ์ วชิ ำกำร พระไตรปฎิ กศึกษา  ส า ข า วิ ช า ข อ ง ภาษาสนั สกฤต รายวิชาทส่ี อน ๙ พ ระครูใบ ฎี กา พธ.ม. เบอื้ งต้น วัชระ นิมโล (วปิ ัสสนาภาวนา) พระพทุ ธศาสนากบั  สาขาตรง พธ.บ. วิทยาศาสตร์  สาขาสมั พนั ธ์ (พระพุทธศาสนา) ภาคเรียนท่ี ๑  ส า ข า วิ ช า ข อ ง ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ รายวชิ าทส่ี อน ๑๐ พ ระค รูสุ พั ฒ น พธ.ด รำยวิชำที่สอน กาญจนกิจ (พระพุทธศาสนา) พระอภิธรรมปฎิ ก  สาขาตรง พธ.บ. ภาคเรียนท่ี ๒  สาขาสัมพันธ์ (พระพุทธศาสนา) ปีการศกึ ษา๒๕๖๒  ส า ข า วิ ช า ข อ ง รำยวชิ ำทีส่ อน รายวชิ าที่สอน ๑๑ พ ร ะ ป ลั ด ธ วั ช พธ.ม. เทศกาลและ พธิ ีกรรมทาง สทุ ธฺ จิตโฺ ต (วิปัสสนาภาวนา) พระพทุ ธศาสนา ตรรกศาสตร์เบื้องต้น พธ.บ. จิตวิทยาใน พระไตรปฎิ ก (การจัดการเชงิ พระพทุ ธศาสนากับ สนั ตภิ าพ พทุ ธ) ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ รำยวชิ ำทส่ี อน ศกึ ษาศาสตรใ์ น พระไตรปิฎก ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ รำยวิชำทีส่ อน พระพุทธศาสนากับ สาธารณสุข ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

๕๑ ลำดบั ช่ือ/ฉำยำ/ วฒุ กิ ำรศึกษำ ตำแหนง่ รำยวชิ ำทส่ี อน คุณวุฒอิ ำจำรย์ผสู้ อน นำมสกลุ ทำง รำยวิชำที่สอน  สาขาตรง วิชำกำร พระพุทธศาสนากับ  สาขาสมั พันธ์ สงั คมสงเคราะห์  ส า ข า วิ ช า ข อ ง ๑๒ พระครูกาญจน พธ.ม. ภาคเรียนที่ ๑ รายวชิ าทส่ี อน ปีการศกึ ษา๒๕๖๒ ธรรมชยั (วปิ ัสสนาภาวนา) รำยวิชำที่สอน พระพทุ ธศาสนากับ พธ.บ การพฒั นาท่ยี ่งั ยืน ภาคเรยี นท่ี ๒ (พระพทุ ธศาสนา) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ๑๓ ดร.อัมพร พบ.ด. รำยวิชำทส่ี อน  สาขาตรง ทองเหลือง (ประชากรและ การพฒั นา) ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น  สาขาสมั พนั ธ์ ศษ.ม. (ประชากรศึกษา) ศกึ ษาอสิ ระทาง  ส า ข า วิ ช า ข อ ง กศ.บ. พระพุทธศาสนา รายวชิ าทส่ี อน (อังกฤษ คณติ ) ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา๒๕๖๒ รำยวชิ ำที่สอน มนุษย์กับสงั คม พระพุทธศาสนากบั เศรษฐศาสตร์ ภาคเรียนท่ี ๒ ๑๔ นายชาญศกั ดิ์ กศ.ม(ปฐมศึกษา) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ รำยวชิ ำที่สอน  สาขาตรง ศรีสนั ต์ ก.ศ.บ. พน้ื ฐานคอมพวิ เตอร์  สาขาสมั พนั ธ์ (มัธยมศึกษา) และเทคโนโลยี  ส า ข า วิ ช า ข อ ง สารสนเทศ รายวชิ าทส่ี อน ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ๑๕ นางมยรุ ี ศศ.ม (วิธีการสอน รำยวิชำทส่ี อน  สาขาตรง ศรสี นั ต์ ภาษาไทย) ก.ศ.บ. (ภาษาไทย) ภาษากบั การสื่อสาร  สาขาสมั พนั ธ์ ภาคเรยี นท่ี ๑  ส า ข า วิ ช า ข อ ง ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ รายวชิ าที่สอน

๕๒ รหัสเอกสำร/หลกั ฐำน ชอื่ รำยกำรหลักฐำน/เอกสำร ๑.๑.๔-๑ สาเนาสัญญาจ้างอาจารย์ผู้สอน ๑.๑.๔-๒ คณุ วฒุ ิการศึกษาอาจารยผ์ ู้สอน ๑.๑.๔-๓ ตารางสอนของอาจารย์ผู้สอน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ เกณฑก์ ำรประเมนิ ท่ี ๕ คณุ สมบัติอำจำรย์ผู้สอน ทเ่ี ปน็ อำจำรยพ์ ิเศษ (ถ้ำมี)  ผ่ำน  ไม่ผ่ำน ลำดบั ชอื่ /ฉำยำ/ ตำแหนง่ คุณวุฒิอำจำรย์ผสู้ อน นำมสกุล วฒุ ิกำรศกึ ษำ ทำง รำยวชิ ำที่สอน  สาขาตรง วิชำกำร  สาขาสัมพันธ์  สาขาวิชาของรายวิชาที่ ๑ ผศ.ดร.พงษ์ศักด์ิ ปร.ด. ผศ. รำยวิชำทส่ี อน สอน รวมชมรตั น์ (การบริหารเพอื่ คณิตศาสตร์  สาขาตรง  สาขาสัมพนั ธ์ พฒั นา เบื้องต้น  สาขาวิชาของรายวิชาที่ สอน การศึกษา) ภาคเรยี นที่ ๒  สาขาตรง วท.ม. ปกี ารศกึ ษา สาขาสมั พนั ธ์  สาขาวิชาของรายวิชาท่ี (สถิติ) ๒๕๖๒ สอน กศ.บ. (คณิตศาสตร)์ ๒ นายธัชชยั น.บ.(นิตศิ าสตร์) รำยวิชำที่สอน ดวงจันทร์ กฎหมายทั่วไป ภาคเรยี นที่๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๓ ดร.สมศกั ด์ิ รป.ด. รำยวชิ ำที่สอน เปรมประยรู (รัฐประศาสน ภาษาศาสตร์ ศาสตร์) เบอิ้ งต้น ภาคเรยี นที่๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ รหัสเอกสำร/หลกั ฐำน ชอื่ รำยกำรหลักฐำน/เอกสำร ๑.๑.๕-๑ สาเนาสัญญาจ้างอาจารยพ์ เิ ศษ ๑.๑.๕-๒ คุณวฒุ ิการศึกษาอาจารย์พิเศษ ๑.๑.๕-๓ ตารางสอนของอาจารย์พิเศษ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

๕๓ เกณฑ์กำรประเมนิ ท่ี ๑๒ กำรปรบั ปรุงหลกั สูตรตำมรอบระยะเวลำทก่ี ำหนด  ผ่าน  ไมผ่ า่ น ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร / หลกั ฐำน ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ คณะพุทธศาสตร์ ๑.๑.๑๒-๑ หนังสอื จากสานักงานคณะกรรมการการ เปิดการเรียนการสอนด้วยหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต อุดมศึกษา ท่ี ศธ.๐๕๐๖(๑)/๕๒๒๒ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ฉบับปรุงปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑.๑.๑๒-๒ มคอ.๒ หลักสตู รพุทธศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ า และจะปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลา ๕ ปี ในปี พระพทุ ธศาสนา ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ การศึกษา ๒๕๖๕ โดยคณะกรรมการประเมิน ๑.๑.๑๒.-๓ หลกั สตู รของมหาวทิ ยาลัยกาหนดวิธกี ารประเมิน ๑.๑.๑๒-๔ คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินและพัฒนา หลักสูตรในรูปแบบการวิจัย พร้อมท้ังจัดทาคู่มือ ปรับปรงุ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑติ การป ระเมินห ลักสูตร สาหรับทุ กส่วนจัด การศึกษาเพ่ือใช้ดาเนินการประเมินหลักสูตรท่ี เปิดสอนหลักสูตรที่เปิดสอน ห้องเรียนคณะพุทธ ศาสตร์ วัดไชยชุมพลชนะสงครามยึดแนวทาง ตามทค่ี ณะพุทธศาสตรส์ ่วนกลาง กำรประเมินตนเอง ผลกำรประเมินตวั บ่งช้ีท่ี ๑.๑ กาหนดไว้เป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” หากไม่ผ่านเกณฑข์ ้อใดข้อหนึ่ง ถอื วา่ หลกั สตู รไม่ได้มาตรฐาน ขอ้ ๑ ขอ้ ๒ ขอ้ ๓ ข้อ ๔ ขอ้ ๕ ขอ้ ๑๒ ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผา่ น ผลกำรประเมินตวั บ่งช้ีที่ ๑.๑  ผำ่ น  ไม่ผ่ำน

๕๔ องค์ประกอบที่ ๒ บัณฑติ ตวั บง่ ชีท่ ่ี ๒.๑ คณุ ภำพบัณฑิตตำมกรอบมำตรฐำนคณุ วุฒริ ะดับอดุ มศึกษำแห่งชำติ (TQF) ชนดิ ตัวบ่งช้ี ผลลัพธ์ ผลกำรดำเนินงำน ที่ รำยกำร หนว่ ยนับ ผลกำร ดำเนินงำน ๑ บัณฑิตท้ังหมดที่สาเร็จการศึกษาของหลกั สตู ร รปู /คน รปู /คน ๑๙ ๒ บณั ฑติ ของหลกั สตู รทไ่ี ด้รับการประเมนิ คุณภาพตามกรอบ ๑๙ มาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ รอ้ ยละ คะแนน ๑๐๐.๐๐ ๓ รอ้ ยละของบัณฑติ ที่ไดร้ บั การประเมินต่อบัณฑติ ท้ังหมด คะแนน ๘๔.๖๐ ๔ ผลรวมคา่ คะแนนจากการประเมินบัณฑติ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คะแนน ๘๕.๔๐ ๕ ผลรวมค่าคะแนนจากการประเมินบัณฑติ ดา้ นความรู้ คะแนน ๘๕.๗๕ ๖ ผลรวมค่าคะแนนจากการประเมินบัณฑิตดา้ นทักษะทางปัญญา ๘๖.๓๓ ๗ ผลรวมค่าคะแนนจากการประเมนิ บัณฑิตด้านทักษะความสมั พันธ์ คะแนน ๘๔.๐๐ ระหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ คะแนน ๘ ผลรวมค่าคะแนนจากการประเมินบัณฑิตด้านทักษะการวิเคราะห์ ๔๒๖.๐๘ คะแนน เชงิ ตวั เลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ๘๕.๒๒ ๙ ผลรวมคา่ คะแนนจากการประเมนิ บัณฑิตท้ัง ๕ ดา้ น คะแนน ๔.๔๙ (ข้อ ๔ + ข้อ ๕ + ข้อ ๖ + ข้อ ๗ + ขอ้ ๘) ๑๐ คา่ เฉลยี่ ของผลรวมคา่ คะแนนจากการประเมินบัณฑติ ทง้ั ๕ ดา้ น (ข้อ ๙ ÷ ๕) ๑๑ ค่าเฉล่ียของคะแนนประเมนิ บัณฑิต (ข้อ ๑๐ ÷ ข้อ ๒) กำรประเมินตนเอง ผลกำรดำเนนิ งำน คะแนนกำรประเมินตนเอง กำรบรรลเุ ปำ้ หมำย ๔.๔๙ ๔.๔๙ บรรลุ เป้ำหมำย ๔.๒๕ รำยกำรหลกั ฐำน รหสั เอกสำร/หลักฐำน ชือ่ รำยกำรหลักฐำน/เอกสำร ๒.๑-๑ รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิตตาม กรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ ๒.๑-๒ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิตตามกรอบ มาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

๕๕ ตัวบ่งช้ที ่ี ๒.๒ (ปริญญำตร)ี รอ้ ยละของของบัณฑติ บรรพชิตปริญญำตรที ่ีปฏิบัตหิ นำ้ ท่สี นองงำน คณะสงฆ์และบณั ฑิตคฤหัสถป์ รญิ ญำตรีที่ไดง้ ำนทำหรือประกอบอำชีพ อสิ ระภำยใน ๑ ปี ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลลพั ธ์ ผลกำรดำเนนิ งำน ที่ รำยกำร หนว่ ยนบั ผลกำรดำเนินงำน บัณฑติ บรรพชติ ๑ จานวนบัณฑิตบรรพชิตท่ีสาเรจ็ การศึกษาทัง้ หมดของหลักสูตร รปู ๑๗ ๒ จานวนบณั ฑติ บรรพชติ ของหลักสูตรทต่ี อบแบบสารวจ รูป ๑๗ ๓ ร้อยละของบัณฑิตบรรพชิตที่ตอบแบบสารวจต่อบัณฑิต รอ้ ยละ ๑๐๐ บรรพชติ ทั้งหมด รปู ๑๒ ๔ จานวนบัณฑิตบรรพชิตทีป่ ฏบิ ตั หิ น้าที่สนองงานคณะสงฆ์ รูป ๕ ๕ จานวนบัณฑติ บรรพชิตทศี่ กึ ษาตอ่ รอ้ ยละ ๗๐.๕๘ ๖ ร้อยละของบัณฑิตบรรพชิตที่ปฏิบัติหน้าท่ีสนองงานคณะสงฆ์ คน ๒ ตอ่ จานวนบัณฑติ บรรพชิตท่ตี อบแบบสารวจท้งั หมด คน ๒ บณั ฑติ คฤหสั ถ์ คน ๑ ๑ จานวนบณั ฑติ คฤหัสถ์ท่ีสาเร็จการศึกษาทง้ั หมดของหลกั สตู ร คน ๐ ๒ จานวนบณั ฑติ คฤหัสถ์ทตี่ อบแบบสารวจ คน ๐ คน ๑ ๒.๑ จานวนบัณฑติ คฤหัสถ์ที่ได้งานทา คน ๐ ๒.๒ จานวนบัณฑติ คฤหัสถ์ท่ีอุปสมบท คน ๐ ๒.๓ จานวนบณั ฑิตคฤหัสถ์ทเ่ี กณฑ์ทหาร ร้อยละ ๑๐๐ ๒.๔ จานวนบัณฑิตคฤหัสถ์ท่ีประกอบอาชีพอิสระ คน ๒ ๒.๕ จานวนบัณฑิตคฤหสั ถ์ที่มีงานทาก่อนเขา้ ศึกษา ๒.๖ จานวนบณั ฑิตคฤหสั ถ์ท่ีศึกษาตอ่ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๓ ร้อยละของบัณฑิตคฤหัสถ์ที่ตอบแบบสารวจเร่ืองการมีงานทา ตอ่ บณั ฑิตคฤหสั ถท์ ั้งหมด ๔ จานวนบัณฑิตคฤหัสถ์ท่ีได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน ๑ ปี (ไม่นับผู้อุปสมบท/เกณฑ์ทหาร/มีงานทาก่อน เข้าศกึ ษา/ศกึ ษาตอ่ ) ๕ ร้อยละของบัณฑิตคฤหัสถ์ที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพ อิสระภายใน ๑ ปี

๕๖ สรุปผลกำรดำเนินงำน ที่ รำยกำร หน่วยนบั ผลกำรดำเนินงำน ๑๙ ๑ จานวนบัณฑิตบรรพชิตและคฤหัสถ์ที่สาเร็จการศึกษาทั้งหมด รปู /คน ๑๙ ของหลกั สตู ร ๑๐๐ ๑๔ ๒ จานวนบณั ฑติ บรรพชิตและคฤหสั ถ์ท่ีตอบแบบสารวจทั้งหมด รปู /คน ๓ ร้อยละของบัณฑิตบรรพชิตและคฤหัสถ์ที่ตอบแบบสารวจต่อ ร้อยละ ๑๔ บัณฑิตท้ังหมด ๗๓.๖๘ ๔ จานวนบัณฑิตบรรพชิตและคฤหัสถ์ท่ีตอบแบบสารวจ ไม่นับ จานวน ๓.๖๘ รวมบัณฑิตท่ีศึกษาต่อ เกณฑ์ทหาร อุปสมบทและบัณฑิตที่มี งานทากอ่ นเข้าศกึ ษา ๕ จานวนบัณฑิตบรรพชิตท่ีปฏิบัติหน้าที่สนองงานคณะสงฆ์และ รูป/คน จานวนบัณฑิตคฤหัสถ์ที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน ๑ ปี ๖ ร้อยละของบัณฑิตบรรพชิตท่ีปฏิบัติหน้าท่ีสนองงานคณะสงฆ์ ร้อยละ และบัณฑิตคฤหัสถ์ท่ีได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน ๑ ปี ๗ แปลงค่าคะแนน ๕ โดยกาหนดให้คะแนนเต็ม ๕ = ร้อยละ คะแนน ๑๐๐ กำรประเมินตนเอง เปำ้ หมำย ผลกำรดำเนนิ งำน คะแนนกำรประเมนิ ตนเอง กำรบรรลุเปำ้ หมำย ๕ บรรลุ ร้อยละ ๙๕ ๑๐๐ รำยกำรหลกั ฐำน รหสั เอกสำร/หลักฐำน ช่ือรำยกำรหลักฐำน/เอกสำร ๒.๒-๑ รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่สนองงานคณะสงฆ์ของบัณฑิตบรรพชิต ปี การศึกษา ๒๕๖๒ ๒.๒-๒ รายงานผลการสารวจภาวะการมงี านทาของบณั ฑิตคฤหสั ถ์ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ๒.๒-๓ แบบสารวจการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีสนองงานคณะสงฆ์ของบัณฑิตบรรพชติ ๒.๒-๔ แบบสารวจภาวะการมงี านทาของบัณฑิตคฤหัสถ์ วเิ ครำะหจ์ ุดแข็งและจดุ ท่ีควรพัฒนำ องค์ประกอบที่ ๒ จดุ แข็ง โครงการขยายห้องเรียนคณะพทุ ธศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วดั ไชยชุมพล ชนะสงคราม จังหวัดกาญจนบุรี มีความมุ่งมั่นส่งเสริมในการผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ความเข้าใจและ

๕๗ ความสามารถด้านพระพุทธศาสนาทั้งด้านวิชาการและภาคปฏิบัติ มีหลักวิชาการท่ีนิสิตสามารถศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ด้านอ่ืนๆ ตามหลักการศึกษาสมัยใหม่อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถประยุกต์ใช้ ห ลั ก ธร รม ท างพ ร ะพุ ท ธศ าส น าใน ก ารแ ก้ ปั ญ ห าชี วิต แ ล ะพั ฒ น าสั งค ม ป ร ะเท ศ ช าติ ได้ อย่ างดี แ ล ะมี ประสิทธิภาพ นิสิตที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนมากเป็นบรรพชิตและเป็นพระสังฆาธิการ สามารถนาความรู้มาชว่ ยพัฒนาทักษะในการทาหนา้ ทเ่ี พ่ือสนองงานของคณะสงฆ์ไดเ้ ปน็ อย่างดี จุดควรพัฒนำ โครงการขยายห้องเรยี นคณะพทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วดั ไชยชมุ พล ชนะสงคราม จังหวัดกาญจนบุรี สามารถคัดกรองนิสิตที่รบั เข้ามาศึกษาได้ในระดับหนึ่ง เนอื่ งจากนิสิตที่เข้า มาศึกษาส่วนมากเป็นบรรพชิต ซ่ึงมีความแตกต่างในเกณฑ์ความรู้พ้ืนฐานไม่เท่าเทียมกัน เพราะสถานะ ด้านอายุ ด้านการศึกษาที่แตกต่างกัน ดงั นน้ั ก่อนเปิดภาคการศึกษาหลักสูตรควรจัดกิจกรรมเพิ่มพูนทักษะ ตา่ งๆ เพือ่ ปรับพนื้ ฐานความรแู้ ละทกั ษะต่างๆ ใหม้ ีระดบั ทใ่ี กลเ้ คียงกัน แนวทำงเสริมจดุ แขง็ และปรับปรุงจดุ ทค่ี วรพัฒนำ โครงการขยายห้องเรียนคณะพทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วดั ไชยชมุ พล ชนะสงคราม จงั หวัดกาญจนบรุ ี ควรสง่ เสริมบณั ฑิตบรรพชติ ท่สี าเร็จการศกึ ษาแลว้ ให้มบี ทบาทในการ สนองงานคณะสงฆ์ให้มากข้นึ โดยเฉพาะดา้ นการศาสนศึกษาและพัฒนาชุมชนใหเ้ พมิ่ มากข้นึ

๕๘ องค์ประกอบท่ี ๓ นสิ ติ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๓.๑ กำรรบั นิสติ ชนิดของตัวบ่งช้ี กระบวนการ ประเด็นทตี่ ้องรำยงำน - การรับนสิ ิต - การเตรยี มพร้อมก่อนเข้าศึกษา เกณฑ์กำรประเมนิ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ - มีระบบ มี - มรี ะบบ มี - มีระบบ มี - มีระบบ มีกลไก - มีระบบ มีกลไกการรบั นิสิต กลไกการ กลไกการรบั กลไกการรบั การรบั นิสิต - มีการนาระบบกลไกการรบั รับนิสติ นสิ ิต นสิ ติ - มีการนาระบบ นสิ ติ ไปส่กู ารปฏบิ ัต/ิ - ไม่มีการนา - มกี ารนา - มีการนาระบบ กลไกการรับนสิ ิต ดาเนนิ งาน ระบบ ระบบกลไก กลไกการรับ ไปสู่การปฏบิ ตั ิ/ - มีการประเมินกระบวนการ กลไกการ การรับนิสิต นิสติ ไปส่กู าร ดาเนินงาน การรบั นิสติ รับนสิ ติ ไปสกู่ าร ปฏิบัติ/ - มีการประเมิน - มีการปรบั ปรงุ /พัฒนา ไปสกู่ าร ปฏิบัต/ิ ดาเนนิ งาน กระบวนการการ กระบวนการการรับนสิ ิต ปฎบิ ตั /ิ ดาเนินงาน - มีการประเมนิ รบั นิสติ จากผลการประเมิน ดาเนินงาน - มกี ารประเมิน กระบวนการ - มกี ารปรบั ปรุง - มผี ลจากการปรบั ปรุง กระบวนการ การรับนสิ ิต พฒั นากระบวนการ กระบวนการการรับนสิ ิต การรับนสิ ติ - มีการ การรบั นสิ ติ จากผล เห็นชัดเปน็ รูปธรรม - ไมม่ ีการ ปรบั ปรุง/ การประเมิน - มีแนวทางปฏิบัติที่ดี โดยมี ปรับปรุง/ พฒั นา - มีผลจากการ หลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน พฒั นา กระบวนการ ปรับปรงุ แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ผู้ ต ร ว จ กระบวนการ การรับนสิ ิต กระบวนการการ ประเมินสามารถให้เหตุผล การรับนสิ ติ จากผลการ รบั นสิ ิตเห็นชัด อธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ ประเมนิ เป็นรปู ธรรม ดไี ดช้ ดั เจน

๕๙ ผลกำรดำเนนิ งำน กำรรับนสิ ิต ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลักฐำน ๑) ขนั้ วำงแผนกำรรบั นสิ ิต ๓.๑.๑ ข้อบังคับของมหาวิทยาลัยว่าด้วย การศึกษาระดบั ปริญญาตรี คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร ได้ประชุมเพ่ือ ๓.๑.๒ รายงานการประชุมคณะกรรมการ พิจารณาแนวทางการรับนิสติ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ โดยมี ประจาคณะพทุ ธศาสตร์ กระบวนการวางแผนการรบั นสิ ติ ดังน้ี ๓.๑.๓ รายงานการประชุมคณะกรรมการ ๑) กาหนดอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบในการประชาสัมพนั ธร์ ับนสิ ติ ประจาหอ้ งเรยี น ๒) กาหนดจานวนการรับนิสิตท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับความ ๓.๑.๔ คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการแนะแนว พรอ้ มของหลักสูตร และประชาสัมพันธ์หลักสูตรของคณะพุทธ ๓) กาหนดแผนการคัดเลือกนิสิต และการคงอยู่ของนิสิต ศาสตร์ ระหวา่ งการศกึ ษา ๓.๑.๕ สรุปรายงานผลการออกประชาสัมพันธ์ ๔) กาหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบในการติดตามนิสิต เพื่อให้ แนะแนวการศึกษา คาแนะนาและการช่วยเหลือที่เหมาะสม และประเมิน ๓.๑.๖ ประกาศเร่ืองการรับนิสิตประจาปี ประสิทธิภาพของการคัดเลือกนิสิตเพื่อเป็นพื้นฐานในการรับ การศึกษา ๒๕๖๒ นิสิตในปีการศึกษาต่อไป ๓.๑.๗ แผ่นพบั ประชาสมั พันธ์รับนิสิต ๒) ขัน้ ตอนปฎบิ ตั กิ ระบวนกำรรับนสิ ติ ๓.๑.๘ คาสั่งแต่งต้ังคณ ะกรรมการสอบ กำรประชำสัมพันธ์ ข้อเขียนและสอบสมั ภาษณ์ อาศัยมติที่ประชุมได้มอบหมายให้อาจารย์ประจา ๓.๑.๙ ประกาศรายช่ือผู้ที่มีคุณสมบัติในการ หลักสูตรทุกรูป/คน ร่วมกันรับผิดชอบในการประชาสัมพันธ์ สอบคัดเลอื ก (ข้อเขยี น) หลักสูตร และรายงานผลการดาเนินการความก้าวหน้าให้ท่ี ๓.๑.๑๐ ประกาศรายช่ือผู้ท่ีสอบผ่านข้อเขียน ประชุมทราบ โดยมุ่งเน้นประชาสัมพันธ์ไปสู่หน่วยงานท่ี และมสี ิทธิ์สอบสัมภาษณ์ เก่ียวข้อง เช่น คณะสงฆ์ โรงเรียนท่ีมีความร่วมมือกัน (MOU) ๓.๑.๑๑ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ลงทะเบียน องค์กร หน่วยงาน การใช้ส่ือออนไลน์ ได้แก่ เฟสบุคส์ เวปไซต์ เป็ น นิ สิ ต ส าข าวิช าพ ระพุ ท ธศ าส น า ปี วิทยุ หนงั สือพิมพ์ แผน่ พับ เปน็ ชอ่ งทางในการประชาสมั พนั ธ์ การศึกษา ๒๕๖๒ กำหนดผูร้ บั ผดิ ชอบ ๓.๑.๑๒ คู่มือนิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ในการคัดเลือกนิสิต ที่ประชุมคณาจารยม์ ีมติโดยมอบ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ให้อาจารย์ประจาหลักสูตรทั้ง ๕ ท่าน ใน ๓ สาขาวิชาท่ีเปิด ๓.๑.๑๓ ประชุมเตรียมความพร้อมโครงการ สอน รว่ มกันรับผิดชอบ ดาเนนิ การรับนสิ ิตตามเกณฑ์ต่อไปนี้ ปฐมนเิ ทศนสิ ิตและกจิ กรรมไหว้ครู กำหนดจำนวนนสิ ิต ๓ .๑ .๑ ๔ บั น ทึ ก ข้ อ ต ก ล งค วาม ร่วม มื อ ในการกาหนดจานวนนิสิต อาจารย์ประจาหลักสูตร (MOU) ท้ัง ๓ สาขาวิชาได้กาหนดจานวนนิสิตที่จะรับโดยไม่เกิน จานวนท่ี สกอ.กาหนด ฉะนั้น ในปี ๒๕๖๒ ที่ประชุม คณะกรรมการอาจารย์ประจาหลักสูตร จึงกาหนดไว้ท่ี ๒๕ รูป/คน กำหนดคณุ สมบตั ขิ องผู้สมัคร โดยกาหนดคุณสมบตั พิ น้ื ฐานในการสมคั ร คอื ๑) เป็นผสู้ อบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๓ ๒) เป็นผู้สาเร็จการศึกษามัธยมตอนปลายหรือได้รับ

ผลกำรดำเนินงำน ๖๐ เอกสำร/หลกั ฐำน ประกาศนียบัตรอนื่ ที่มหาวิทยาลยั รบั รอง ๓) เป็นผู้สาเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายของ โรงเรยี นพระปริยัตสิ ามัญศึกษา กำหนดกำรออกขอ้ สอบในกำรคดั เลือก และกำรสัมภำษณ์ อาจารย์ประจาหลักสูตรท้ัง ๓ สาขาวิชาร่วมกันออก ข้อสอบเป็นปรนัย โดยใชเ้ กณฑ์ผ่านร้อยละ ๖๐ และการเชิญ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีเก่ียวข้องกับสาขาอย่างน้อย ๒ ท่าน มาร่วมสัมภาษณ์ในการคัดเลือกนิสิต โดยประเด็นที่มุ่งเน้นใน การคัดกรองผู้เรยี นเพอื่ แก้ปัญหาการลาออกระหว่างศกึ ษา คือ ค า ถ า ม ท า งเชิ ง จิ ต วิ ท ย า วั ด เร่ื อ งก า ร ค ว บ คุ ม อ า ร ม ณ์ แ ล ะ ทัศนคติในการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน การวางแผนการเรียน แนว ทางการแก้ปัญหาหากมีอุปสรรคในการเรียน จุดแข็งของ ผสู้ มัครเพ่ือเตรยี มความพร้อมในการมาศกึ ษา กำหนดข้นั ตอนกำรรับสมคั ร โดยมอบหมายให้อาจารย์และเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงาน ประจาห้องเรียน เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับผู้สนใจสมัคร เรียน พร้อมกันนี้ให้ประสานร่วมกับอาจารย์ประจาหลักสูตร ในการกาหนดวันรับสมัคร วันสอบคัดเลือกข้อเขียนและสอบ สัมภาษณ์ การประกาศรายช่ือผู้มีสิทธ์ิสอบ และผู้ผ่านการ คัดเลือก การลงทะเบยี นนิสติ การปฐมนิเทศนสิ ติ ใหม่ ลำดับขนั้ ตอนกำรคดั เลอื กนสิ ิต ๑) พิจารณาใบสมัครผู้มีสิทธ์ิสอบ และประกาศรายชื่อผู้ มีสิทธส์ิ อบขอ้ เขียน ๒) สอบข้อเขียนโดยสอบวัดความรู้พ้ืนฐานความรู้ทาง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า แ ล ะ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เข้ า ใ จ ใ น ก า ร น า ไ ป ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน ๓) อาจารย์ประจาหลักสูตรร่วมกันตรวจข้อสอบโดยใช้ เกณฑ์การสอบผ่านข้อเขียนขน้ั ต่า ๖๐ คะแนนขนึ้ ไป ๔) ประกาศรายชอ่ื ผ้มู สี ิทธิส์ อบสมั ภาษณ์ ๕) ก่อนสัมภาษณ์ อาจารย์ประจาหลักสูตรมีการ วิเคราะห์คุณสมบัติของผู้สมัคร และจัดเรียงคะแนนผลการ สอบเพื่อใช้ประกอบการพิจารณา มีการชี้แจงให้อาจารย์ ประจาหลักสูตรทุกท่าน และผู้ทรงคุณวุฒิประจาห้องเรียน ๒ ท่าน รับทราบเกณฑ์คะแนนในการสัมภาษณ์ที่เน้นเรื่อง ทัศนคติ ความพร้อม ความตั้งใจ และแผนการจัดการปัญหา อุปสรรคในการมาเรียน ร่วมกันวิเคราะห์คุณสมบัติ ความ พร้อมของผู้สมัครที่สามารถสาเร็จการศึกษาได้ตามหลักสูตร

ผลกำรดำเนินงำน ๖๑ เอกสำร/หลกั ฐำน กาหนด ๖) กรรมการส่งคะแนนสอบสัมภาษณ์ ทั้งน้ีอาจารย์ ประจาหลักสูตรได้รับข้อแนะนาจากผู้ทรงคุณวุฒิประจา ห้องเรียน ประกอบกับข้อมูลพ้ืนฐานท่ีมาของผู้สมัครเพ่ือ พิจารณารับนิสิต คะแนนท่ีได้จากการสอบวัดความรู้มา ประกอบการพิจารณาคัดเลอื กนิสติ และประกาศผลเปน็ ลาดับ ต่อไป ๗) ประกาศรายช่ือนิสิตเพ่ือรับเข้าศึกษา พร้อมแจ้งวัน ลงทะเบยี น และวนั ปฐมนเิ ทศนสิ ิตใหม่ ๘) เม่ือประกาศผลสอบแล้ว หลักสูตรใช้วิธีการสื่อสาร กับนิสิตเพื่อเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนโดยต้ังไลน์กลุ่มเพ่ือ ชว่ ยประสานในการให้ข้อมูล และส่ือสารกับหลักสูตร การแจ้ง วันกาหนดการกิจกรรมต่างๆ การตอบข้อคาถามสงสัย หรือ การให้ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ๙) อาจารย์ประจาหลักสูตรจัดเตรียมคู่มือนิสิตใหม่ และ เพ่ือกาหนดวนั ปฐมนเิ ทศนิสติ ใหม่ ๑๐) เมื่อรับนิสิตแล้ว มีกระบวนการติดตามประเมินผล จากผู้เกี่ยวข้อง เพ่ือทบทวนวิเคราะห์ข้ันตอนการดาเนินงาน รับนิสิตที่ยังเป็นปัญหา อุปสรรค และรายงานในที่ประชุม คณาจารย์และเจ้าหน้าที่หลักสูตร เพ่ือรวบรวมเป็นข้อมูล พนื้ ฐานในการพฒั นาการรับนิสติ ตอ่ ไป วเิ ครำะหผ์ ลกำรดำเนนิ กำรและข้อเสนอแนะกระบวนกำรรับ นสิ ติ คณุ ภำพของนสิ ติ ท่รี ับเข้ำ จากการตรวจข้อสอบเพื่อวัดคุณสมบัติซ่ึงเน้นองค์ ความรู้พ้ืนฐานหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา จากผลคะแนน การสอบข้อเขียนและจากการสอบสัมภาษณ์ อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลกั สูตรมีความเหน็ ร่วมกันว่า นิสติ บางรูป/คน มี พน้ื ฐานความรเู้ กย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนาอยู่ในระดับน่าพึงพอใจ แต่ มีคว ามรู้แล ะทักษ ะด้ าน ภ าษาอั งกฤษอยู่ ใน ระดั บ ท่ี ต้ อง พัฒนา จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาเพ่ือส่งเสริมนิสิตให้มี ความรู้พื้นฐานที่สามารถส่งผลต่อการเรียนรู้ในรายวิชาใน หลักสตู ร ปญั หำและอปุ สรรคในกำรรบั นิสิต หลังจากส้ินสุดเวลาการรับสมัครในปีการศึกษา ๒๕๖๒ พบว่า มีจานวนผู้สมัครตามที่ได้ต้ังเป้าหมายไว้ แต่ยัง พบปัญหาในกระบวนการน้ีหลายประการ เช่น มีผู้สมัครบาง

ผลกำรดำเนนิ งำน ๖๒ เอกสำร/หลกั ฐำน รายที่เตรียมเอกสารประกอบการสมัครมาไม่ครบ ห้องเรียน แก้ไขด้วยการรับสมัครไว้ก่อนและให้เตรียมเอกสารมายื่นอีก คร้ังในวันสอบคัดเลือก ซึ่งสามารถดาเนินการแก้ไขปัญหาไป ได้ด้วยความเรียบร้อย ปัญหาเร่ืองการประชาสัมพันธ์ที่ยังไม่ ครอบคลุมและท่ัวกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะพระสงฆ์สามเณร หอ้ งเรียนมีแผนท่ีจะปรับปรุงการประชาสมั พันธใ์ นปกี ารศึกษา หนา้ ในเชิงรกุ มากขึ้น เช่น การให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบลงพน้ื ที่ จริงและแนะนาหลักสูตรเป็นรายบุคคลกระบวนกำรเตรียม ควำมพรอ้ มของนสิ ติ ขัน้ วำงแผนเตรยี มควำมพร้อมของนิสติ เมื่อรับนิสิตมาแล้วอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ อาจารย์ประจาหลักสูตร ร่วมวางแผนการเตรียมความพร้อม ใหแ้ กน่ ิสติ ข้ันตอนกำรเตรยี มควำมพรอ้ มของนสิ ติ คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรจัดทาโครงการพ่ี สอนน้อง โดยโครงการน้ีจะนานิสิตใหม่เข้าอบรมเตรียมความ พร้อมก่อนเข้าศึกษาในช่วงก่อนเปิดภาคเรียน โดยให้อาจารย์ และรุ่นพ่ี บรรยายแนะนาการลงทะเบียนและส่ิงท่ีจาเป็นต่อ การเข้าศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรี สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ ห ลั ก สู ต ร ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม วางแผนในการจดั ปฐมนิเทศและการไหว้ครปู ระจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ มติในท่ีประชุมมอบภาระงานให้แก่หัวหน้าฝ่ายกิจ กิจการนิสิต คือ พระมหาบุญรอด มหาวีโร ดร. เป็นผู้ ดาเนินงาน ผลกำรดำเนนิ กำรเตรยี มควำมพรอ้ มนสิ ติ ผลจากการเตรียมความพร้อมดังกลา่ ว พบว่า นิสิตใน หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มีการ ให้ความสนใจกระตือรือร้น เกิดความสนใจเตรียมพร้อมท่ีจะ เข้าศึกษาและสามารถลงทะเบียนเรียนได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ วเิ ครำะห์ผลกำรดำเนนิ กำรเตรียมควำมพร้อมนสิ ติ แต่จากการประเมินแล้ว พบว่า มีนิสิตส่วนหน่ึงเข้า ร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเวลาท่ีกาหนดข้ึน ห้องเรียนได้ รวบรวมปัญหาอุปสรรคนาเข้าสู่ที่ประชุมเพ่ือปรึกษาและหา ทางแก้ไขต่อไป สรุปผลในปีการศึกษา ๒๕๖๒ จานวนนิสิตท่ีรับเข้า ท้ังหมด ๒๑ รูป/คน ซ่ึงทั้งหมดผ่านเกณฑ์ที่คณะกรรมการ กาหนดไว้ในการรบั นสิ ิตใหม่

๖๓ ผลกำรดำเนนิ งำน เอกสำร/หลักฐำน ๕) ข้อเสนอแนะเพือ่ กำรปรับปรุงพฒั นำ จ า ก ปั ญ ห า ที่ พ บ ใน ก ร ะ บ ว น ก า ร รั บ นิ สิ ต ให ม่ แ ล ะ กระบวนการเตรียมความพร้อมเพื่อศึกษา นิสิตบางรูปสนใจ ร่วมกิจกรรมน้อย ขาดความใส่ใจต่อความสาคัญในการ ปฐมนิเทศ นอกจากน้ีนิสิตบางรูป/คนยังไม่สามารถบริหาร จัดการเวลาที่เหมาะสม อาจารย์ประจาหลักสูตรได้รวบรวม เพือ่ เป็นขอ้ มูลในการหาแนวทางปรับปรุงในปกี ารศึกษาหน้า กำรประเมนิ ตนเอง เปำ้ หมำย ผลกำรดำเนนิ งำน คะแนนกำรประเมนิ ตนเอง กำรบรรลเุ ปำ้ หมำย ๔ ๔ ๔ บรรลุ

๖๔ ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๓.๒ กำรส่งเสรมิ และพัฒนำนิสติ ชนิดของตัวบ่งช้ี กระบวนการ ประเด็นที่ตอ้ งรำยงำน - การควบคุมการดแู ลการให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนวแกน่ ิสติ ปรญิ ญาตรี - การควบคมุ การดูแลการให้คาปรึกษาวทิ ยานิพนธ์แก่บัณฑิตศกึ ษา - การพัฒนาศักยภาพนสิ ติ และการเสริมสรา้ งทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เกณฑ์กำรประเมนิ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ - มรี ะบบ มี - มรี ะบบ มี - มรี ะบบ มีกลไก - มีระบบ มีกลไก - มีระบบ มีกลไกการส่งเสริม กลไกการ กลไกการ การสง่ เสริม การสง่ เสริมและ และพัฒนานสิ ติ สง่ เสรมิ และ สง่ เสริมและ และพัฒนานิสิต พฒั นานสิ ติ - มกี ารนาระบบกลไกการ พฒั นานิสิต พัฒนานสิ ติ - มกี ารนาระบบ - มีการนาระบบ สง่ เสริมและพฒั นานสิ ติ ไปสู่ - ไม่มีการนา - มกี ารนาระบบ กลไกการ กลไกการส่งเสรมิ การปฏิบตั ิ/ดาเนนิ งาน ระบบกลไก กลไกการ ส่งเสริมและ และพฒั นานสิ ิต - มีการประเมนิ กระบวนการ การสง่ เสริม สง่ เสรมิ และ พฒั นานิสติ ไปสู่ ไปสู่การปฏิบตั ิ/ การสง่ เสรมิ และพฒั นานิสติ และพัฒนา พัฒนานิสติ การปฏิบตั /ิ ดาเนนิ งาน - มกี ารปรับปรุง/พัฒนา นิสติ ไปสู่ ไปสูก่ าร ดาเนนิ งาน - มกี ารประเมนิ กระบวนการการสง่ เสริมและ การปฎิบัต/ิ ปฏิบัติ/ - มีการประเมนิ กระบวนการการ พัฒนานิสติ จากผลการ ดาเนินงาน ดาเนินงาน กระบวนการ สง่ เสรมิ และพฒั นา ประเมิน - มกี ารประเมิน การส่งเสริม นสิ ิต - มผี ลจากการปรบั ปรงุ กระบวนการ และพัฒนานสิ ิต - มีการปรับปรงุ / กระบวนการการส่งเสรมิ และ การสง่ เสริม - มกี ารปรบั ปรุง/ พฒั นา พัฒนานิสิตเหน็ ชดั เปน็ และพฒั นา พฒั นา กระบวนการการ รูปธรรม นสิ ติ กระบวนการ ส่งเสรมิ และพัฒนา - มีแนวทางปฏิบัติท่ีดี โดยมี - ไม่มีการ การส่งเสริม นสิ ติ จากผลการ หลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน ปรับปรงุ / และพฒั นานิสิต ประเมิน และกรรมการผู้ตรวจประเมิน พัฒนา จากผลการ - มผี ลจากการ สามารถให้เหตุผลอธิบายการ กระบวนการ ประเมิน ปรับปรงุ เป็นแนวปฏิบัติทด่ี ไี ด้ชดั เจน การสง่ เสรมิ กระบวนการการ และพฒั นา ส่งเสริมและพฒั นา นสิ ติ นิสติ เห็นชัดเป็น รูปธรรม

๖๕ ผลกำรดำเนินงำน ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลกั ฐำน กำรควบคุมกำรดูแลกำรให้คำปรึกษำวิชำกำรและแนะแนวแก่ ๓.๒.๑ บันทึกการประชุม นกั ศึกษำในระดับปริญญำตรี (กลไกและนำระบบสกู่ ำรปฏบิ ตั ิ) ๓.๒.๒ แตง่ ต้งั อาจารย์ทปี่ รึกษา คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้มีการประชุมเพ่ือ ๓.๒.๓ คมู่ อื อาจารย์ที่ปรกึ ษา เสนอแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาให้กับนิสิตในทุกช้ันปี โดยแต่ละท่าน ๓ .๒ .๔ อ า จ า ร ย์ ท่ี ป รึ ก ษ า ให้ จะเป็นอาจารยท์ ป่ี รึกษาในช้นั ปีนน้ั ๆจนนิสิตสาเร็จการศกึ ษา ดงั น้ี คาปรึกษาแก่นิสิต ๑. ช้นั ปีท่ี ๑ คอื พระครูกติ ตชิ ยั กาญจน์ ๓.๒.๕ โครงการเสริมทักษะและ ๒. ช้นั ปที ่ี ๒ คือ พระมหาสุวฒั น์ สุวฑฒฺ โน พั ฒ น าภ าษ าอังกฤษ เพ่ื อการ ๓. ช้ันปีที่ ๓ คือ พระมหาญาณภทั ร อตพิ โล พฒั นาตนเองในศตวรรษท่ี ๒๑ ๔. ชนั้ ปีท่ี ๔ คอื พระเมธปี ริยัตวิ ิบูล ดร. ๓.๒.๖ โครงการศึกษาเรียนรู้นอก เพ่ือให้คาปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องการเรียน เรื่องส่วนตัว และ ห้องเรียนในรายวิชา “พทุ ธศลิ ปะ” เร่ืองอื่นๆ โดยมีช่องทางการปรึกษาหลายช่องทาง ได้แก่ มาพบ ๓.๒.๗ กิจกรรมโครงการศึกษา โดยตรงที่ห้องพักอาจารย์ ปรึกษาผ่าน line facebook e-mail เรียนรู้นอกห้องเรียนในรายวิชา หรือโทรศัพท์ พร้อมทั้งแจกคู่มืออาจารย์ที่ปรึกษาและคู่มือนิสิตที่ “พทุ ธศิลป์” นอกจากน้ันหลักสูตรได้มีการกาหนดบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ท่ี ๓.๒.๘ ภาพกิจกรรมสุนทรียภาวนา ปรึกษานักศึกษาในหลกั สูตร โดยกาหนดหนา้ ท่ีดังน้ี ๓.๒.๙ โครงการปฏิบัติธรรม ๑. ให้คาปรึกษาในด้านวิชาการแก่นิสิตที่รับผิดชอบ โดยมี ๓.๒.๑๐ ภาพกิจกรรมนเิ วศภาวนา แผนการให้คาปรกึ ษานิสติ แต่ละรายให้ชัดเจน ๓ .๒ .๑ ๑ โครงการศึกษ าน อก ๒. ต้องจัดทาตารางการพบนิสิตในภาพรวม เดือนละ ๒ ส ถ าน ที่ ใน ราย วิ ช า “ เท ค นิ ค ครง้ั และพบรายคนโดยเฉลย่ี อย่างนอ้ ย ๑ ครงั้ ใน ๒ เดือน การศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา” ๓. ใหค้ าปรึกษาดูแลด้านการเรยี นอย่างใกลช้ ิด โดยเฉพาะ นสิ ิตมีปัญหาดา้ นการเรยี น ๔. เปิดโอกาสหรือสามารถให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอ คาปรึกษาไดอ้ ยา่ งสะดวกและเหมาะสม ๕. มีการติดตามผลการเรียนของนิสิตท่ีมีปัญหาด้านการ เรียนและให้ความชว่ ยเหลือ สร้างความเข้าใจ และชว่ ยแก้ไขปัญหา ด้านการเรยี น ๖.อ่ืนๆ ที่คิดว่าเหมาะสมและผู้บริหารได้กากับติดตามให้ อาจารย์ที่ปรึกษาทุกคนปฏิบัติหน้าที่อย่างเคร่งครัด มีการสอบถาม จากนิสิตเปน็ ประจา ผลดำเนินกำรและกำรประเมินกระบวนกำร สื บ เนื่ อ ง จ า ก ก า ร ป ร ะ ชุ ม แ ล ะ ม อ บ ภ า ร ะ ง า น ก า ร เป็ น อาจารย์ท่ีปรึกษาให้อาจารย์นาไปปฏิบัติน้ันทาให้เกิดความตะหนัก และความสาคัญในหน้าท่ีของตนเองมากข้ึน ทาให้ช่องว่างทางความ ผูกผันระหว่างอาจารย์กับนิสิตลดลงโดยเฉพาะนิสิตช้ันปีท่ี ๑ เกิดการเรียนรู้ทัศนคติ ค่านิยม ร่วมกัน รวมทั้งยังช่วยให้นิสิตมีท่ี ปรกึ ษาเมื่อเกดิ ปญั หาและรู้สกึ ถงึ ความเป็นกัลยาณมติ ร

ผลกำรดำเนินงำน ๖๖ เอกสำร/หลกั ฐำน กำรพัฒนำศักยภำพนักศกึ ษำและกำรเสริมสร้ำงทักษะกำรเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑ หลักสูตรได้ให้ความสาคัญในการจัดการเรียนการสอนใน ศตวรรษท่ี 21 ให้ความสาคัญกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ ณ สถานที่จริง ตลอดจนขยายโอกาสให้ได้เรียนรู้จากอาจารย์พิเศษ วิทยากร ตลอดจนผู้เช่ียวชาญ โดยเฉพาะการพัฒนาทักษะด้าน ภาษาต่างประเทศ เน้นท่ีภาษาอังกฤษเป็นอันดับแรก มีการมอบให้ อาจารย์ท่ีปรึกษากระตุ้นให้นิสิตได้พัฒนาตนเองด้านภาษาอังกฤษ แนะนาให้เข้าไปศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเองทางส่ืออิเล็กทรอนิกส์ คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้มีการประชุมเรื่องการเชิญ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาบรรยายพิเศษ เช่น โครงการเสริมทักษะ และพัฒนาภาษาอังกฤษ เพื่อการพัฒนาตนเองในศตวรรษท่ี ๒๑ และหลักสูตรยังให้ความสนใจในการพัฒนานิสิตโดยเน้นย้าให้มี กิจกรรมการพัฒนาตนเองในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยให้นิสิตทุกคนได้มี ความเข้าใจกับการเลือกรับข้อมูลข่าวสาร การมีวุฒิภาวะในการ แก้ปญั หาตัดสนิ ใจการทางานร่วมกนั เทคนิคการเปน็ ผูน้ าและผตู้ าม โดยฝึกจากกจิ กรรมยอ่ ยๆ ในโครงการตา่ งๆ วันที่ ๑ สิงหาคม 2562 จัดโครงการศึกษาเรียนรู้นอก ห้องเรียนในรายวิชา “พุทธศิลปะ” ณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพือ่ เสรมิ สร้างประสบการณ์และเพม่ิ องค์ความรใู้ นด้านพุทธศิลปท์ ่ีมี ความหลากหลายในแต่ละยุคสมัยและลัทธิความเช่ือที่มีผลต่อการ สร้างงานพุทธศิลป์ โดยลักษณะของกิจจกรมมุ่งเน้นส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ ซ่ึงโครงการท่ีจัดมีความเชื่อโยงประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๑ พัฒนาบัณฑิตให้มีคุณภาพ พัฒนานิสิตให้มีลักษณะที่พึงประสงค์ ตามนวลักษณ์ วันท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๖๒ จัดกิจกรรมศึกษนอกสถานท่ี ในรายวิชา”เทคนิคการศึกษาระดับอุดมศึกษา”เพ่ือเป็นการเพ่ิม ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร เรี ย น รู้ แ ล ะ เพ่ื อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ พั น ธ กิ จ ข อ ง มหาวิทยาลัย ได้แก่ การผลิตบัณฑิต โดยนานิสิตศึกษาดูงานที่ สานั กห อสมุ ดและเท ค โน โลยีสารสน เท ศ สถาบั น ภ าษ า นานาชาติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยได้รับความเมตตาจาก “พระมหา หรรษา ธมฺมหาโส, รศ.ดร.” ผู้อานวยการวิทยาลัยสงฆ์พุทธศาสตร์ นานาชาติ บรรยาถวายความรู้ความรู้ ทาให้ได้นิสิตรับความรู้ที่ สามารถนามาปรบั ใช้ในการเรียน การทางาน เปน็ ตน้

ผลกำรดำเนินงำน ๖๗ เอกสำร/หลกั ฐำน จดั กจิ กรรมสุนทรียภาวนา ซ่งึ เกิดจาการบรู ณาการรายวชิ า ธรรมะภาคปฏิบัติกับการสนทนาแบบสุนทรียสนทนา (Dialogue) เพ่ือส่งเสริมพัฒนาทักษะทางการคิด ที่สามารถใช้เหตุผลในการ วิเคราะห์และสังเคราะห์ การตัดสินใจและแก้ปัญหาได้ ทักษะการ ทางาน สามารถประยุกตใ์ ช้ความรู้ได้ การติดต่อส่อื สาร การทางาน เปน็ ทมี และความรบั ผิดชอบในการทางาน เปน็ ต้น วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๓ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร “โครงการสัมมนาพระพุทธศาสนากับปัญหายาเสพติด” เป็น โครงการที่จัดทาข้ึนโดยมวี ตั ถุประสงค์เพอ่ื สง่ เสรมิ บทบาทของพระ นิสิตในการเผยแผ่หลักธรรมะสู่ชุมชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ สถาบันครอบครัว และเป็นการสร้างบทบาทใหว้ ดั เปน็ ศูนยก์ ลางใน การพฒั นาชุมชนท้องถน่ิ อย่างแท้จรงิ ผลดาเนินการและการประเมนิ กระบวนการ จากการจัดการศึกษาท่ีมีความหลากหลายในหลายรูปแบบ โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนรู้จากประสบการณ์ จริงและตรงตามความต้องการของผเู้ รยี น ทาให้นิสติ เกิดการเรียนรู้ ทั้งในแง่วิชาการและทักษะในการใช้ชีวิต การทางานเป็นทีม เป็น ต้น นิสติ มคี วามพึงพอใจคอ่ นขา้ งมาก แต่อย่างไรก็ตามในบางกิจกรรมมีเสียงสะท้อนว่า การ มอบหมายงานอาจยังไม่ชัดเจน ทาให้ขาดการมีส่วนร่วมในการจัด งาน ควรเปิดโอกาสให้นิสิตมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น กิจกรรมใดที่นิสิตต้องการท่ีจะให้หลักสู ตรจัด และการต้ัง งบประมาณเพ่ือส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนานิสิตให้มากขึ้นเพ่ือไม่ เป็นภาระต่อผู้เรียน ทั้งน้ีอาจารย์ผู้รับผิดชอบจะได้นาผลท่ีได้จาก กระบวนการพัฒนานิสิตในปีน้ีเพ่ือวางแผนในการจัดกระบวนการ ครงั้ ต่อไป กำรประเมินตนเอง ผลกำรดำเนนิ งำน คะแนนกำรประเมินตนเอง กำรบรรลุเปำ้ หมำย ๔ ๔ บรรลุ เปำ้ หมำย ๔

๖๘ ตัวบ่งช้ีท่ี ๓.๓ ผลท่เี กดิ กบั นสิ ติ ชนิดของตัวบ่งช้ี ผลลพั ธ์ เรอื่ งท่กี ำหนดให้รำยงำนเกีย่ วกบั ผลท่เี กดิ กับนิสิตตำมคำอธิบำยในตัวบ่งชี้ - การคงอยู่ - การสาเร็จการศกึ ษา - ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อรอ้ งเรยี นของนิสิต เกณฑก์ ำรประเมนิ คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ - มีการ - มีการ - มีการรายงานผล - มกี ารรายงาน - มกี ารรายงานผลการดาเนนิ งาน รายงานผล รายงานผล การดาเนนิ งาน ผลการ ครบทกุ เร่ืองตามคาอธบิ ายใน การ การ ครบทุกเร่ืองตาม ดาเนินงานครบ ตวั บง่ ช้ี ดาเนินงาน ดาเนินงาน คาอธิบายในตัว ทกุ เรื่องตาม - มีแนวโนม้ ผลการดาเนนิ งานที่ดี ในบางเรื่อง ครบทุก บ่งชี้ คาอธบิ ายในตวั ขนึ้ ในทุกเรื่อง เรอื่ งตาม - มีแนวโน้มผลการ บ่งชี้ - มีผลการดาเนินงานท่ีโดดเด่น คาอธิบาย ดาเนินงานที่ดีข้ึน - มแี นวโน้มผล เทียบเคียงกับหลักสูตรนั้นใน ในตวั บง่ ช้ี ในบางเรอ่ื ง การดาเนนิ งาน สถ าบั น กลุ่ ม เดี ยว กัน โด ย มี ที่ดขี นึ้ ในทุก หลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และ เร่อื ง กรรมการผตู้ รวจประเมินสามารถ ให้เหตุผลอธิบายว่าเป็นผลการ ดาเนนิ งานที่โดดเด่นอย่างแทจ้ รงิ กำรคงอยขู่ องนิสติ ในหลักสตู ร (รำยงำน ๔ ปรี วมปีประเมิน) จานวน จานวนการสาเรจ็ การศึกษาตามหลักสตู ร จานวนทลี่ าออกและ อัตราการคง รบั เขา้ คัดชื่อออกสะสมจนถึง อยูค่ ิดเปน็ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ สนิ้ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ร้อยละ ๓๓ ๔๔ 2๖ 2๓ 2๐ ๑๙ 1๔ ๕๗.๕๗ ๑๗ - ๓๒ ๒๒ 2๑ 21 - -9 9 ๒๓ ๔๗.๗๒ --- 1๗ ๘ ๔๗.๐๕ ๔ ๘๐.๙๕

๖๙ กำรสำเร็จกำรศึกษำตำมระยะเวลำของหลักสูตร (ข้อมลู ๔ ปนี ับรวมปีประเมนิ ) จำนวน ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ นสิ ติ ที่ รบั เข้ำ จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน ๓๓ ผสู้ ำเร็จ รอ้ ยละ ผู้สำเรจ็ รอ้ ยละ ผสู้ ำเรจ็ รอ้ ยละ ผ้สู ำเรจ็ รอ้ ยละ ๔๔ ๑๗ กำรศึกษำ กำรศกึ ษำ กำรศกึ ษำ กำรศึกษำ ๒๑ ๒๖ ๗๘.๗๘ ๒๓ ๖๙.๖๙ ๒๐ ๖๐.๖๐ ๑๙ ๕๗.๕๗ - - ๓๒ ๗๒.๗๒ ๒๒ ๕๐.๐๐ ๒๑ ๔๗.๗๒ ---- ๙ ๑๐๐ ๙ ๑๐๐.๐๐ ---- - - ๑๗ ๘๐.๙๕ ควำมพงึ พอใจของนสิ ติ ต่อหลักสตู ร คะแนนกำรประเมิน ที่ รำยกำรประเมิน ๑ ดา้ นการรับนิสิตและการจดั การศกึ ษา ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒ ดา้ นระบบอาจารย์ท่ีปรึกษา ๓ ดา้ นกิจกรรมนิสิต - - ๔.๔7 ๔ ดา้ นส่งิ สนบั สนุนการเรยี นรู้ ดี ๕ ด้านการจัดการขอ้ ร้องเรยี นของนิสติ คะแนนเฉลี่ย - - ๔.๐๘ ดี - - ๔.0๑ ดี - - ๔.๐๖ ดี - - ๔.๓๒ ดี - - ๔.๑๘ ดี ผลกำรจดั กำรข้อรอ้ งเรียนของนิสติ ผลกำรดำเนินงำน ข้ันวำงแผนกำรจัดกำรข้อรอ้ งเรยี น มีการนาข้อร้องเรียนของนิสิตมารายงานในทปี่ ระชุมอาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลักสตู ร เพ่ือเป็นแนวทางในการ วางแผนปรับปรุงและเตรียมความพร้อมในการแก้ไขและจัดการข้อร้องเรียนของนิสิตให้มีประสิทธิภาพ ย่งิ ขน้ึ โดยมีการกาหนดแผนการดาเนนิ การและการปฏิบัตดิ ังน้ี ๑) มอบหมายใหอ้ าจารยผ์ ู้สอน เจา้ หน้าทีร่ บั ผิดชอบในการแจง้ นิสิตให้ทราบเกี่ยวกับช่องทางการ ร้องเรยี นผ่านทางตู้รบั ความคดิ เหน็ ไลน์ website ห้องเรียน รวมทั้งการรอ้ งเรยี นดว้ ยวาจา เปน็ ตน้ ๒) กาหนดรวบรวมข้อร้องเรียนเป็นไตรมาสโดยเริ่มต้ังแต่เปิดการศึกษาเป็นต้นไป ส่งให้อาจารย์ ประจาหลกั สูตรวิเคราะหแ์ ละจัดกลุ่มของประเภทข้อร้องเรยี น ๓) อาจารย์ประจาหลักสตู รนาเสนอข้อรอ้ งเรยี นท่ีสามารถแกไ้ ขได้ทันทีตอ่ ผู้บริหารเพื่อดาเนินการ

๗๐ ผลกำรดำเนนิ งำน แกไ้ ข สว่ นขอ้ รอ้ งเรยี นทไี่ มส่ ามารถแกไ้ ขได้ทันทนี าเข้าสู่การประชุมเพ่ือหาแนวทางแกไ้ ขต่อไป ๔) ตดิ ตามความพึงพอใจของนสิ ิตและรายงานใหท้ ีป่ ระชมุ รับทราบ ผลการดาเนนิ การ ๑) การจัดการข้อร้องเรียนของนิสิต ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ นิสิตของหลักสูตรมีข้อร้องเรียนซึ่ง รวบรวมจากแบบสอบถาม มีจานวน ๔ เร่อื ง คอื ๑) อินเตอร์เนต็ ไม่เสถยี รและในบางจดุ ของอาคารเรียนมีความเรว็ ต่า ๒) บตั รประจาตัวนิสติ ท่ไี ดร้ ับลา่ ช้า ๓) มกี ารจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรมากและกะทันหนั สง่ ผลใหผ้ ูเ้ รียนปรบั ตวั และเข้ารว่ มกิจกรรมไมท่ ัน ๒) อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรได้ตรวจหาข้อเท็จจริง สาเหตุของปัญหา จากท้ัง ๓ ข้อร้องเรียน ทางหลักสูตรไดด้ าเนินการแกไ้ ข ดังนี้ ระบบอินเทอร์เนต็ ไม่เสถียร ทางห้องเรียนไดแ้ จง้ ไปยังฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้ดาเนินการ แก้ไข และได้มีการแก้ไขโดยทางฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศได้เพิ่มจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตให้มีสัญญาณ ครอบคลุมทัว่ อาคารเรียนเปน็ ทีเ่ รยี บรอ้ ย เรื่องบัตรนิสิตที่ได้รับล่าช้า เกิดจากนิสิตของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาราชวิทยาลัยทั้งส่วนกลางและ สว่ นงานท้ังหมดมจี านวนมาก ทาใหเ้ กดิ ความล่าชา้ ซง่ึ ทางห้องเรียนไดเ้ สนอส่วนกลางเพอื่ แก้ไขต่อไป การจัดกิจกรรมเสริมหลกั สูตรมากและกะทันหัน ส่งผลใหผ้ ้เู รียนปรับตัวและเขา้ ร่วมกจิ กรรมไม่ทัน เน่ืองจากอาจารย์ต้องการพัฒนาทักษะผู้เรียนด้วยกระบวนการเรียนจากประสบการณ์จริง ทาให้เกิดข้อ รอ้ งเรยี นดงั กล่าว ท่ีประชมุ มีมตใิ ห้อาจารยแ์ กไ้ ขดว้ ยการสอนเสรมิ ในชวั่ โมงที่มีการจดั กจิ กรรม อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรได้รวบรวมข้อร้องเรยี นและเสนอต่อที่ประชุมเป็นไตรมาสน้ันอาจจะ เป็นเวลาที่นานเกินไป ทาให้ไม่สามารถแก้ไขข้อร้องเรียนได้ตรงความต้องการอย่างทันท่วงที ดังนั้น จึงมี ขอ้ เสนอให้รวบรวมข้อรอ้ งเรยี นเป็นรายเดือนแลว้ นาบรรจุลงวาระในการประชุมประจาเดือนเพอื่ ไมใ่ หเ้ กิด ข้อร้องเรียนสะสม กำรประเมนิ ตนเอง ผลกำรดำเนนิ งำน คะแนนกำรประเมินตนเอง กำรบรรลเุ ปำ้ หมำย ๔ ๔ บรรลุ เปำ้ หมำย ๔ รำยกำรหลกั ฐำน รหัสเอกสำร/หลกั ฐำน ช่ือรำยกำรหลักฐำน/เอกสำร ๓.๓-๑ รายงานการคงอยู่ของนิสติ ๓.๓-๒ แบบประเมินความพึงพอใจของนิสิตตอ่ หลักสตู ร ๓.๓-๓ รายงานผลแบบประเมนิ ความพึงพอใจของนสิ ิต

๗๑ วิเครำะหจ์ ุดแขง็ และจดุ ท่ีควรพัฒนำ องคป์ ระกอบท่ี ๓ จดุ แข็ง หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ห้องเรียนวัดไชยชมุ พลชนะสงคราม นสิ ิตที่ เข้ามาศึกษาสว่ นมากเป็นพระสังฆาธิการ ซง่ึ ต่างมีความมุ่งม่นั มคี วามตง้ั ใจ และต้องการศกึ ษาในระดับท่ี สงู ขน้ึ โดยมเี ปา้ หมายท่ีจะนาความรูท้ ี่ไดไ้ ปประยกุ ต์ใชเ้ พ่ือสนองงานคณะสงฆ์และเพ่อื ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพ ในอนั จะสบื ต่อพระพุทธศาสนาใหย้ ง่ั ยืนต่อไป จดุ ทีค่ วรพัฒนำ ๑. หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ห้องเรียนวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ขาดการติดตามผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการคาปรึกษาแก่นิสิตและขาดนาผลการประเมิน คณุ ภาพของการใหบ้ ริการมาใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการพัฒนาการจัดบริการที่สนองความต้องการของนสิ ิต ๒. หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ห้องเรียนวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ขาดการสนับสนุนให้นิสิตสร้างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหว่างสถาบัน และการมี กจิ กรรมรว่ มกัน แนวทำงเสริมจุดแขง็ และปรับปรุงจุดทีค่ วรพัฒนำ ๑. หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ห้องเรียนวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ควรมีการติดตามผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการคาปรึกษาแก่นิสิต และนาผลการประเมิน คณุ ภาพของการใหบ้ รกิ ารมาใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการพัฒนาการจดั บริการที่สนองความต้องการของนิสิต ๒. หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ห้องเรียนวัดไชยชุมพลชนะสงคราม ควรมีการสนับสนุนให้นิสิตสร้างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหว่างสถาบัน และการมี กจิ กรรมรว่ มกนั

๗๒ องคป์ ระกอบที่ ๔ อำจำรย์ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๔.๑ กำรบรหิ ำรและพฒั นำอำจำรย์ ชนิดของตัวบ่งช้ี กระบวนการ ประเดน็ ทตี่ ้องรำยงำน - ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร - ระบบการบริหารอาจารย์ - ระบบการส่งเสรมิ และพฒั นาอาจารย์ เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ - มรี ะบบ มี - มรี ะบบ มี - มีระบบ มีกลไก - มรี ะบบ มีกลไก - มีระบบ มีกลไกการบรหิ าร กลไกการ กลไกการ การบริหารและ การบรหิ ารและ และพฒั นาอาจารย์ บรหิ ารและ บรหิ ารและ พัฒนาอาจารย์ พัฒนาอาจารย์ - มกี ารนาระบบกลไกการ พฒั นา พฒั นาอาจารย์ - มีการนาระบบ - มีการนาระบบ บรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ อาจารย์ - มกี ารนาระบบ กลไกการ กลไกการบรหิ าร ไปสู่การปฏิบตั ิ/ดาเนนิ งาน - ไม่มีการนา กลไกการ บริหารและ และพัฒนาอาจารย์ - มกี ารประเมินกระบวนการ ระบบกลไก บริหารและ พัฒนาอาจารย์ ไปสู่การปฏิบตั /ิ การบรหิ ารและพฒั นา การบรหิ าร พัฒนาอาจารย์ ไปสูก่ ารปฏบิ ัติ/ ดาเนนิ งาน อาจารย์ และพัฒนา ไปส่กู าร ดาเนนิ งาน - มีการประเมิน - มกี ารปรบั ปรงุ /พัฒนา อาจารย์ ปฏิบตั ิ/ - มีการประเมิน กระบวนการการ กระบวนการการบรหิ ารและ ไปสกู่ าร ดาเนนิ งาน กระบวนการ บรหิ ารและพัฒนา พัฒนาอาจารย์จากผลการ ปฎิบตั /ิ - มกี ารประเมิน การบริหารและ อาจารย์ ประเมิน ดาเนินงาน กระบวนการ พัฒนาอาจารย์ - มีการปรับปรงุ / - มีผลจากการปรับปรงุ การบริหาร - มกี ารปรับปรงุ / พัฒนา กระบวนการการบริหารและ และพฒั นา พฒั นา กระบวนการการ พฒั นาอาจารย์เหน็ ชัดเปน็ อาจารย์ กระบวนการ บริหารและพัฒนา รูปธรรม - ไมม่ ีการ การบรหิ ารและ อาจารย์จากผลการ - มีแนวทางปฏิบัติที่ดี โดยมี ปรับปรงุ / พฒั นาอาจารย์ ประเมิน หลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน พฒั นา จากผลการ - มีผลจากการ และกรรมการผู้ตรวจประเมิน กระบวนการ ประเมิน ปรับปรุง สามารถให้เหตุผลอธิบายการ การบรหิ าร กระบวนการการ เป็นแนวปฏิบัตทิ ่ดี ไี ด้ชัดเจน และพัฒนา บริหารและพัฒนา อาจารย์ อาจารยเ์ ห็นชัดเป็น รปู ธรรม

๗๓ ผลกำรดำเนินงำน ผลกำรดำเนนิ งำน เอกสำร/หลกั ฐำน ระบบกำรรับและแต่งตง้ั อำจำรยป์ ระจำหลักสูตร ๔.๑.๑ การประชมุ ประจาเดือน ม.ค. – ธ.ค. หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ๔.๑.๒ เกียรติบัตร, วุฒิบัตร พระพุทธศาสนา มีระบบการรับและแต่งต้ังอาจารย์ ๔.๑.๓ คาสงั่ แต่งตง้ั อาจารย์ประจาหลักสตู ร ประจาหลักสูตร เป็นไปตามข้อกาหนดของ ๔.๑.๔ ภาระงานอาจารย์ มหาวิทยาลัย เช่น มีการกาหนดคุณสมบัติเฉพาะ ๔.๑.๕ ผลงานวิชาการอาจารย์ประจาหลักสตู ร ของอาจารย์ประจาหลักสูตรคือ จบการศึกษาอย่าง ตา่ ระดบั ปริญญาโท สาขาวิชาพระพุทธศาสนา หรือ สาขาวิชาท่ีมีความสัมพันธ์ด้านพระพุทธศาสนา ต า ม เก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร โด ย สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ คณุ สมบัติท่มี หาวทิ ยาลยั กาหนด ปีการศึกษา ๒๕๖๒ หลักสูตรพุทธศาสตร บัณ ฑิ ต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ไม่มีการ เปลี่ยนแปลงอาจารย์ประจาหลักสูตร มีอัตราคงอยู่ ของอาจารย์ประจาหลักสูตรร้อยละ ๑๐๐ ทาให้ หลักสูตรมีความเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ ส่งผลให้การ บ ริ ห า ร ห ลั ก สู ต ร ส า ม า ร ถ ด า เนิ น ไป ได้ อ ย่ า ง มี ประสิทธภิ าพ ระบบกำรบริหำรอำจำรย์ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา มอี าจารย์ประจาหลักสูตร ๕ ท่าน ได้ได้มีการประชุมเพื่อทบทวนการปฏิบัติตามภาระ ง า น อ ข ง อ า จ า ร ย์ เดื อ น ล ะ ค รั้ ง แ ล ะ แ บ่ ง ห น้ า ท่ี รั บ ผิ ด ช อ บ ต า ม ค ว า ม เชี่ ย ว ช า ญ ข อ ง แ ต่ ล ะ ท่ า น ประกอบด้วย ประธานหลักสูตร คณะกรรมการ หลักสูตร เลขานุการหลักสูตร โดยมีการประชุม วิ เค ร า ะ ห์ ว า ง แ ผ น แ ล ะ พั ฒ น า อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า หลกั สตู รโดยพจิ ารณาข้อมูลดงั น้ี ๑. อัตราคงอยู่ ๒. คุณวฒุ ิ ๓. ผลงานทางวิชาการ / ตาแหน่งทาง วิชาการ ๔. การมสี ่วนร่วมในการพฒั นาหลักสูตร ๕. ภาระงานของอาจารย์ ๖. สนับสนุนให้อาจารย์ประจาลหลักสูตร ศกึ ษาต่อในระดบั ปริญญาเอก

๗๔ ผลกำรดำเนนิ งำน เอกสำร/หลกั ฐำน หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา มีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ประจา หลักสูตรในบางปีการศึกษา แต่ก็ไม่มีผลกระทบใน การบริหารหลักสูตร เพราะผู้ท่ีจะลาออกต้องแจ้ง ต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรล่วงหน้า เพ่ือ หลักสูตรจะได้สรรหาอาจารย์ใหม่เพอื่ ความต่อเนื่อง ในการการบริหารหลักสูตร และยังมีการกาหนด ภาระงานของอาจารย์ประจาหลักสูตรตามพันธกิจ ของมหาวิทยาลัย ๔ ด้าน ได้แก่ งานด้านผลิต บัณฑิต งานด้านวิจัย งานด้านบริการวิชาการสังคม งานดา้ นบารงุ ศิลปวฒั นธรรม กำรประเมนิ ผลกำรบริหำรอำจำรยป์ ระจำลักสูตร หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา มีการประเมินความพึงพอใจของ อาจารย์ประจาหลักสูตรต่อการบริหารจัดการ หลักสูตร จากการประเมินผลพบวา่ อาจารยป์ ระจา หลักสูตรมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก โดยมี คา่ เฉลยี่ ท่ี ๓.๘๓ กำรประเมินกระบวนกำรกำรบริหำรอำจำรย์ ประจำหลักสูตร หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนาได้นาผลการประเมินความพึงพอใจ ของอาจารย์ประจาหลักสูตรต่อการบริหารจัดการ หลักสูตรและพิจารณาระบบและกลไกการบริหาร อาจารย์ประจาหลักสูตรเข้าประชุม เพื่อวิเคราะห์ จดุ แข็ง จุดอ่อน ในการบริหารจัดการหลกั สูตร เพื่อ เป็นขอ้ มลู ในการพฒั นาต่อไป ระบบกำรสง่ เสรมิ และพัฒนำอำจำรย์ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา สนับสนุนให้อาจารย์ประจา หลักสูตรในการเพิ่มคุณวุฒิระดับการศึกษาท่ีสูงข้ึน และสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานทางวิชาการ ท้ังบทความวิชาการและงานวิจัย โดยให้สนับสนุน ด้านงบประมาณ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ หลักสูตรพุทธศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มีอาจารย์เข้ารับ การอบรมสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพตามโครงการ

๗๕ ผลกำรดำเนนิ งำน เอกสำร/หลกั ฐำน ตา่ งๆ ดงั น้ี ๑. พระครูกิตติชัยกาญ จน์ ได้รับการ พฒั นาศักยภาพดงั นี้ - อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนา ศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนา เพื่อ ความก้าวหน้าในประชาคมอาเซียน “ การพัฒนา โจทย์วจิ ัยเพอ่ื พิชิตทนุ วจิ ัยและนวัตกรรม”วันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย - อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากรด้านการวิจัย “การพัฒ นา งานวิจัยของมหาวิทยาลัย ภายใต้กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว) วันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ สถาบันวิจัย พุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั - อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนบทความ ทางวิชาการ “การเขียนบทความวิชาการ : วิธีการ คุณภาพและการตีพิมพ์”ระหว่างวันท่ี ๒๑ – ๒๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลยั - อ บ ร ม เชิ งป ฏิ บั ติ ก า ร “ อ บ รม ส่ื อ พฒั นาการสอนพระพุทธศาสนา เพ่ือบูรณาการงาน วิชาการและนวัตกรรมสารสนเทศ” ระหว่างวันท่ี ๒๗ – ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ ห้องเรียนคณะ พุทธศาสตร์ โครงการการขยายห้องเรียนวัดไชยชุม พลชนะสงคราม ๒. พระมหาสุวัฒน์ สุวฑฺฒโน ได้รับการ พฒั นาศกั ยภาพดังนี้ - อบรมเชงิ ปฏิบัติการ “การเขยี นบทความ วิ ช า ก า ร แ ล ะ บ ท วิ จ า ร ย์ ห นั ง สื อ ท า ง พระพุทธศาสนา” วันท่ี ๒๐ – ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย - อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากรด้านการวิจัย “การพัฒ นา งานวิจัยของมหาวิทยาลัย ภายใต้กระทรวงการ

๗๖ ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลักฐำน อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว) วันท่ี ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ สถาบันวิจัย พุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย - อ บ ร ม เชิ งป ฏิ บั ติ ก า ร “ อ บ รม ส่ื อ พฒั นาการสอนพระพุทธศาสนา เพื่อบูรณาการงาน วิชาการและนวัตกรรมสารสนเทศ” ระหว่างวันท่ี ๒๗ – ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ ห้องเรียนคณะ พุทธศาสตร์ โครงการการขยายห้องเรียนวัดไชยชุม พลชนะสงคราม ประเมนิ ผลกำรสง่ เสริมและพัฒนำอำจำรย์ จากกระบวนการและการนากระบวนสู่การ ปฏิบัติ หลักสูตรได้สนับสนุนด้านงบประมาณให้ พระมหาสุวัฒน์ สุวฑฺฒโน อาจารย์ประจาหลักสูตร ศึ ก ษ า ต่ อ ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า เอ ก ส า ข า วิ ช า พระพุทธศาสนา และอาจารย์ประจาหลักสูตร สามารถนาองค์ความรู้ท่ีเข้ารับการอบรมสร้าง ผลงานวชิ าการเปน็ บทความครบท้ัง ๕ รปู กำรประเมินตนเอง เปำ้ หมำย ผลกำรดำเนนิ งำน คะแนนกำรประเมนิ ตนเอง กำรบรรลเุ ป้ำหมำย ๔ ๔ ๔ บรรลุ

๗๗ ตัวบ่งช้ที ี่ ๔.๒ คุณภำพอำจำรย์ ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเขา้ ผลกำรดำเนินงำน ท่ี ประเด็นกำรพิจำรณำ คะแนน ๑ ๔.๒.๑ ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตรทม่ี คี ุณวฒุ ปิ ริญญาเอก กำรประเมนิ ตนเอง ๔๐ ๒ ๔.๒.๒ รอ้ ยละของอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รทด่ี ารงตาแหน่งทางวิชาการ - ๕ ๓ ๔.๒.๓ ผลงานวิชาการของอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร - ๔ ๔.๒.๔ จานวนบทความทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในวารสาร ระดับชาติหรือนานาชาติตอ่ จานวน ๔๕ อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร ๑๕ ๕ ผลรวมค่าคะแนนการประเมินตนเอง ในข้อ ๑ ถึงขอ้ ๔ ๖ ค่าเฉล่ียคะแนนประเมินตนเอง (หลักสูตรระดับปริญญาตรีและปริญญาโท หาค่าเฉลี่ยโดยหารด้วย ๓ /หลักสูตรระดับปริญญาเอก หาค่าเฉล่ียโดยหาร ด้วย ๔) กำรประเมนิ ตนเอง ผลกำรดำเนนิ งำน คะแนนกำรประเมินตนเอง กำรบรรลเุ ปำ้ หมำย ๓.๓๓ ๓.๓๓ ไมบ่ รรลุ เป้ำหมำย ๔ ๔.๒.๑ ร้อยละของอำจำรยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รทมี่ คี ุณวุฒิปริญญำเอก หลักสตู รระดบั ปรญิ ญำตรี รำยกำร หนว่ ยนับ ผลกำรดำเนินงำน ๑. จานวนอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสูตรทง้ั หมด รูป/คน ๕ ๒. จานวนอาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รทีม่ ีคุณวฒุ ปิ รญิ ญาเอก รปู /คน ๒ ๓. รอ้ ยละของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สูตรทมี่ ีคุณวุฒปิ ริญญาเอก รอ้ ยละ ๔๐ ๔. แปลงค่ารอ้ ยละท่ีคานวณไดเ้ ทียบกับคะแนนเต็ม ๕ โดยกาหนดให้ ๑๐ คะแนนเต็ม ๕ = รอ้ ยละ ๒๐ คะแนน กำรประเมนิ ตนเอง ผลกำรดำเนนิ งำน คะแนนกำรประเมนิ ตนเอง กำรบรรลเุ ปำ้ หมำย ๔ ๔ บรรลุ เป้ำหมำย ๔

๗๘ รำยกำรหลักฐำน รหสั เอกสำร/หลกั ฐำน ชื่อรำยกำรหลักฐำน/เอกสำร ๔.๒.๑ - ๑ คณุ วุฒิการศึกษาอาจารยป์ ระจาหลักสตู รระดบั ปริญญาเอก ๔.๒.๑ - ๒ คาส่งั แต่งตั้งอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ๔.๒.๒ ร้อยละของอำจำรยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู รทด่ี ำรงตำแหน่งทำงวิชำกำร หลักสตู รระดบั ปริญญำตรี รำยกำร หน่วยนบั ผลกำรดำเนนิ งำน ๑. จานวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รทั้งหมด รปู /คน ๕ ๒. จานวนอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรทด่ี ารงตาแหน่งทางวชิ าการ รูป/คน - ๓. ร้อยละของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตรทด่ี ารงตาแหน่งทาง วชิ าการ ร้อยละ - ๔. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้เทียบกับคะแนนเต็ม ๕ โดยกาหนดให้ คะแนนเต็ม ๕ = ร้อยละ ๖๐ คะแนน - กำรประเมินตนเอง เป้ำหมำย ผลกำรดำเนินงำน คะแนนกำรประเมนิ ตนเอง กำรบรรลุเปำ้ หมำย ๒ ๐ ๐ ไม่บรรลุ รำยกำรหลักฐำน รหัสเอกสำร/หลักฐำน ช่อื รำยกำรหลักฐำน/เอกสำร ๔.๒.๒ - ๑ - ๔.๒.๒ - ๒ - ๔.๒.๓ ผลงำนวชิ ำกำรของอำจำรยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลักสูตร ผลงำนทำงวิชำกำร ท่ี รำยกำร หน่วยนบั ผลกำร ดำเนินงำน ๑ จานวนบทความวิจยั หรอื บทความวิชาการท่ีตพี ิมพ์มคี า่ นา้ หนัก ๐.๒๐ เรือ่ ง ๒ จานวนบทความวจิ ยั หรือบทความวิชาการท่ตี ีพิมพ์มคี ่านา้ หนัก ๐.๔๐ เร่อื ง ๑ ๓ จานวนบทความวิจยั หรอื บทความวิชาการทต่ี พี ิมพ์มคี า่ น้าหนัก ๐.๖๐ เรื่อง ๓ ๔ จานวนบทความวจิ ยั หรอื บทความวชิ าการที่ตพี ิมพ์มคี ่านา้ หนัก ๐.๘๐ เรื่อง ๑ ๕ จานวนผลงานวชิ าการท้ังหมดทตี่ ีพิมพ์มีคา่ น้าหนัก ๑.๐๐ เร่อื ง - เรื่อง - ๕.๑ จานวนบทความวิจัยหรือบทความวชิ าการท่ตี ีพิมพ์ เรอ่ื ง - ๕.๒ จานวนผลงานได้รบั การจดสิทธบิ ัตร -

๗๙ ท่ี รำยกำร หนว่ ยนับ ผลกำร ดำเนนิ งำน ๕.๓ จานวนผลงานวชิ าการรับใช้สงั คมท่ผี า่ นการประเมนิ ตาแหน่งทาง เรอ่ื ง - วิชาการแลว้ ๕.๔ จานวนผลงานวิจยั ที่หนว่ ยงานหรือองคก์ รระดบั ชาตวิ ่าจา้ งให้ เร่อื ง - ดาเนินการ ๕.๕ จานวนตาราหรอื หนงั สือทผี่ ่านการประเมนิ ตาแหนง่ ทางวชิ าการแล้ว เร่อื ง - ๕.๖ จานวนตาราหรือหนังสือท่ีผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การ ประเมินตาแหน่งทางวิชาการแต่ไม่ได้นามาขอรบั การประเมินตาแหน่ง เรือ่ ง - ทางวิชาการ ผลงำนสรำ้ งสรรค์ ท่ี รำยกำร หนว่ ยนบั ผลกำร ดำเนินงำน ๑ จานวนงานสรา้ งสรรคท์ ี่ได้รับการเผยแพร่มีค่าน้าหนัก ๐.๒๐ ชิ้นงาน ๒ จานวนงานสร้างสรรคท์ ่ีไดร้ บั การเผยแพร่มีคา่ นา้ หนัก ๐.๔๐ ช้นิ งาน - ๓ จานวนงานสร้างสรรค์ทไี่ ด้รับการเผยแพร่มคี ่านา้ หนัก ๐.๖๐ ชิน้ งาน - ๔ จานวนงานสรา้ งสรรค์ท่ีได้รบั การเผยแพร่มคี า่ นา้ หนัก ๐.๘๐ ช้ินงาน - ๕ จานวนงานสร้างสรรคท์ ่ไี ดร้ บั การเผยแพร่มคี า่ น้าหนัก ๑.๐๐ ชิน้ งาน - - ผลกำรดำเนนิ งำน ท่ี รำยกำร หนว่ ยนับ ผลกำร ดำเนนิ งำน หลักสูตรระดบั ปริญญำตรี ๑ จานวนอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตรท้ังหมด รูป/คน ๕ ๒ ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์ ของอาจารย์ ผลรวม ๒.๘๘ ผูร้ ับผิดชอบหลกั สตู รระดับปริญญาตรี ถว่ งน้าหนัก ๓ ร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์ ร้อยละ ๕๗.๖ ของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตรระดับปริญญาตรี ๔ แปลงค่าร้อยละทีค่ านวณได้เทยี บกับคะแนนเต็ม ๕ โดยกาหนดให้ คะแนน ๑๔.๔ คะแนนเต็ม ๕ = รอ้ ยละ ๒๐ กำรประเมนิ ตนเอง ผลกำรดำเนินงำน คะแนนกำรประเมนิ ตนเอง กำรบรรลุเปำ้ หมำย ๔ ๔ บรรลุ เปำ้ หมำย ๔

๘๐ รำยกำรหลักฐำน รหสั เอกสำร/หลักฐำน ชื่อรำยกำรหลักฐำน/เอกสำร ๔.๒.๓-๑ บทความวชิ าการของอาจารย์ประจาหลักสตู ร ท้ังหมด ๕ บทความ ตัวบง่ ชี้ที่ ๔.๓ ผลที่เกดิ กับอำจำรย์ ชนดิ ของตัวบ่งชี้ ผลลพั ธ์ เรอื่ งท่กี ำหนดให้รำยงำนเก่ียวกับผลที่เกดิ กบั อำจำรยต์ ำมคำอธิบำยในตวั บง่ ชี้ - การคงอย่ขู องอาจารย์ - ความพึงพอใจของอาจารย์ เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ - มกี าร - มีการ - มีการรายงาน - มีการรายงาน - มีการรายงานผลการดาเนินงาน รายงานผล การ รายงานผล ผลการ ผลการ ครบทกุ เรื่องตามคาอธิบายใน ดาเนินงาน ในบางเรื่อง การ ดาเนนิ งาน ดาเนนิ งาน ตวั บง่ ชี้ ดาเนนิ งาน ครบทุกเรื่อง ครบทกุ เร่ือง - มแี นวโนม้ ผลการดาเนนิ งานที่ดี ครบทุก ตามคาอธบิ าย ตามคาอธบิ าย ขน้ึ ในทุกเร่ือง เร่อื งตาม ในตวั บ่งชี้ ในตวั บง่ ช้ี - มีผลการดาเนนิ งานที่โดดเดน่ คาอธบิ าย - มีแนวโน้มผล - มแี นวโนม้ ผล เทยี บเคียงกบั หลักสตู รน้ันใน ในตวั บ่งชี้ การดาเนนิ งาน การดาเนินงาน สถาบันกลุ่มเดียวกนั โดยมี ท่ีดขี น้ึ ในบาง ทีด่ ขี ึน้ ในทุก หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ยนื ยัน และ เรอ่ื ง เรอื่ ง กรรมการผ้ตู รวจประเมนิ สามารถ ให้เหตุผลอธิบายว่าเป็นผลการ ดาเนินงานทโ่ี ดดเดน่ อย่างแท้จรงิ กำรคงอยู่ของอำจำรย์ ท่ี รำยชอื่ อำจำรย์ประจำหลักสูตร กำรคงอยขู่ องอำจำรย์ ในปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ในปีกำรศกึ ษำ ๑ พระครสู ริ กิ าญจนาภิรกั ษ์ ,ดร. ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒ พระเมธีปริยตั ิวิบลู ,ดร.  ๓ พระครูกติ ติชยั กาญจน์ ๔ พระมหาสวุ ัฒน์ สุวฑฒฺ โน / แซต่ งั้  ๕ พระมหาญาณภัทร อติพโล / เทพนม  -  

๘๑ ควำมพงึ พอใจของอำจำรย์ต่อกำรบริหำรหลักสูตร ท่ี รำยกำรประเมนิ คะแนนประเมินประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๑ การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ ๔.๑๑ ๔.๗๓ ๔.๐๒ ๒ กระบวนการบรหิ ารหลักสูตร ๔.๐๕ ๔.๖๑ ๔.๒๓ ๓ กระบวนการเรยี นการสอน ๔.๑๐ ๔.๒๔ ๓.๘๒ ๔ สิ่งสนับสนนุ การเรียนรู้ - - ๓.๒๗ คะแนนเฉล่ีย ๔.๑๐ ๔.๕๓ ๓.๘๓ กำรประเมินตนเอง เป้ำหมำย ผลกำรดำเนินงำน คะแนนกำรประเมนิ ตนเอง กำรบรรลุเป้ำหมำย ๔ ๔ ๔ บรรลุ รำยกำรหลักฐำน รหัสเอกสำร/หลักฐำน ช่ือรำยกำรหลักฐำน/เอกสำร ๔.๓-๑ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของอาจารย์ประจาหลกั สูตร ๔.๓-๒ รายงานความพงึ พอใจของอาจารย์ประจาหลักสูตร วิเครำะหจ์ ดุ แขง็ และจุดที่ควรพัฒนำ องคป์ ระกอบท่ี ๔ จุดแข็ง การสง่ เสริมให้อาจารยไ์ ดร้ บั การศึกษาต่อในวชิ าภาษาองั กฤษและการที่อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร เป็นพระสงั ฆาธกิ ารระดบั ปกครองได้มโี อกาสใหค้ วามรู้กบั คณะสงฆ์ มีประชุมเฉล่ียเดือนละครง้ั จดุ ท่คี วรพัฒนำ การส่งเสรมิ อาจารย์เขียนบทความและงานวจิ ยั เพอื่ ต่อยอดใหเ้ ป็นผลงานทางวชิ าการในอนาคต แนวทำงเสริมจดุ แข็งและปรับปรุงจดุ ทีค่ วรพัฒนำ อาจารยป์ ระจาหลักสูตรและอาจารย์ประจาวิชาต้องเห็นความสาคัญของระบบประกันคุณภาพ และแนวทางการพฒั นาตนเอง

๘๒ องคป์ ระกอบที่ ๕ หลักสตู ร กำรเรียนกำรสอน กำรประเมินผู้เรียน ตวั บง่ ช้ที ี่ ๕.๑ สำระของรำยวิชำในหลักสูตร ชนดิ ของตัวบ่งช้ี กระบวนการ ประเดน็ ที่ตอ้ งรำยงำน - การออกแบบหลักสตู รและสาระรายวิชาในหลกั สตู ร - การปรบั ปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความกา้ วหน้าในศาสตรส์ าขาน้นั ๆ เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ - มีระบบ มี - มรี ะบบ มี - มีระบบ มีกลไก - มีระบบ มีกลไกการ - มีระบบ มีกลไกการพัฒนา กลไกการ กลไกการ การพฒั นาและ พฒั นาและบรหิ าร และบรหิ ารจัดการสาระของ พฒั นาและ พฒั นาและ บริหารจดั การ จัดการสาระของ รายวิชาในหลักสตู ร บริหาร บริหารจดั การ สาระของ รายวิชาในหลักสตู ร - มีการนาระบบกลไกการ จดั การ สาระของ รายวิชาใน - มีการนาระบบกลไก พฒั นาและบริหารจดั การ สาระของ รายวิชาใน หลักสตู ร การพัฒนาและ สาระของรายวิชาใน รายวชิ าใน หลักสูตร - มีการนาระบบ บรหิ ารจดั การสาระ หลกั สตู รไปสู่การปฏบิ ตั /ิ หลักสูตร - มกี ารนาระบบ กลไกการ ของรายวชิ าใน ดาเนนิ งาน - ไมม่ ีการนา กลไกการ พัฒนาและ หลักสตู รไปสู่การ - มีการประเมนิ กระบวนการ ระบบกลไก พฒั นาและ บริหารจดั การ ปฏบิ ตั ิ/ดาเนนิ งาน การพัฒนาและบริหาร การพฒั นา บริหารจดั การ สาระของ - มีการประเมนิ จัดการสาระของรายวชิ าใน และบรหิ าร สาระของ รายวิชาใน กระบวนการการ หลกั สูตร จดั การ รายวชิ าใน หลักสูตรไปสู่ พัฒนาและบริหาร - มกี ารปรับปรุง/พัฒนา สาระของ หลกั สูตรไปสู่ การปฏบิ ตั ิ/ จัดการสาระของ กระบวนการการพัฒนาและ รายวชิ าใน การปฏิบตั /ิ ดาเนินงาน รายวิชาในหลักสตู ร บริหารจัดการสาระของ หลกั สูตร ดาเนินงาน - มีการประเมนิ - มีการปรับปรงุ / รายวชิ าในหลักสูตรจากผล ไปส่กู าร - มกี ารประเมนิ กระบวนการ พัฒนากระบวนการ การประเมนิ ปฎบิ ตั /ิ กระบวนการ การพัฒนาและ การพฒั นาและ - มีผลจากการปรบั ปรงุ ดาเนินงาน การพัฒนาและ บรหิ ารจัดการ บริหารจัดการสาระ กระบวนการการพัฒนาและ บรหิ ารจดั การ สาระของ ของรายวชิ าใน บรหิ ารจดั การสาระของ สาระของ รายวชิ าใน หลักสูตรจากผลการ รายวิชาในหลกั สตู รเหน็ ชัด รายวชิ าใน หลกั สตู ร ประเมนิ เป็นรปู ธรรม หลักสตู ร - มกี ารปรับปรงุ / - มผี ลจากการ - มีแนวทางปฏบิ ตั ทิ ่ีดี โดยมี - ไม่มีการ พัฒนา ปรับปรุง หลักฐานเชงิ ประจักษย์ ืนยนั ปรับปรุง/ กระบวนการ กระบวนการการ และกรรมการผตู้ รวจ พัฒนา การพฒั นาและ พฒั นาและบริหาร ประเมินสามารถให้เหตุผล กระบวนการ บริหารจัดการ จัดการสาระของ อธบิ ายการเป็นแนวปฏิบัติที่ การพฒั นาและ สาระของ รายวชิ าในหลกั สตู ร ดีไดช้ ดั เจน บริหารจัดการ รายวชิ าใน เห็นชดั เปน็ รูปธรรม สาระของ หลกั สตู รจาก รายวชิ าใน ผลการประเมนิ หลกั สูตร

๘๓ ผลกำรดำเนินงำน ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลักฐำน กำรออกแบบหลักสูตรและสำระรำยวิชำใน - ๕.๑.๑ มคอ.๒ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต หลกั สูตร สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (หลักสูตรปรับปรุง ห้องเรียนมีการประชุมอาจารย์ประจา ๒๕๖๐) หลักสูตร เพ่ือพิจารณ าระบบและกลไกการ - ๕.๑.๒ มคอ. ๓ ออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชา ให้สอดคล้อง - ๕.๑.๓ มคอ. ๕ ตามกรอบมาตรฐานคุณ วุฒิ ระดับอุดมศึกษา - ๕.๑.๔ การประชุมครั้งที่ ๑ ประจาเดือนมกราคม แห่งชาติ (TQF) และได้จัดการเรียนการสอนโดย วาระท่ี ๔.๔ เรื่องการประกันคุณภาพและการ คานึงถึงความสอดคล้องกับพันธกิจ วัตถุประสงค์ ประเมนิ หลกั สูตร ของหลักสูตรตาม มคอ.๒ หลักสูตรพุทธศาสตร - ๕.๑.๕ คู่มอื ภาระงานอาจารย์ บัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (หลักสูตร - ๕.๑.๖ ตารางสอนปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ป รับ ป รุง ๒ ๕ ๖ ๐ ) ท่ี ผ่ าน การเห็ น ช อบ ขอ ง - ๕ .๑ .๗ การประชุมคร้ังท่ี ๒ ป ระจาเดือน คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยในการประชุม ครั้ง กุมภาพันธ์ วาระท่ี ๔.๔ เรื่องการขอปรับปรุง หลักสตู รเพ่อื พฒั นางานดา้ นวิชาการ ที่ ๑ วันที่ ๒๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๐ โครงการขยายห้องเรียนคณะพุทธศาสตร์ - ๕ .๑ .๘ การประชุมคร้ังท่ี ๒ ป ระจาเดือน วัดไชยชุมพลชนะสงครามมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบ กุมภาพันธ์ วาระท่ี ๔.๖ เรื่องการบริหารหลักสูตร และอาจารย์ประจาหลักสูตรตรงสาขาและครบตาม คุม้ ทนุ กับค่าใชจ้ า่ ยประจาปงี บประมาณ เกณฑ์ท่ีกาหนด ก ำ ร ป รั บ ป รุ ง ห ลั ก สู ต ร ใ ห้ ทั น ส มั ย ต ำ ม ควำมก้ำวหน้ำในศำสตรส์ ำขำนั้นๆ ก่อนเปิดภาคปีการศึกษา ๒๕๖๒ ได้มีการ ประชุมอาจารย์คณะพุทธศาสตร์เพ่ือเตรียมความ พร้อมและทาความเข้าใจในแต่ละรายวิชาที่มีการ ปรับปรุงหลักสูตร โดยคานึงถึงบริบทของนิสิตเป็น สาคัญ เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปตาม แผนการจัดการศึกษาหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา ห้องเรียนไดม้ กี ารบริหาร และปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน ดงั นี้ ส่งเสริมให้อาจารย์ใช้วิธีการสอนแบบใหม่ ที่จะพัฒนาการเรียนรู้แก่นิสิตสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ ทาง หลักสูตรได้ปรึกษาหารือกันและสนับสนุนส่งเสริม ให้อาจารย์ได้ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน แ บ บ ป ร ะ ยุ ก ต์ เช่ น ก า ร ส อ น แ บ บ PBL (Problem–based Learning) เปน็ ต้น ด้านการจัดทามคอ. ๓ ในการจัดทามคอ. ๓ นั้น การใช้เอกสารอ้างอิงควรใช้เอกสารที่มีอยู่ใน ห้องสมุดและอายุของหนังสือที่ใช้อ้างอิงไม่ควรเกิน

๘๔ ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลักฐำน ๑๐ ปี อายุของงานวิจัยไม่ควรเกิน ๕ ปี ยกเว้น หนังสือท่ีเป็นคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา เช่น พระไตรปิฎกอรรถกถา ฎีกา ไม่จากัดเร่ืองอายุของ หนงั สอื ด้านการทวนผลสัมฤทธิ์ อาจารย์ประจา หลักสูตรมีมติในการทบทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของ นิสิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ใน มคอ. ๓ โดยมีสัดส่วนอย่างน้อยร้อละ ๒๕ ของ รายวิชาทเ่ี ปดิ สอน กำรประเมนิ กลไกลและกระบวนกำร อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ ชุ ม ประเมินผลหลกั สูตรโดยวิเคราะหถ์ งึ หลกั สตู รดงั นี้ ๑. จดุ แข็ง - ห้องเรียนมีหลักสูตรท่ีผ่านกระบวนการ ปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องและเป็น ระบบ - จากการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการ สอนแบบประยุกต์ เช่น การสอนแบบ PBL (Problem–based Learning) ทาให้นิสิตมีความ สนใจในรายวิชาน้นั ๆมากกว่าเดมิ ๒. จุดออ่ น - จากการที่ปรับปรุงรูปแบบการสอนแบบ ใหม่ ทาให้เกิดข้อจากัดบางประการ เช่น นิสิตบาง รูปยังไม่เข้าใจกระบวนการแบบ PBL เพราะยัง เข้ า ใจ บ ท บ า ท ข อ ง ผู้ ส อ น แ ล ะ ผู้ เรี ย น ไม่ ถู ก ต้ อ ง อาจารย์ยังไม่มีความชานาญในรูปแบบ PBL เป็น ตน้ ๓. แนวทางแกไ้ ข - ควรมีจัดการการอบรมกระบวนการเรียน การสอนแบบ PBL กำรประเมนิ ตนเอง เปำ้ หมำย ผลกำรดำเนนิ งำน คะแนนกำรประเมินตนเอง กำรบรรลเุ ป้ำหมำย บรรลุ ๔๔ ๔

๘๕ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๕.๒ กำรวำงระบบผสู้ อนและกระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอน ชนดิ ของตัวบ่งช้ี กระบวนกำร ประเดน็ ท่ตี อ้ งรำยงำน - การกาหนดผสู้ อน - การกากับ ติดตามและตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ (มคอ.๓ และ มคอ.๔) และการจดั การ เรียนการสอน - การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการ ทางสงั คม และการทานบุ ารุงศลิ ปะและวัฒนธรรม เกณฑก์ ำรประเมิน คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ - มีระบบ มี - มีระบบ มีกลไก - มีระบบ มีกลไก - มรี ะบบ มีกลไกการ - มรี ะบบ มีกลไกการวาง กลไกการ การวางระบบ การวางระบบ วางระบบผสู้ อนและ ระบบผู้สอนและ วางระบบ ผู้สอนและ ผู้สอนและ กระบวนการจัดการ กระบวนการจดั การเรียน ผสู้ อนและ กระบวนการ กระบวนการ เรยี นการสอน การสอน กระบวนการ จัดการเรียนการ จดั การเรยี น - มกี ารนาระบบกลไก - มกี ารนาระบบกลไกการ จัดการเรยี น สอน การสอน การวางระบบผู้สอน วางระบบผูส้ อนและ การสอน - มีการนาระบบ - มกี ารนาระบบ และกระบวนการ กระบวนการจดั การเรยี น - ไม่มีการนา กลไกการวาง กลไกการวาง จัดการเรียนการสอน การสอนไปสกู่ ารปฏิบตั /ิ ระบบกลไก ระบบผู้สอนและ ระบบผู้สอน ไปสู่การปฏิบตั ิ/ ดาเนนิ งาน การวาง กระบวนการ และ ดาเนนิ งาน - มีการประเมิน ระบบผ้สู อน จัดการเรยี นการ กระบวนการ - มีการประเมิน กระบวนการการวาง และ สอนไปสู่การ จดั การเรยี น กระบวนการการวาง ระบบผูส้ อนและ กระบวนการ ปฏบิ ตั ิ/ การสอนไปสู่ ระบบผู้สอนและ กระบวนการจดั การเรียน จดั การเรียน ดาเนินงาน การปฏบิ ัต/ิ กระบวนการจัดการ การสอน การสอนไปสู่ - มกี ารประเมิน ดาเนนิ งาน เรยี นการสอน - มีการปรับปรงุ /พัฒนา การปฎิบัต/ิ กระบวนการ - มีการประเมนิ - มีการปรับปรุง/ กระบวนการการวาง ดาเนนิ งาน การวางระบบ กระบวนการ พัฒนากระบวนการ ระบบผ้สู อนและ ผสู้ อนและ การวางระบบ การวางระบบผูส้ อน กระบวนการ ผสู้ อนและ และกระบวนการ - กระบวนการจัดการเรยี น จัดการเรยี นการ กระบวนการ จดั การเรียนการสอน การสอนจากผลการ สอน จดั การเรยี น จากผลการประเมิน ประเมนิ - ไมม่ ีการ การสอน มีผลจากการ - มผี ลจากการปรับปรุง ปรับปรงุ /พัฒนา มกี ารปรบั ปรุง/ ปรับปรุง กระบวนการการวาง กระบวนการ พฒั นา กระบวนการการวาง ระบบผสู้ อนและ การวางระบบ กระบวนการ ระบบผู้สอนและ กระบวนการจัดการเรยี น ผูส้ อนและ การวางระบบ กระบวนการจัดการ การสอนเห็นชัดเปน็ กระบวนการ ผ้สู อนและ เรียนการสอนเห็นชดั รปู ธรรม จดั การเรียนการ กระบวนการ เป็นรปู ธรรม มีแนวทางปฏบิ ัตทิ ดี่ ี โดย สอน จดั การเรยี น มีหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์

คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ ๘๖ การสอนจากผล คะแนน ๕ การประเมนิ ยืนยนั และกรรมการ ผตู้ รวจประเมนิ สามารถ ให้เหตผุ ลอธิบายการเป็น แนวปฏิบัติทดี่ ไี ดช้ ดั เจน ผลกำรดำเนินงำน ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลักฐำน กำรกำหนดผู้สอน ๕.๒.๑ การประชุมคร้ังที่ ๔ ประจาเดือนเมษายน อาจารย์ประจาหลักสูตรได้ประชุมกาหนด วาระที่ ๔.๑ เรื่องการจัดตารางสอนภาคการศึกษา ผู้สอนแต่ละรายวชิ าโดยพิจารณาวุฒิการศึกษาและ ที่ ๑ ความเชี่ยวชาญ ซง่ึ มีกระบวนการกาหนดผู้สอนดังนี้ ๕.๒.๒ มคอ. ๓ ๑. พิจารณาแผนการสอนตาม มคอ.๒ ใน ๕.๒.๓ มคอ. ๕ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จานวนวิชาท่ีเปิดในภาค ๕.๒.๔ ตารางสอนปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ การศึกษารวม ๘๐ รายวิชา แบ่งเป็นภาคเรียนท่ี ๑ ๕.๒.๕ คาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและ จานวน ๔๑ วิชา ภาคการศึกษาท่ี ๒ จานวน ๓๙ พิจารณาการจัดทา มคอ. ๓ , มคอ.๕ วิชา ๕.๒.๖ กิจกรรมโครงการศึกษาเรยี นรู้นอกห้องเรียน ๒. พิจารณารายวิชา คาอธิบายรายวิชา ในรายวิชา “พุทธศิลปะ” เทียบกบั คณุ วุฒขิ องอาจารยผ์ สู้ อน ๕.๒.๗ โครงการการจัดการเรียนการสอนที่มีการ ๓. กาหนดเกณฑ์คาบการสอนให้เป็นไป บูรณาการกับการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมใน ตามเกณฑ์การสอนของอาจารยใ์ นมหาวทิ ยาลยั รายวิชาเทศกาลและพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนา ๔. วิชาที่ต้องเชิญผู้เชี่ยวชาญจะต้องเป็น ๕.๒.๘ โครงการการจัดการเรียนการสอนที่มีการ วิชาเฉพาะด้าน เช่น ภาษาอังกฤษชั้นสูง กฎหมาย บูรณ าการกับการบริการวิชาการทางสังคม ทั่วไป เปน็ ตน้ โครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร โครงการสัมมนา ๕. เมื่อพิจารณาเสร็จแล้วจึงมีมติร่วมกับ เร่ือง “พระพทุ ธศาสนากับปัญหายาเสพตดิ ” ฝ่ายวิชาการ เพื่อเตรียมประชุมคณาจารย์ก่อนการ ๕.๒.๙ การประชุมครั้งท่ี ๑๐ ประจาเดือนตุลาคม สอน วาระท่ี ๔.๑ เรื่องการจัดตารางสอนภาคการศึกษา ๖. เมื่อได้พิจาณาหลักเกณฑ์ผสู้ อนแล้ว จึง ท่ี ๒

๘๗ ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลกั ฐำน ได้กาหนดรายวิชาให้แก่อาจารย์ผู้สอน โดย มอบหมายรายวิชาแก่อาจารย์ประจาหลักสูตรใน สดั สว่ นท่มี ากกวา่ อาจารย์ทา่ นอ่นื ๆ กำรกำกับ ติดตำมและตรวจสอบกำรจัดทำ แผนกำรเรียนรู้ (มคอ.๓ และมคอ.๕)และกำร จดั กำรเรียนกำรสอน หลักสูตรมีกลไลและระบบ การกากับ ติดตามและตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ (มคอ.๓ และมคอ.๕)และการจัดการเรียนการสอน ดงั นี้ ๑. ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตรเพื่อ วางแผนจดั ทา มคอ.๓ ๒ .จั ด โ ค ร ง ก า ร สั ม ม น า อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น รายวชิ าในการจัดทา มคอ.๓ ๓. กาหนดเวลาการส่ง มคอ.๓ ให้อาจารย์ ผ้สู อนรายวชิ าทราบ ๔. รวบรวม มคอ. ๓, มคอ. ๕ ตาม ระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ ๕. อาจารย์ประจาหลักสูตรประชุมแบ่ง ภาระงานในการตรวจพิจารณาการเขียน มคอ.๓ ของอาจารย์ผสู้ อนรายวชิ า ๖. แจ้งอาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่ต้อง ดาเนินการแกไ้ ข มคอ.๓ ใหถ้ ูกตอ้ ง กำรน ำระบ บ และกลไกสู่กำรป ฏิบ บั ติแ ละ ดำเนินกำร หลังจากทีไ่ ด้มอบหมายรายวชิ าแก่อาจารย์ ผู้ ส อ น ค รบ ต าม ห ลั ก สู ต ร แ ล้ ว ก็ มี ก ารแ จ้ ง กาหนดการให้ผู้สอนส่งมคอ.๓ ก่อนเปิดภาค ก า ร ศึ ก ษ า ๑ สั ป ด า ห์ จ า ก นั้ น จึ งแ ต่ งต้ั ง คณะกรรมการติดตามและพจิ ารณาการจดั ทา มคอ. ๓ ดงั น้ี ๑. พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ หัวหน้าฝ่าย วชิ าการ ๒. พระเมธีปรยิ ัติวบิ ูล ดร. ๓. พระครกู ติ ติชัยกาญจน์ ๔. พระมหาสุวฒั น์ สุวฑฺฒโน ๕. พระมหาญาณภทั ร อติพโล

๘๘ ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลกั ฐำน มีหน้าที่ติดตามและพิจราณาตรวจสอบ เน้ือหา มคอ.๓ ในรายวิชาที่ทาการเรียนการสอน และแจ้งให้ปรับปรุงแก้ไขสาหรับในรายวิชาที่ยัง สมบูรณ์ เพื่อแจกให้กับนิสิตในสัปดาห์แรกของภาค การศึกษา กำรประเมินกระบวนกำร จากการท่ีหลักสูตรได้กาหนดแนวทางใน การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทา (มคอ.๓) ทาให้อาจารย์ผู้สอนต่ืนตัวในการจัดทา แผนการเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ในด้าน การจัดการเรียนการสอน รวมถึงพิจารณาวิธีการ สอนที่เหมาะสมเพ่ือให้สอดคล้องกับมาตรฐานผล การเรยี นรู้ ซึง่ แนวทางนีห้ ลกั สตู รเหน็ วา่ แนวทางนี้มี ความเหมาะสม เห็นสมควร ให้เป็นแนวทางในการ ปฏิบตั ติ ่อไป กำรปรบั ปรุงและพัฒนำจำกผลกำรประเมิน ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ พบว่ามคอ.๓ ใน บางรายวิชาท่ีจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (หลักสูตรปรับปรุง ๒๕๖๐) ยังกาหนดเนื้อหาไม่ คลอบคลุมตามคาอธิบายรายวิชาท่ีเพ่ิมข้ึน จึงได้ แ จ้ ง อ า จ า ร ย์ ใ ห้ ป รั บ ป รุ ง เพื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ หลักสตู ร กำรจัดกำรเรียนกำรสอนในระดับปริญญำตรีท่ีมี กำรบูรณำกำรกับกำรวิจัย กำรบริกำรวิชำกำร ท ำงสั งค ม แ ล ะก ำรท ำนุ บ ำรุงศิ ล ป ะแ ล ะ วัฒนธรรม ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ หลักสูตรมีการ จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น บู ร ณ า ก า ร กั บ ก า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท า ง สั ง ค ม ใ น ร า ย วิ ช า สั ม ม น า พระพุทธศาสนา โดยนิสิตปีท่ี ๔ จัดสัมมนาใน หัวข้อ “พระพุทธศาสนากับปัญหายาเสพติด” และ รายวิชาเทศกาลและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นการบูรณาการในการทานุบารุงศิลปะและ วฒั นธรรม โดยกาหนดให้นิสิตปีท่ี ๑ นาองค์ความรู้ จากการเรียนไปจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา แล้วสรปุ เป็นโครงการนาเสนออาจารย์ประจาวิชา

๘๙ ผลกำรดำเนนิ งำน เอกสำร/หลกั ฐำน กำรประเมินตนเอง เป้ำหมำย ผลกำรดำเนินงำน คะแนนกำรประเมินตนเอง กำรบรรลเุ ปำ้ หมำย ๔ ๔ ๔ บรรลุ

๙๐ ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๕.๓ กำรประเมนิ ผู้เรยี น ชนดิ ของตัวบ่งช้ี กระบวนกำร ประเด็นทตี่ ้องรำยงำน - การประเมนิ ผลการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ - การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนิสติ - การกากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร (มคอ.๕ มคอ.๖ และ มคอ.๗) - การประเมินวทิ ยานิพนธแ์ ละการคน้ คว้าอิสระในระดบั บัณฑติ ศึกษา เกณฑ์กำรประเมิน คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ - มีระบบ มี - มรี ะบบ มีกลไก - มรี ะบบ มีกลไก - มรี ะบบ มีกลไกการ - มรี ะบบ มีกลไกการ กลไกการ การประเมนิ การประเมนิ ประเมนิ ผูเ้ รยี น ประเมินผูเ้ รียน ประเมนิ ผเู้ รียน ผเู้ รียน - มีการนาระบบกลไก - มีการนาระบบกลไกการ ผู้เรยี น - มีการนาระบบ - มกี ารนาระบบ การประเมินผู้เรียน ประเมนิ ผเู้ รยี นไปสู่การ - ไม่มีการนา กลไกการ กลไกการ ไปสู่การปฏบิ ตั ิ/ ปฏิบัติ/ดาเนนิ งาน ระบบกลไก ประเมินผู้เรยี น ประเมนิ ผูเ้ รียน ดาเนนิ งาน - มกี ารประเมนิ กระบวนการ การประเมิน ไปส่กู ารปฏบิ ัต/ิ ไปสู่การปฏิบัติ/ - มีการประเมนิ การประเมนิ ผเู้ รยี น ผเู้ รียนไปสู่ ดาเนนิ งาน ดาเนินงาน กระบวนการการ - มีการปรบั ปรงุ /พฒั นา การปฎบิ ัติ/ - มกี ารประเมิน - มกี ารประเมนิ ประเมินผู้เรยี น กระบวนการการประเมนิ ดาเนินงาน กระบวนการ กระบวนการ - มกี ารปรับปรุง/ ผู้เรียนจากผลการประเมนิ การประเมิน การประเมนิ พฒั นากระบวนการ - มผี ลจากการปรบั ปรงุ ผเู้ รยี น ผเู้ รียน การประเมนิ ผูเ้ รยี น กระบวนการการประเมนิ - ไม่มีการ - มีการปรบั ปรุง/ จากผลการประเมิน ผเู้ รียนเห็นชดั เปน็ รูปธรรม ปรบั ปรุง/พฒั นา พฒั นา - มีผลจากการ - มแี นวทางปฏิบัตทิ ด่ี ี โดยมี กระบวนการ กระบวนการ ปรบั ปรงุ หลักฐานเชงิ ประจักษ์ การประเมนิ การประเมิน กระบวนการการ ยืนยัน และกรรมการ ผู้เรยี น ผู้เรียนจากผล ประเมนิ ผูเ้ รยี น ผู้ตรวจประเมินสามารถให้ การประเมิน เห็นชัดเป็นรูปธรรม เหตุผลอธิบายการเปน็ แนว ปฏบิ ัตทิ ี่ดไี ดช้ ัดเจน ผลกำรดำเนินงำน ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลกั ฐำน กำรประเมินผลกำรเรียนรู้ตำมกรอบมำตรฐำน ๕.๓-๑ มคอ.๒ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณ ฑิต คณุ วุฒริ ะดบั อุดมศึกษำแห่งชำติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (หลักสูตรปรับปรุง หลักสูตรได้กาหนดให้อาจารย์ทุกรายวิชา ๒๕๖๐) ได้ทาการแจ้งเกณฑ์การวัดผลประเมินผลตามท่ี ๕.๓.๒ การประชุมครั้งท่ี ๙ ประจาเดือนกันยายน กาหนดไว้ มคอ.๓ ให้นิสิตทราบในช่ัวโมงแรกของ วาระท่ี ๔.๔ เร่ืองแต่งตั้งคณะกรรมการทางานทวน การเข้าสอน หรือแจกแนวสังเขปรายวิชา เกณฑ์ ผลสัมฤทธ์ิ , วาระที่ ๔.๕ เรื่องการทวนผลสมั ฤทธิ์

๙๑ ผลกำรดำเนนิ งำน เอกสำร/หลกั ฐำน การวัดผลประเมินผลให้นิสิตได้มีส่วนร่วมในการ ๕.๓.๓ คู่มือการทวนผลสัมฤทธ์ิ นาเสนอเกณฑ์การประเมินผลและกระบวนการ ๕.๓.๔ คาสั่งแต่งตั้งกรรมการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิ เรยี นการสอนตลอดปีการศกึ ษา ๕.๓.๕ รายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ภาค การประเมินผู้เรียนตามกรอบมาตรฐาน การศึกษาท่ี ๑ คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ท่ีมุ่งเน้นการประเมินผล ๕.๓.๖ รายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ภาค การเรียนรู้ ๕ ทักษะ ได้แก่ การศึกษาท่ี ๒ ๑. ทกั ษะด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ๒. ทักษะดา้ นความรู้ ๓. ทักษะด้านปัญญา ๔. ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ ๕. ทักษะด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ สื่อสารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ซ่ึงอยู่ในมคอ.๒, มคอ.๓ และมคอ.๕ โดย ใช้ในการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรยี น และผู้สอน ต้ อ ง มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี หลากหลาย เช่น การทดสอบ การมอบหมาย งาน การอภิปราย เป็นต้น เพ่ือสะท้อนความรู้ ความสามารถของนิสติ กำรตรวจสอบกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ของนิสิต มีระบบและกลไกในการตรวจสอบการ ประเมินผลการเรียนรู้ของนิสิต หลักสูตรจัดการ ประชุมเพ่ือพิจารณาเกรด ซ่ึงทุกรายวิชาต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการผู้ดูแลหลักสูตรจึง จะสามารถยืนยันเกรดได้ หลังจากนั้นอาจารย์ ประจาหลักสูตรเป็นผู้ควบคุมดูแล กาหนดให้ อาจารย์ทุกรายวิชา ดาเนินการจัดทารายงานผล การดาเนนิ งานของรายวชิ า (มคอ. ๕) และ รายงาน ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กบั มคอ. ๒ มคอ. ๓ ให้แล้วเสรจ็ ภายใน ๓๐ วัน อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ ชุ ม เพ่ื อ คัดเลือกรายวิชาท่ีจะทาการทวนผลสัมฤทธ์ิโดยมี เกณฑ์ในการคัดเลือกในสัดส่วนจานวนไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาท่ีเปิดสอน ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ภาคการศึกษาที่ ๑ ทาการทวนผลสัมฤทธิ์ จานวน ๘ วิชา ภาคการศึกษาท่ี ๑๒ ทาการทวน ผลสัมฤทธิ์ จานวน ๘ วิชา รวม ๑๖ วิชา จากนั้น

๙๒ ผลกำรดำเนินงำน เอกสำร/หลกั ฐำน น าเสน อผู้อาน วยการห้ องเรียน เพ่ื อแต่งตั้ ง คณะกรรมการทวนผลสัมฤทธ์ิ ๓ รปู ไดแ้ ก่ ๑. พระครสู ิรกิ าญจนาภิรักษ์ ๒. พระสมุห์สมโภช อนิ ทฺ วิรโิ ย ๓. พระครูศรีธรรมวราภรณ์ อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรแจง้ อาจารยผ์ ู้สอน เตรยี มข้อมูลตา่ งๆ ท่ีเก่ียวข้องเก่ียวขอ้ งกบั การทวน ผลสัมฤทธ์ิ เช่น มคอ. ๓ เป็นต้น จัดทาและแจก แบบประเมินตนเองของนิสิต (ทส.๐๑) เม่ือสิ้นภาค การศึกษา พร้อมท้ังจัดทารายงานผลการประเมิน ตนเองของนสิ ติ (ทส.๐๒) ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ท ว น ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ทาการศึกษาข้อมูล เช่น มคอ. ๒ มคอ. ๓ มคอ. ๕ เอกสารการสอน ข้อสอบ ผลการสอบ เป็นตน้ แล้ว วิเคราะห์ความสอดคล้องของเน้ือหา วิธีการสอน วิธีการประเมิน กิจกรรมการเรยี นการในรายวิชา ซึ และอาจมีการสัมภาษณ์นิสิตหรืออาจารย์ผู้สอน เพื่อยืนยันความแม่นยาผลสัมฤทธิ์ หลังจากน้ัน จัดทารายงานผลการท วนผลสัมฤทธ์ิพ ร้อม ข้อเสนอแนะเสนอต่อผู้อานวยการห้องเรียนเพ่ือ รับทราบ และแจ้งกลับมายังอาจารย์ผู้สอน เพื่อ ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนในคร้ังตอ่ ไป กำรประเมินกระบวนกำร หลักสูตรได้ประชุมคณะกรรมการบริหาร หลักสตู ร พบว่า ๑) จุดแขง็ มีระบบติดตามกระบวนการเรียนการ สอนของอาจารย์ท่ีสอนในรายวิชา ตลอดทุกภาค การศึกษา ๒) จุดอ่อน การจัดส่งมคอ. ๕ มีความล่าช้าในบาง วชิ า กำรปรับปรุงและพัฒนำกำรบวนกำร หลักสูตร ต้องนาปัญหาเก่ียวกับวิธีการ ประเมินนิสิตของทุกรายวิชาที่เก่ียว ข้องกับ สาขาวิชามาสรุปประเด็น วิธีการประเมิน ข้ันตอน การประเมิน รูปแบบการประเมิน เคร่ืองมือที่ใช้ใน

๙๓ ผลกำรดำเนนิ งำน เอกสำร/หลกั ฐำน การประเมิน แล้วทาการวิเคราะห์กระบวนการทุก ขั้นตอนว่ามีความเท่ียงและสอดคล้องกับเนื้อหา แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ห รื อ ไม่ อย่างไร จากน้ันก็สร้างแบบสอบถามเก่ียวกับ คณุ ภาพและประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์ว่ามี กระบวนการและข้ันตอนตรงและสอดคล้องกับ เ นื้ อ ห า ที่ ร ะ บุ ไ ว้ ใ น ม ค อ . ๓ ห รื อ ไ ม่ กำรกำกับประเมินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนและ ประเมนิ หลกั สตู ร (มคอ.๕) คณะกรรมการได้ประชุมร่วมกันพิจารณา การประเมินผลการทวนสอบ ๑๖ รายวิชา พบว่า ผลการประเมินส่วนใหญ่เป็นไปตามเกณฑ์ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ส่วนผล การวิเคราะห์จากมคอ.๕ พบว่าทักษะทั้ง ๕ ด้าน มี ผลตามท่ีเสนอไว้ในหมวดที่ ๒ (๓) ประสิทธิผลของ วิ ธี ส อ น ท่ี ท า ใ ห้ เกิ ด ผ ล ก า ร เรี ย น รู้ ต า ม ท่ี ร ะ บุ ใ น รายละเอียดของรายวิชา อาจารย์ประจาหลักสูตร ได้ประชุมร่วมกันพิจารณาการประ เมินผลของ อาจารย์ผู้สอนตาม มคอ.๓ และมคอ.๕ พบว่า อาจารย์ผู้สอนส่วนใหญ่ได้ดาเนินการประเมินผล การเรียนรู้ได้สอดคล้องกับเน้ือหาตามท่ีระบุไว้ ใน มคอ. ๓ กำรปรบั ปรุงและพฒั นำกำรบวนกำร อาจารย์ประจาหลักสูตรได้ประชุมร่วมกัน พิจารณาแก้ไขปัญหาการเขียนมคอ.๓ ของอาจารย์ ผู้สอน เพ่ือให้อาจารย์ผู้สอนได้ประเมินผลการ เรียนรู้ให้ครบท้ัง ๕ ด้าน โดยอาจารย์ประจา หลักสูตรได้ช่วยกันติดตาม แนะนาอาจารย์ผู้สอน โดยให้เพ่ิมการะประเมินผลให้ครบทั้ง ๕ ด้าน ใน การจัดทา มคอ.๓ ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ กำรประเมนิ ตนเอง ผลกำรดำเนินงำน คะแนนกำรประเมินตนเอง กำรบรรลเุ ปำ้ หมำย ๔ ๔ บรรลุ เป้ำหมำย ๔

๙๔ ตวั บ่งช้ีท่ี ๕.๔ ผลกำรดำเนินงำนหลักสตู รตำมกรอบมำตรฐำนคณุ วุฒิระดับอุดมศึกษำแห่งชำติ ชนดิ ของตัวบ่งชี้ ผลลัพธ์ ผลกำรดำเนินงำน ๑) ผลกำรดำเนินงำนตำมตัวบง่ ชี้ผลกำรดำเนินงำนใน มคอ.๒ ของหลกั สูตร ลำดับ ดชั นีบ่งชี้ผลกำรดำเนินงำน ผลกำรดำเนินงำน เป็นไปตำมเกณฑ์ (Key Performance Indicators) ผำ่ น ไม่ผำ่ น ๑ อาจารยป์ ระจาหลักสตู รอย่างน้อยร้อยละ หลักสูตรได้มีการจัดประชุม √ ๘๐ มีส่วนรว่ มในการดาเนินงานหลกั สตู ร อาจารย์ประหลักสูตร เพื่อ √ √ ว า งแ ผ น ติ ด ต า ม แ ล ะ ทบทวนการดาเนินงานของ ห ลั ก สู ต ร โด ย อ าจ า ร ย์ ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต ร เข้ า ร่ ว ม ประชุม ๕ คน คิดเป็นร้อย ละ ๑๐๐ และทางโครงการ ขยายห้องเรียนได้มอบให้ พ ร ะ ค รู สิ ริ ก า ญ จ น า ภิ รั ก ษ์ หั ว ห น้ า ฝ่ า ย วิชาการ พระครูกิตติชัย ก า ญ จ น์ พ ร ะ ม ห า สุวัฒน์ สุวฑฺฒโน อาจารย์ ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต ร เข้ า ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม กั บ ค ณ ะ พุ ท ธ ศาสตร์ ส่วนกลางและไดเ้ ข้า ร่วมโครงการพัฒ นาการ อาจารย์สมา่ เสมอ ๒ มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ มคอ ๒ ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน หัวหน้าฝ่ายวิชาการ พระครู คณุ วฒุ ริ ะดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ กิตติชัยกาญจน์ พระมหา สุวัฒน์ สุวฑฺฒโน อาจารย์ ประจาหลักสูตรได้เข้าร่วม ประชุมรับฟั งการจัดท า มคอ.๒ ร่วมกับ คณะพุทธ ศาสตร์ ส่วนกลาง ๓ มี ร า ย ล ะ เอี ย ด ข อ ง ร า ย วิ ช า แ ล ะ มี ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม ติดตาม ตรวจสอบ และ (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ. ๓ และ มคอ. ๔ พิจารณาการจัดทา มคอ. ๓ อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาค กาหนดให้อาจารย์ประจา การศกึ ษาใหค้ รบทกุ รายวิชา วิ ช า ส่ ง ม ค อ . ๓ ใ ห้

๙๕ ลำดบั ดัชนบี ่งชผ้ี ลกำรดำเนินงำน ผลกำรดำเนินงำน เป็นไปตำมเกณฑ์ (Key Performance Indicators) ผำ่ น ไม่ผ่ำน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ก่ อ น √ √ เปิ ด ภ าค เรี ย น ๑ ๕ วั น √ จากน้ันแจ้งให้อาจารย์แก้ไข √ - แ ล ะ แ จ ก ให้ ผู้ เรี ย น ใน √ สัปดาห์แรกของแต่ละภาค การศกึ ษา ๔ จัดทารายงานผลการดาเนินงานของ มีการจัดทา มคอ.๕ และ รายวิชา และรายงานผลการดาเนินงาน ตรวจดู โดยอาจารย์ประจา ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตาม หลักสูตร ก่อนดาเนินการ แบบ มคอ. ๕ และ มคอ. ๖ ภายใน ๓๐ สอนในแต่ละภาคการศึกษา วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอน และมีการจัดอบ รมการ ให้ครบทุกรายวิชา เขียน มคอ. ทุกปีการศึกษา ให้อาจารย์ทกุ ท่าน ๕ จัดทารายงานผลการดาเนินการของ ก ารจั ด ท า ม ค อ . ๗ ส่ ง หลักสูตร ตามแบบ มคอ. ๗ ภายใน ๖๐ ภายในระยะเวลาที่กาหนด วัน หลงั ส้ินสดุ ปีการศกึ ษา หลังสิ้นสดุ ปีการศึกษา ๖ มีการทบทวนผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ไดม้ ีการแตง่ ตั้งคณะอาจารย์ ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดใน เป็ น ผู้ ด า เนิ น ก า ร ท ว น มคอ. ๓ และ มคอ. ๔ (ถ้ามี) อย่างน้อย ผลสัมฤทธ์ิร้อยละ ๒๕ ของ ร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ รายวิชาทเี่ ปิดการสอนในแต่ ละปีการศกึ ษา ละภาคการศกึ ษา ๗ มีการพัฒนา/ปรับปรุง การจัดการเรียน การประชุมอาจารย์ประจา การสอน กลยุทธ์การสอน หรือการ หลักสูตรทั้ง ๕ ท่านเพ่ือ ประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการ พัฒ นาและปรับปรุงการ ประเมินการดาเนินงานท่ีรายงานใน จัดการเรียนการสอน แนะ มคอ. ๗ ปที แ่ี ล้ว แน วท างและกล ยุทธและการประเมิน ๘ อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการ ไม่มีปฐมนิเทศเพราะไม่มี ปฐมนิเทศ หรอื คาแนะนาด้านการจัดการ การรับอาจารย์ใหม่ เรียนการสอน ๙ อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนได้รับการ ทางโครงการขยายห้องเรยี น พัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ได้มอบให้พระครูกิตติชัย อยา่ งนอ้ ยปีละครง้ั กาญจน์และพระมหาสุวัฒน์ สุวฑฺฒโน อาจารย์ประจา หลักสูตร เข้าร่วมประชุม พั ฒ น าการเตรียมความ

๙๖ ลำดบั ดชั นบี ่งชผี้ ลกำรดำเนินงำน ผลกำรดำเนนิ งำน เปน็ ไปตำมเกณฑ์ (Key Performance Indicators) ผ่ำน ไม่ผ่ำน พ ร้ อ ม ด้ า น ก า ร เ รี ย น ก า ร √ ส อ น ร่ ว ม กั บ ค ณ ะ พุ ท ธ √ ศาสตร์ส่วนกลาง √ ๑๐ จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการ ทางโครงการขยายห้องเรียน ๑๑ ๑๑ สอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ ได้มอบให้พระครูศรีธรรมว ๑๐๐ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ราภรณ์ อาจารย์ประจา เขา้ ตอ่ ปี ร่วมประชมุ พัฒนาการ เตรียมความพรอ้ มด้านการ เรยี นการสอนร่วมกับคณะ พทุ ธศาสตรส์ ่วนกลาง และ ส่งเจา้ หนา้ ท่เี ข้ารว่ มพัฒนา ระบบการส่งเสรมิ การศึกษา สม่าเสมอ ๑๑ ระดับความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้าย/ ๓.๗๙ บัณฑิตใหม่ ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉล่ียไมน่ ้อยกวา่ ๓.๕ จากคะแนนเตม็ ๕ ๑๒ ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มี ต่อบัณฑิตใหม่ เฉล่ียไม่น้อยกว่า ๓.๕ 4.46 จากคะแนนเตม็ ๕ รวมตวั บง่ ชใี้ นปกี ารศึกษาท่รี บั ประเมิน จานวนตัวบ่งช้ีท่ีดาเนนิ การเป็นไปตามเกณฑร์ ะดบั ผา่ น ร้อยละของตัวบ่งชี้ทัง้ หมดในปนี ที้ ี่เป็นไปตามเกณฑร์ ะดบั ผ่าน คะแนนผลการดาเนินงานหลักสูตรตาม มคอ.๒ ๑. ค่าร้อยละ ๑๐๐ = ๕ คะแนน ๒. คา่ ร้อยละ ๘๐ = ๑ คะแนน ๓. คา่ รอ้ ยละไมเ่ กิน ๘๐ = ๐ คะแนน ๔. คา่ รอ้ ยละทม่ี ากกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ และไมเ่ กินร้อยละ ๑๐๐ ให้ใช้สูตร คานวณหาค่าคะแนน ๒) กำรปฐมนิเทศอำจำรยใหม่ กำรปฐมนิเทศเพื่อช้แี จงหลักสูตร จำนวน จำนวน อำจำรยใ์ หม่ทง้ั หมด อำจำรย์ใหม่ท่ีเข้ำรับกำรปฐมนิเทศ  มี  ไมม่ ี - -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook