การเรียนรู้ แBบบleผสnมdผeสdาน Learning ชรินทรท์ ิพย์ แซ่งเงอ่ ร์
คำนำ รูปแบบของการจดั กิจกรรมการจดั การเรียนการสอนใน ปัจจุบนั มีมากมายที่เนน้ การจดั การช้นั เรียน โดยยดึ ผเู้ รียนเป็นหลกั ตาม การศึกษาแห่งชาติ การเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) เป็น อีกรูปแบบหน่ึงในการจดั การเรียนการสอนท่ีมุ่งผลสมั ฤทธ์ิใหเ้ กิดกบั ตวั ผเู้ รียนโดยการนาเทคโนโลยเี ขา้ มาเป็นสื่อตามจุดมุ่งหมายในการพฒั นา ผเู้ รียนตามวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์เรื่องการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) เล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพื่อประกอบการเรียนการสอนใน วชิ านวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา เอกหลกั สูตรและการสอน เพือ่ มุ่งเนน้ ใหน้ ิสิตไดเ้ รียนรู้ถึงการนาเทคโนโลยเี ขา้ มาใชใ้ นการพฒั นา นวตั กรรมดา้ นวธิ ีการสร้างสื่อ การจดั การเรียนการสอนและการพฒั นา ดา้ นหลกั สูตร หวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ หนงั สือเล่มน้ีจะเป็นประโยชนใ์ น การศึกษาการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) และเพอ่ื เป็น แนวทางแก่ผทู้ ี่สนใจต่อไป หากผดิ พลาดประการใดขออภยั มา ณ.ท่ีน้ี ดว้ ย ชรินทร์ทิพย์ แซ่งเง่อร์ ผจู้ ดั ทา
สำรบญั หนา้ เร่ือง 1 2 การเรียนรู้แบบผสมผสานคืออะไร? 4 ความหมาย 9 แนวคิด 14 ลกั ษณะ 18 องคป์ ระกอบ 19 การออกแบบ 23 กระบวนการ 24 การวางแผน 25 ขอ้ ควรคานึงถึง 26 ประโยชน์ / ขอ้ ดี ผลกระทบ / ขอ้ เสีย 28 แนวทางในการนาการเรียนรู้แบบผสมผสาน 31 ไปพฒั นาการศึกษาของไทย 32 การพฒั นาคุณภาพการศึกษาไทยในศตวรรษท่ี 21 สรุป บรรณานุกรม
กำรเรียนรู้แบบผสมผสำนคืออะไร ? (What is Blended Learning?)
กำรเรียนรู้แบบผสมผสำนคือ (Blended Learning is……) การเรียนรู้แบบผสมผสาน ( Blended Learning ) เป็น นวตั กรรมการศึกษาท่ีผสมผสานโมดูล ( Module ) การเรียนการ สอนหลายรูปแบบเขา้ ดว้ ยกนั เป็นลกั ษณะของการผสมผสานการ เรียนทางไกล ( Distance Learning ) ผา่ นระบบเครือข่าย Online ร่วมกบั การเรียนแบบเผชิญหนา้ ( Face to Face ) ทาใหเ้ กิดการ เรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพมากกวา่ การนงั่ ฟังการบรรยายในช้นั เรียน ปกติ ท้งั น้ีจะใหค้ วามสาคญั กบั การเลือกใชส้ ื่อท่ีเหมาะสมและ ถูกตอ้ งตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ในลกั ษณะตา่ งๆ เพื่อเพมิ่ ศกั ยภาพการเรียนการสอน 1
ควำมหมำย กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Meaning of Blended Learning)
กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Meaning of Blended Learning) หมำยถึง กระบวนการเรียนรู้ ท่ีผสมผสานรูปแบบ การเรียนรู้ที่หลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนใน หอ้ งเรียน ผสมผสานกบั การเรียนรู้นอกหอ้ งเรียนที่ผเู้ รียน ผสู้ อนไม่เผชิญหนา้ กนั หรือการใชแ้ หล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ หลากหลาย กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเกิดข้ึนจาก ยทุ ธวธิ ี การเรียนการสอนที่หลากรูปแบบ เป้าหมายอยทู่ ี่การ ใหผ้ เู้ รียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้เป็นสาคญั การสอนดว้ ยวธิ ีการเรียนรู้แบบผสมผสานน้นั ผสู้ อน สามารถใชว้ ธิ ีการสอน สองวธิ ีหรือมากกวา่ ในการ เรียนการสอน เช่น ผสู้ อนนาเสนอเน้ือหาบทเรียนผา่ น เทคโนโลยผี นวกกบั การสอนแบบเผชิญหนา้ จากน้นั ติดตาม การดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ E-learning ดว้ ย ระบบแอลเอม็ เอส (Learning Management System) ดว้ ย เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในหอ้ งแลป็ หลงั จากน้นั สรุปบทเรียน ดว้ ยการอภิปรายร่วมกบั อาจารยผ์ สู้ อนในหอ้ งเรียน 2
Blended Learning ผลการวจิ ยั เปรียบเทียบการเรียนในช้นั เรียน กบั การเรียน แบบ Blended Learning ของสถาบนั วจิ ยั ของประเทศสหรัฐอเมริกา พบวา่ ผเู้ รียนท่ีเรียนแบบ Blended Learning มีความรู้สูงข้ึนกวา่ การ เรียนในช้นั เรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ และมีความรู้ท่ีคงทนกวา่ ถึง ร้อยละ 110 จากผลการศึกษาและวจิ ยั จึงพบวา่ การเรียนรู้แบบผสมผสาน เปลี่ยนบทบาทครูจากเดิมเป็นผสู้ อนภายในช้นั เรียนกลายเป็นผอู้ านวย ความสะดวกและนาเสนอเน้ือหาบทเรียน นอกจากน้ีผเู้ รียนจะกลายเป็น ผแู้ สวงหาความรู้ ดว้ ยตนเองผา่ นคอมพวิ เตอร์ รับรู้ความสามารถท่ีมี ภายในตนเอง พฒั นาทกั ษะและความรู้ของตนตลอดจนส่งผลต่อการ พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียน 3
แนวคดิ กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Blended Learning Theory)
แนวคดิ กำรเรียนแบบผสมผสำน สำมำรถแบ่งออกเป็ น 4 แนวคดิ ด้วยกนั ได้แก่ 1) แนวคิดผสมผสานเทคโนโลยกี ารเรียนการสอนบน เวบ็ กบั การเรียนในช้นั เรียนแบบด้งั เดิม (to combine or mix modes of web-based technology) เช่น การเรียนในหอ้ งเรียน เสมือนแบบการเรียนดว้ ยตนเอง การเรียนรู้ร่วมกนั video streaming เสียง และขอ้ ความ เป็นตน้ เพื่อใหบ้ รรลุตามเป้าหมาย ของการจดั การศึกษา ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั แนวคิดของ Singh ที่ให้ นิยามของการเรียนแบบผสมผสานไวว้ า่ เป็นเรียนโดยใชก้ าร ผสมผสานวธิ ีสอนท่ีหลากหลายเขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือใหผ้ เู้ รียนเกิดผล สมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงสุด 4
แนวคดิ กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Blended Learning Theory) 2) แนวคิดการผสมผสานวธิ ีสอนท่ีหลากหลายเขา้ ดว้ ยกนั (to combine various pedagogical approaches) เช่น แนวคิดสร้างสรรคน์ ิยม (constructivism) แนวคิดพฤติกรรม นิยม (behaviorism) และแนวคิดพทุ ธินิยม (cognitivism) เพ่ือให้ ไดผ้ ลลพั ธ์จากการเรียนที่ดีท่ีสุด ซ่ึงอาจใชห้ รือไม่ใชเ้ ทคโนโลยี เทคโนโลยกี ารสอน (instructional technology) กไ็ ด้ ซ่ึง สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของ Bonk and Graham ที่กล่าววา่ การ เรี ยนแบบผสมผสานเป็ นการผสมผสานระบบการเรี ยน (learning systems) ท่ีหลากหลายเขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื เป็นการ แกป้ ัญหาที่หลากหลายในการเรียน และสอดคลอ้ งกบั แนวคิด ของ Carman ท่ีกล่าววา่ การเรียนแบบผสมผสานเป็นการ ผสมผสานทฤษฎีการเรียนรู้เขา้ ดว้ ยกนั เพือ่ ใหบ้ รรลุผลตาม วตั ถุประสงคข์ องการจดั การเรียนรู้ 5
แนวคดิ กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Blended Learning Theory) 3) แนวคิดการผสมผสานเทคโนโลยกี ารเรียนการ สอนทุกรูปแบบกบั การเรียนการสอนในช้นั เรียนแบบ ด้งั เดิมท่ีมีการเผชิญหนา้ ระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผสู้ อน (to combine any form of instructional technology with face- to-face instructor-led training) ซ่ึงเป็นมุมมองที่มีผยู้ อมรับ กนั อยา่ งแพร่หลายมากที่สุด ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั Uwes ท่ี กลา่ ววา่ การเรียนแบบผสมผสานเป็นการบูรณาการการ เรียนแบบเผชิญหนา้ การเรียนดว้ ยตนเอง และการเรียนแบบ ร่วมมือแบบออนไลนเ์ ขา้ ดว้ ยกนั 6
แนวคดิ กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Blended Learning Theory) 4) แนวคิดการผสมผสานเทคโนโลยกี ารเรียนการ สอนกบั การทางานจริง (to mix or combine instructional technology with actual job tasks in order to create a harmonious effect of learning and working) ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั Bersin ที่กลา่ ววา่ การเรียนแบบผสมผสานเป็นส่วนหน่ึงของ การฝึกอบรมในองคก์ ร เป็นการผสมผสานการเรียนผา่ นระบบ อิเลก็ ทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ในการส่งผา่ นความรู้ในการเรียน และการฝึ กอบรม 7
สรุปแนวคดิ กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Blended Learning Theory)
สรุปแนวคดิ กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Blended Learning Theory) จากแนวคิดการจดั การเรียนการสอนบนเวบ็ แบบ ผสมผสานที่กลา่ วมาขา้ งตน้ สามารถสรุปไดว้ า่ การเรียนแบบ ผสมผสาน เป็นรูปแบบการเรียนที่มุ่งเนน้ การจดั กิจกรรมการ เรียนการสอนโดยการสร้างสิ่งแวดลอ้ มและบรรยากาศใน การเรียนรู้ วธิ ีการสอนของผสู้ อน รูปแบบการเรียนรู้ผเู้ รียน สื่อการเรียนการสอน ช่องทางการส่ือสาร และรูปแบบ ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผสู้ อน ผเู้ รียนกบั ผเู้ รียน ผเู้ รียน กบั เน้ือหาผเู้ รียนกบั บริบทในการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน้ ความยดื หยนุ่ เพ่ือ ตอบสนองต่อความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียนเพือ่ ให้ ผเู้ รียนแตล่ ะคนไดผ้ ลลพั ธ์ท่ีดีที่สุดจากการเรียนการสอน 8
ลกั ษณะของกำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Types of Blended Learning)
ลกั ษณะของกำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Types of Blended Learning) การเรียนรู้แบบผสมผสาน Blended Learning เป็นการบูรณาการ online learning และ face-to-face meetings เขา้ ดว้ ยกนั ขอ้ สมมติของชุมชนการเรียนรู้ใน ลกั ษณะน้ี คือ 1) ผเู้ รียนจะมีปฏิสมั พนั ธ์ และร่วมมือกนั ที่ ลึกซ้ึงข้ึน 2) ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งผเู้ รียนดว้ ยกนั ประเดน็ สาคญั คงตอ้ งคานึงถึงความพร้อมและความ เป็นไปไดห้ ลายประการท่ีจะเป็นเกณฑใ์ นการพิจารณา ปรับใชก้ ารเรียนรู้ในลกั ษณะน้ีใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการณ์ บริบทและความพร้อมทุกดา้ นเพอ่ื เกิดผล และประสิทธิภาพสูงสุดของการประยกุ ตใ์ ช้ 9
ลกั ษณะของกำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน เกิดจากการมีปฏิสมั พนั ธ์กนั ในกลุ่มที่มีการจดั วางการทางานกลุม่ เป็นอยา่ งดี ดว้ ยการนาเทคโนโลยเี ขา้ มาช่วย ก่อน และ/หรือหลงั จากมี face-to-face learning แลว้ กไ็ ด้ ซ่ึงอาจจะรวมถึง pre-event activities เพือ่ warm-up ก่อนมีการประชุมเป้าหมายกเ็ พ่อื การสร้างมนุษย์ สมั พนั ธ์ในระหวา่ งผเู้ รียน สร้างความรู้สึกการเป็นทีม ร่วมกนั ซ่ึงจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ และความรวดเร็วใน การทางานกลุม่ อาจมีการปฐมนิเทศ แนะนา ช้ีแจง ก่อน เรียนทางWeb conferences, online discussions, และ conference ซ่ึงจะทาใหม้ ีการเปิ ดใจกวา้ ง ท่ีจะเรียนรู้ ร่วมกนั แลกเปลี่ยนการเรียนรู้กนั 10
ลกั ษณะของกำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน ถา้ หากสุดทา้ ยผเู้ รียนจะตอ้ งมาพบกนั ในช้นั เรียนแบบเดิม หรือในอีกกรณีตวั อยา่ งหน่ึง คือการใหม้ ี Follow-up learning community หลงั จาก มี face-to-face eventแลว้ ชุมชนการเรียนรู้ในลกั ษณะน้ี อาจดว้ ยการใหผ้ เู้ รียนทา group projects, discussing research findings, และ mentoring peers เป็นตน้ หรือลกั ษณะ end-to-end communities ที่รวมท้งั pre-event และ follow-up learning activities ดว้ ย ผเู้ รียนบางคนอาจชอบ end-to-end community มากกวา่ เพราะ face-to-face meeting แบบปกติ มกั เป็นเร่ืองปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งกลุม่ ที่จะมาร่วมมือกนั ทางาน 11
ลกั ษณะของกำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน ตวั อยา่ งเช่น ครูอาจใช้ ice-breaker community สาหรับ prework และแนะนา เร่ืองตา่ ง ๆ ใหก้ บั ผเู้ รียน ใช้ face-to-face experiential workshop ใน การใหค้ วามชดั เจนเรื่องจุดประสงคก์ ารเรียนของแต่ ละคน และใช้ follow-up community ในการ coaching และ mentoring เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนไดบ้ รรลุ จุดประสงคท์ ่ีวางไว้ 12
ลกั ษณะของกำรเรียนรู้แบบผสมผสำน การเรียนแบบผสมผสาน ( Blended Learning ) ตามมโนทศั น์ ( Concepts ) ท่ีกาหนดน้นั จะเป็นลกั ษณะของ การผสมผสานการเรียนรู้ใน 4 ลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี ( Oliver and Trigwell ,2005 ) 1. การผสมผสานเทคโนโลยกี ารเรียนการสอนจาก การเรียนผา่ นเวบ็ (Web-Based Instruction) ใหเ้ ป็นไปตาม จุดมุ่งหมายหรือวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้ 2. การผสมผสานในรูปแบบหรือวธิ ีการท่ีเนน้ เชิง วชิ าการในการสร้างผลผลิตทางการเรียนรู้ใหส้ ูงข้ึนโดย ปราศจากเทคโนโลยเี พื่อการสอนอ่ืนๆ เขา้ มาช่วย 3. การผสมผสานรูปแบบวธิ ีการทางเทคโนโลยี ทางการสอนผา่ นหลกั สูตรเฉพาะและ / หรือการฝึกอบรม 4. การผสมผสานเทคโนโลยกี ารสอนเขา้ กบั งาน ปกติ หรือการเรียนตามปกติท่ีกระทาอยู่ 13
องค์ประกอบ ของกำรเรียนรู้แบบผสมผสำน ( 5 Keys Ingredients )
องค์ประกอบ ( 5 Keys Ingredients ) สิ่งบ่งช้ีสาคญั 5 ประการ ต่อไปน้ีที่บ่งบอกถึง สภาพการณ์ของการเรียนแบบ Blended Learning ไดแ้ ก่ 1. เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนเป็น ปัจจุบนั ( Live Events ) เป็นลกั ษณะของการเรียนรู้ท่ี เรียกวา่ “การเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous)” จาก เหตุการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองท่ีสร้างข้ึนเพือ่ ให้ ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนในช่วงเวลาเดียวกนั เช่น เหตุการณ์ในการเรียนรู้ในช้นั เรียนท่ีเรียกวา่ “หอ้ งเรียน เสมือน ( Virtual Classroom )” เป็นตน้ 14
องค์ประกอบ ( 5 Keys Ingredients ) 2. การเรียนเน้ือหาแบบออนไลน์ (Online Content) เป็นลกั ษณะการเรียนท่ีผเู้ รียนสามารถ เรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเองตามสภาพความพร้อมหรือ อตั ราการเรียนรู้ของแต่ละคน ( Self-paced Learning ) รูปแบบการเรียนเช่นการเรียนแบบส่ือ ปฏิสัมพนั ธ์ ( Interactive ) การเรียนจากการ สืบคน้ ( Internet-Based ) หรือการฝึกอบรมจาก ส่ือ CD-ROM เป็นตน้ 15
องค์ประกอบ ( 5 Keys Ingredients ) 3. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ (Collaboration) เป็นสภาพการณ์ทางการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนสามารถส่ือสาร ขอ้ มูลร่วมกนั กบั ผอู้ ่ืนจากระบบส่ือออนไลน์ เช่น e-Mail ,Chat , Blogs เป็นตน้ 4. การวดั และประเมินผล (Assessment) การเรียน ลกั ษณะดงั กล่าวตอ้ งมีการประเมินผลความกา้ วหนา้ ทางการเรียนรู้ของผเู้ รียนทุกระยะนบั ต้งั แต่การประเมินผล ก่อนเรียน (Pre-assessment ) การประเมินผลระหวา่ งเรียน ( self-paced evaluation ) และการประเมินผลหลงั เรียน (Post-assessment) เพือ่ นาไปสู่การปรับปรุงพฒั นาการ เรียนรู้ใหด้ ีข้ึนตอ่ ไป 16
องค์ประกอบ ( 5 Keys Ingredients ) 5. วสั ดุประกอบการอา้ งอิง (Reference Materials) การเรียนหรือการสร้างงานในการเรียนรู้ แบบผสมผสานน้นั ตอ้ งมีการเรียนรู้และสร้าง ประสบการณ์จากการศึกษาคน้ ควา้ และอา้ งอิงจาก หลากหลายแหล่งขอ้ มูลเพอ่ื เพ่ิมคุณภาพทางการ เรียนใหส้ ูงข้ึน ลกั ษณะดงั กล่าวน้ีอาจเป็นลกั ษณะ ของการสืบคน้ ขอ้ มูลในระบบ Search Engine จาก PDA , PDF Downloads เหล่าน้ีเป็นตน้ 17
กำรออกแบบ กำรจัดกำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Teaching and Learning Design of Blended Learning)
กำรออกแบบ (Teaching and Learning Design of Blended Learning) การส่งเสริมพฒั นาการในการเรียนของผเู้ รียนแต่ละ คนใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพท่ีผเู้ รียนแตล่ ะคนมี มีผเู้ สนอแนวทาง ในการออกแบบบทเรียนบนเวบ็ แบบผสมผสาน ดงั น้ี The Training Place เสนอแนวทางในการพฒั นารูป แบบการ จดั การเรียนการสอนบนเวบ็ แบบผสมผสาน โดยพฒั นาจาก รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนADDIE ประกอบดว้ ย 5 ข้นั ตอน ดงั น้ี ข้นั ท่ี 1 การวเิ คราะห์และการวางแผน (Analysis and Planning) ข้นั ที่ 2 การออกแบบ (Design Solutions) ข้นั ท่ี 3 การพฒั นา (Development) ข้นั ที่ 4 การนาไปใช้ (Implementation) ข้นั ท่ี 5 การประเมินผล (Evaluation) 18
กระบวนกำรจดั กำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน (Designing Blended Learning)
กระบวนกำรจดั กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Designing Blended Learning) ในทางการศึกษาสามารถอธิบายถึงกระบวนการ ของการเรียนรู้แบบผสมผสานหรือ Blended Learning ได้ ดงั น้ี 1. การประเมินความตอ้ งการทางการเรียนรู้และตวั ผเู้ รียน จากผลการประเมินดงั กลา่ วจะเป็นส่ิงที่ช่วยในการกาหนด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จากที่กล่าวมาแลว้ วา่ การกาหนด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้เป็นองคป์ ระกอบที่สาคญั ของการ จดั การเรียนการเรียนรู้แบบผสมผสาน ดงั น้นั เม่ือผอู้ อกแบบ ไดก้ าหนดจุดประสงคข์ องการเรียนรู้ใหแ้ ก่ผเู้ รียนอยา่ ง ชดั เจนและมีเป้าหมายแลว้ ยอ่ มส่งผลตอ่ กระบวนการวาง แผนการจดั กิจกรรมไดอ้ ยา่ งเป็นระบบโดยคานึงถึงผลท่ีจะ เกิดข้ึนกบั ผเู้ รียนในแตล่ ะเน้ือหาอยา่ งเป็นข้นั ตอน 19
กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน
กระบวนกำรจดั กำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน 2. การวเิ คราะห์ผเู้ รียน การวางแผนพฒั นาการเรียนรู้ และการ พฒั นากลยทุ ธก์ ารประเมินผล ในข้นั ตอนน้ีเม่ือไดก้ าหนด จุดประสงคข์ องการเรียนการสอนแลว้ การวเิ คราะห์ลกั ษณะ ของผเู้ รียนท้งั ทางดา้ นความรู้และทกั ษะพ้ืนฐานท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเรียนการสอน ความตอ้ งการของผเู้ รียน การวางแผนเพอื่ การจดั ลกั ษณะการเรียนการสอนในรูปแบบที่เหมาะสม เช่น การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้แบบเพอ่ื นช่วยเพ่ือน หรือการ เรียนรู้แบบร่วมมือ ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะบริบททอ้ งถิ่น 3. สถาบนั ผเู้ รียน ใหส้ อดคลอ้ งกบั เทคโนโลยที ี่มีอยู่ รวมถึง การพฒั นากลยทุ ธก์ ารประเมินผลโดยการเตรียมระบบการ ประเมินผลอยา่ งเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั การวางแผนการจดั การ เรียนการสอนและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 20
กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน
กระบวนกำรจดั กำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน 4. การเตรียมระบบโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นฮาร์ดแวร์และการ เตรียมระบบซอฟตแ์ วร์รวมถึงช่องทางนาเสนอเน้ือหา ลกั ษณะของเน้ือหาท่ีตอ้ งการถ่ายทอด การพฒั นาเน้ือหา ลกั ษณะของระบบท่ีสร้างข้ึนใหเ้ หมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย เพอ่ื ประกอบการตดั สินใจในการพฒั นาเน้ือหาบทเรียนหรือ การเลือกซ้ือเน้ือหาบทเรียนใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะและ รูปแบบการเรียนท่ีไดก้ าหนดไว้ ตลอดจนคานึงถึงความ พร้อมของการสนบั สนุนดา้ นเทคโนโลยที ี่ไดร้ ับเพอ่ื สามารถ จดั เตรียมใหแ้ ก่ผเู้ รียนไดจ้ ริง 21
กระบวนกำรจดั กำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน
กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ แบบผสมผสำน 5. การดาเนินการตามแผน กระบวนการติดตามผลและ การประเมินผลเม่ือดาเนินการตามกระบวนการท้งั สาม ข้นั ตอนขา้ งตน้ แลว้ กพ็ ร้อมที่จะเขา้ สู่การเริ่มตน้ โปรแกรม หรือแผนงานโดยข้นั ตอนที่ปฏิบตั ิควบคูก่ นั คือการติดตามผลท่ีเกิดข้ึนจากการเรียนรู้แบบผสมผสาน ซ่ึงสามารถวดั และประเมินผลท่ีเกิดข้ึนท้งั จากการเรียน การสอนภายในช้นั เรียนแบบเผชิญหนา้ และการเรียนการ สอนภายนอกช้นั เรียน เพื่อนาขอ้ บกพร่องท่ีพบกลบั มา แกไ้ ขและพฒั นากระบวนการเรียนรู้และบทเรียนจนเกิด ความสมบูรณ์ และเหมาะสม 22
กำรวำงแผน กำรจดั กำรเรียนกำรสอนแบบผสมผสำน การวางแผนการจดั การเรียนการสอนแบบ Blended Learning ควรคานึงถึงส่ิงตา่ งๆ ดงั น้ี 1. จะใช้ computer และ internet ในการสอนอยา่ งไร 2. จะวางแผนการสอนอยา่ งไร 3. จะควบคุมส่ิงตา่ งๆท่ีเกิดข้ึนจากการเรียนรู้แบบน้ีอยา่ งไร 4. จะใชแ้ หล่งเรียนรู้ online ใหเ้ กิดประสิทธิผลอยา่ งไร 5. จะใชแ้ รงจูงใจและช่วยเหลือสนบั สนุนผเู้ รียนอยา่ งไรบา้ ง 6. จะใหผ้ เู้ รียนทางานกลุ่มอยา่ งไร 7. จะสร้างองคป์ ระกอบของการสอนแบบ fact-to-face ไดอ้ ยา่ งไร 8. จะเสริมการเรียนรู้แบบออนไลนไ์ ดอ้ ยา่ งไร 23
ข้อควรคำนึงถึง ในกำรผสมผสำนวธิ ีสอนแบบต่ำงๆ
ข้อควรคำนึงถึง ในกำรผสมผสำนวธิ ีสอนแบบต่ำงๆ 1.ผสู้ อนควรคานึงถึงจุดประสงคก์ ารสอนเป็นหลกั สาคญั อยา่ ผสมผสานจนบ่อยเกินไป และอยา่ ผสมผสานเพียง เพอ่ื ใหม้ ีการสอนหลาย ๆ แบบเท่าน้นั 2.ผสู้ อนตอ้ งคานึงถึงความพร้อมของผเู้ รียน และของ ผสู้ อนเองดว้ ย ผสู้ อนตอ้ งเขา้ ใจและมองเห็นภาพการ ผสมผสานวา่ สามารถดาเนินการไดด้ ีเหมาะสมเพียงไร ส่วนผเู้ รียนมีความพร้อมท่ีจะเรียนโดยวธิ ีเหล่าน้นั มาก นอ้ ยเพียงใด 3.สถานท่ีและอุปกรณ์ กเ็ ป็นสิ่งท่ีตอ้ งคานึงถึง เพราะการ เปลี่ยนวธิ ีสอนหมายถึงการเปล่ียนบรรยากาศ เปลี่ยน กิจกรรม อุปกรณ์และสถานที่อาจเปล่ียนตามไปดว้ ย 24
ประโยชน์ ข้อดี ของกำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบผสมผสำน ดร. อภิชาติ อนุกลู เวช (2012) ไดก้ ล่าวถึง ประโยชน์ Blended learning ดงั น้ี 1. แบ่งเวลาเรียนอยา่ งอิสระ 2. เลือกสถานที่เรียนอยา่ งอิสระ 3. เรียนดว้ ยระดบั ความเร็วของตนเอง 4. ส่ือสารอยา่ งใกลช้ ิดกบั ครูผสู้ อน 5. การผสมผสานระหวา่ งการเรียนแบบด้งั เดิมและแบบอนาคต 6. เรียนกบั สื่อมลั ติมีเดีย 7. เนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง Child center 8. ผเู้ รียนสามารถมีเวลาในการคน้ ควา้ ขอ้ มูลมาก สามารถวเิ คราะห์และ สังเคราะห์ขอ้ มูล 9. สามารถส่งเสริมความแม่นยา ถ่ายโอนความรู้จากผหู้ น่ึงไปยงั ผหู้ น่ึงได้ สามารถทราบผลปฏิบตั ิยอ้ นกลบั ไดร้ วดเร็ว (กาเย)่ 10. สร้างแรงจงู ใจในบทเรียนได(้ กาเย)่ 11. ใหแ้ นวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนได(้ กาเย)่ 12. สามารถทบทวนความรู้เดิม และสืบคน้ ความรู้ใหม่ไดต้ ลอดเวลา (กาเย)่ 13. สามารถหลีกเล่ียงส่ิงที่รบกวนภายในช้นั เรียนได้ ทาใหผ้ เู้ รียนมีสมาธิใน การเรียน 14. ผเู้ รียนมีช่องทางในการเรียน สามารถเขา้ ถึงผสู้ อนได้ 15. เหมาะสาหรับผเู้ รียนท่ีค่อนขา้ งขาดความมนั่ ใจในตวั เอง 16. ใชใ้ นบริษทั หรือองคก์ รต่างๆ สามารถลดตน้ ทุนในการอบรม สัมมนาได้ 25
ผลกระทบ ข้อเสีย ของกำรจดั กำรเรียนกำรสอนแบบผสมผสำน
ผลกระทบ ข้อเสีย ดร. อภิชาต อนุกลู เวช (2012) ไดก้ ลา่ วถึง ขอ้ ดี ขอ้ เสีย Blended learning ดงั น้ี 1. ไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือถา่ ยทอดความ คิดเห็นอยา่ งรวดเร็ว 2. มีความลา่ ชา้ ในการปฏิสมั พนั ธ์ 3. การมีส่วนร่วมนอ้ ย โดยผเู้ รียนไม่สามารถมีส่วน ร่วมทุกคน 4. ความไม่พร้อมดา้ น ซอฟแวร์ Software บางอยา่ งมี ราคาแพง (ของจริง) 5. ใชง้ านค่อนขา้ งยาก สาหรับผไู้ ม่มีความรู้ดา้ น ซอฟแวร์ Software 6. ผเู้ รียนบางคนคิดวา่ ไม่คุม้ คา่ ตอ่ การลงทุน เพราะ ราคา อุปกรณ์คอ่ นขา้ งสูง 26
ผลกระทบ ข้อเสีย 7. ผเู้ รียนตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจดา้ นการใช้ งานคอมพิวเตอร์ เพอื่ เขา้ ถึงขอ้ มูลทางอินเทอร์เน็ต 8. ผเู้ รียนตอ้ งมีความรับผิดชอบตอ่ ตนเองอยา่ ง สูง ในการเรียนการสอนแบบน้ี 9. ความแตกต่างของผเู้ รียนแต่ละคนเป็น อุปสรรคในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 10. สภาพแวดลอ้ มไม่เหมาะสมในการใช้ เครือข่าย หรือระบบอินเทอร์เน็ต เกิดปัญหาดา้ น สญั ญาณ 11. ขาดการปฏิสัมพนั ธ์แบบ face to face (เรียลไทม)์ 27
แนวทำงและควำมเป็ นไปได้ในกำรนำ กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน ไปพฒั นำกำรศึกษำของไทย
การนา Blended Learning มาใชใ้ นการพฒั นา คุณภาพการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 จดั เป็นทางเลือก หน่ึง เพ่ือใหก้ ารพฒั นาการศึกษาใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบั ท่ีสิบเอด็ ซ่ึงมีแนวทาง และกระบวนการในแตล่ ะดา้ น ดงั น้ี 1. ด้ำนกำรบริหำรจัดกำรด้ำนเทคโนโลยี รัฐตอ้ งวางแผน และพฒั นาเครือขา่ ยสารสนเทศ เพือ่ พฒั นาการศึกษา (Inter University Network : Uni-Net) โดยเชื่อมโยงเครือขา่ ยความเร็วสูงระหวา่ ง มหาวทิ ยาลยั และ สถาบนั การศึกษาในต่างประเทศ รวมท้งั จดั หาเงินทุน เพื่อเตรียมทรัพยากรทางเทคโนโลยี เช่น ระบบเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ท่ีใชส้ อน และคอมพวิ เตอร์ที่ใช้ เรียน นอกจากน้ีสถานศึกษาควรสนบั สนุนงบประมาณใน การจดั หาส่ือที่ทนั สมยั และมีคุณภาพ เพื่อใหเ้ พียงพอต่อ การใชเ้ พอื่ ศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเองของครูและ ผเู้ รียน 28
2. ด้ำนเนื้อหำหลกั สูตรวชิ ำ พฒั นาหลกั สูตร รูปแบบ และกระบวนการ จดั การศึกษาโดยใช้ Blended Learning ใหม้ ีความ ทนั สมยั สอดคลอ้ งกบั ผเู้ รียน ความเปลี่ยนแปลงหรือ ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ สนบั สนุนการดาเนินกิจกรรม ดา้ นการเรียนการสอนผา่ นเครือข่าย การพฒั นา โครงสร้างพ้นื ฐาน Uni-Net เพอื่ รองรับการศึกษาท้งั ระบบ 29
3.ด้ำนผู้สอน พฒั นาผสู้ อนใหม้ ีความรู้ความสามารถ เพยี งพอในการนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการพฒั นาสื่อการ เรียนการสอนและจดั กระบวนการเรียนรู้ ครูและ นกั เรียนนาความรู้ดา้ นเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษาไปใช้ ในกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 4.ด้ำนผ้เู รียน รณรงค์ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนเขา้ ถึงและใช้ ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การเรียนรู้ได้ อยา่ งทว่ั ถึง สร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ 30
กำรเรียนรู้แบบผสมผสำน (Blended learning) กบั กำรพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำไทย ในศตวรรษที่ 21
ในยคุ ศตวรรษที่ 21 กระบวนการจดั การเรียนการสอน มีการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยเี ขา้ มามีบทบาทต่อการจดั การศึกษามากข้ึน ในฐานะที่เป็นเคร่ืองมือที่สนบั สนุนใหผ้ เู้ รียน ในการคน้ ควา้ หาขอ้ มูลตามส่ิงท่ีสนใจ โดยแหล่งขอ้ มูลท่ีคน้ หา น้นั ตอ้ งมีความน่าเชื่อถือ เพอ่ื ท่ีผเู้ รียนจะไดน้ าขอ้ มูลเหล่าน้นั มา วิเคราะห์และแปลงออกมาเป็นความรู้ ทาใหผ้ เู้ รียนเกิดทกั ษะการ เรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ โดยเกิดจากการสืบคน้ นาไปสู่การศึกษา ตลอดชีวติ การเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended learning) ซ่ึงเป็น กระบวนการเรียนรู้ท่ีเกิดจากการจดั การเรียนการสอน หลากหลายวิธี โดยคานึงถึงผเู้ รียน สภาพแวดลอ้ ม เน้ือหา สถานการณ์ เพือ่ ตอบสนองการเรียนรู้และความแตกต่างระหวา่ ง บุคคล โดยสามารถจดั การเรียนการสอนท้งั ภายในหอ้ งเรียนและ นอกหอ้ งเรียน โดยมีการนาเทคโนโลยที างการศึกษาแบบ ออนไลนแ์ ละออฟไลนม์ าเป็นส่วนประกอบ ท้งั น้ีเพ่ือส่งเสริมให้ ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้สูงสุด เกิดทกั ษะ และเกิดการเรียนรู้ เพอื่ ให้ บรรลุเป้าหมายของแผนการศึกษาท่ีตอ้ งการใหค้ นไทยเรียนรู้ ตลอดชีวติ อยา่ งมีคุณภาพ เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข มี ภูมิคุม้ กนั รู้เท่าทนั เวทีโลก 31
สรุป
Search