Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สมดุลกล

หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สมดุลกล

Published by Thunyalukka84, 2022-07-03 11:34:17

Description: หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สมดุลกล

Search

Read the Text Version

เร่อื ง สมดลุ กล วชิ า ชองเลน่ เชิงวทิ ยาศาสตร์

ช่อื ...........................................................................................................................เลขท.ี่ ..................... 1 วตั ถทุ ี่อยูใ นสมดุลกล คอื อะไร วัตถทุ ่ีอยใู นสมดุลกล (mechanical equilibrium) หรอื เรียกสนั้ ๆ วา สมดุล (equilibrium) คือ วตั ถุท่รี กั ษา สภาพการเคล่ือนที่ใหคงเดิมไวไ ด หรือ การไมเปลยี่ นสภาพของการเคล่ือนที่ คือ ถาวัตถุอยูนิง่ ก็จะอยูนงิ่ ตอไป หรอื ถาเคล่ือนท่ีก็จะเคล่ือนท่ีดว ยความเรว็ คงท่ี ถา แรงลัพธท ก่ี ระทําตอวัตถุมีคา เปน ศนู ย ประเภทของสมดุลกล 1.สมดลุ สถติ (Static equilibrium) คือ สมดลุ ของวตั ถขุ ณะอยใู นสภาพอยนู ิ่ง เชน วางสมุดไวบ นโตะ แล วสมุดไมล ม ขวดน้ําทวี่ างไวห ลงั ตูเย็นแลว ไมต กลงมาจากตูเยน็ หรอื กลาวไดว าวัตถุใด ๆ กต็ ามท่ีอยูในสภาพอยู น่ิง เม่อื มีแรงลัพธม ากระทําแลววัตถยุ งั คงสภาพอยนู ง่ิ ไวไดถอื วาเปน สมดลุ สถิต 2. สมดุลจลน(Kinetic equilibrium) คือ สมดลุ ของวตั ถุขณะเคลื่อนทดี่ ว ยความเร็วคงตัว เชน รถยนตว ิ่งไป ตามถนนดวยความเร็วคงตัว กลองลงั ไมไถลลงไปตามพนื้ เอยี งดว ยความเรว็ คงตวั หรือกลาวไดว า วัตถใุ ด ๆ ก็ตามที่ เคลื่อนทดี่ วยความเรว็ คา หนง่ึ เมือ่ มีแรงลพั ธม ากระทํากบั แลว วัตถกุ ย็ ังคงเคล่ือนทด่ี ว ยความเรว็ คงเดมิ ถือวาเปน สมดุลจลน เมอ่ื พจิ ารณาการเคลื่อนทีเ่ ปนหลักอาจแบงสมดลุ ของวัตถไุ ด 3 ชนดิ คือ 1. สมดุลตอ การเลื่อนท่ี (Translational Equilibrium ) คือ วัตถุอยนู ิ่งหรือเคล่ือนทด่ี ว ยความเรว็ คง ตัว เชน รถยนตวิ่งในทางตรงดวยความเร็วคงตวั 2. สมดลุ ตอการหมนุ ( Rotational Equilibrium ) คอื สมดลุ ที่เกดิ ข้นึ ในขณะทีว่ ตั ถุมีอตั ราการหมนุ คง ตัว และไมเ ปล่ยี นสภาพการหมนุ เชน พดั ลมทใ่ี บพดั กําลงั หมนุ ดวยความเร็วเชิงมมุ คงตวั หรือชงิ ชา สวรรคทก่ี าํ ลงั หมนุ ดวยความเรว็ เชงิ มุมคงตัว 3. สมดุลสัมบูรณข องวตั ถุ คือ สภาพทวี่ ตั ถนุ น้ั เกิดสมดลุ ตอการเล่ือนท่ี (อยนู ง่ิ หรอื เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว คงท่)ี และสมดุลตอการหมุน(ไมห มุน) ไปพรอมๆกัน เชน การเคล่อื นท่ีของลูกฟตุ บอล 1.การยืนนิ่งโดยมือขางหน่ึงถือกระเปา เปนการอยูในสมดุล หรือไม เพราะเหตุใด อยูในสมดุล เพราะไมมกี ารเคลอ่ื นทแี่ ละไมม ีการหมุน

2 คาํ ถาม ภาพใดเปน สมดุลสถิต (static equilibrium) หรือ สมดลุ จลน(Kinetic equilibrium) 2.สมดุลสถิต (static equilibrium) ไดแก ...ภาพท่ี ............................................................................................................................................... 3.สมดุลจลน( Kinetic equilibrium) ไดแก ...ภาพที่ ........................................................................................................................ คาํ ชแี้ จง ใหน กั เรยี นตอบคําถามตอ ไปน้ใี หถกู ตองสมบรู ณท่ีสุด ตอนที่ 1 ใหนักเรยี นจับคูขอ ความใหถ ูกตอง 4.วตั ถุทีอ่ ยนู งิ่ และไมมีการหมุน A. สมดุลกล 5.วัตถทุ ไี่ มมีการหมุนหรือหมุนดว ยอตั ราเร็วคงตัว B. สมดลุ สถติ 6.วัตถทุ ี่หยุดน่ิงหรือมกี ารเคล่ือนท่ดี วยความเร็วคงตัว C. สมดลุ จลน 7.วัตถทุ ร่ี ักษาสภาพการเคลือ่ นที่ ใหค งเดมิ D. สมดลุ ตอการเล่ือนท่ี 8.วตั ถทุ ม่ี ีการเคลื่อนท่ดี วยความเรว็ คงตวั หรอื มีการหมนุ ดวยอตั ราเร็วคงตัว E. สมดลุ ตอการหมนุ ตอนที่ 2 ใหน ักเรยี นตอบคาํ ถามเปนตอไปนใ้ี หถูกตอง 9. เปนไปไดห รือไม ท่ีวตั ถุหน่ึงจะอยูในสมดุลจลนและสมดุลตอการเล่ือนท่ีพรอ มกัน ตอบ 10. นกั กรีฑาที่กาํ ลงั วิ่งแขง 100 เมตร อยใู นสมดุลกลหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ

3 ศูนยก์ ลางมวล (center of mass, CM) และศูนยถ์ ่วง (center of gravity, CG) จดุ ศนู ยกลางมวลของวัตถุ (center of mass) (CM) คือ ตําแหนงทม่ี วลรวมของวัตถุอยูซ่ึงจดุ น้ีอาจจะอยูใน หรอื นอกวตั ถุก็ได หากออกแรงกระทําตอวัตถโุ ดยใหแนวแรงผา นศนู ยกลางมวล จะทําใหวัตถุไมหมุน แตถ าออกแรง กระทาํ ไมผ านศนู ยกลางมวล วตั ถจุ ะหมนุ ในทิศทางตามแรงนั้น จดุ ศูนยถ วงของวัตถุ (center of gravity) (CG) คอื ตําแหนงทเ่ี ปรยี บเสมือนศนู ยร วมนาํ้ หนักของวัตถทุ ง้ั กอน ซึ่งจุดน้ีอาจจะอยูในหรือนอกวตั ถุกไ็ ด ตาํ แหนงของศูนยกลางมวลของวัตถุและศูนยถวง ศูนยกลางมวลของวัตถุ จะไมเปลี่ยนตําแหนงและไมข้ึนกับสถานที่ท่ีวัตถุนั้นอยู ศูนยถวง เปนจุดที่แรงลัพธของแรงดึงดูดที่โลกกระทําตอวัตถุ โดยทว่ั ไปถา วตั ถุมีความสงู ไมมากนกั จุด CG และจดุ CM จะอยูทีต่ ําแหนงเดยี วกนั และถาวัตถมุ ีความสงู มาก ๆ จดุ CM และจดุ CG จะอยูคนละจุด โดย CG จะอยูตาํ แหนงตํ่ากวาจดุ CM เสมอ เชน จดุ CM และจุด CG ของภูเขา เปนตน

4 C.G C.G C.G การหาตำแหนงจุด C.G ของวตั ถุ ในทางปฏิบตั เิ ราสามารถทำการหาจดุ C.G ของแผน วตั ถรุ ูปทรงใดๆ ก็ได โดยนำแผนวัตถุผูกเขากบั เชือก แลว แขวนไวด งั รูป (ก) เมื่อแผน วตั ถุหยดุ นิ่งจะไดแ นวแรง T และ mg อยูในแนวเดียวกัน คือ แนวเสนประ A เม่ือ เปล่ยี นจุดทผี่ ูกเชือกเปนจุดอ่ืนๆ เชน B และ C ดังรูป (ข) และ (ค) แลว ลากเสนตรงตามเสนเชอื กแตละครั้ง จะ พบวาแนวเสนเชือกมาตัดกันท่ีจดุ หนึง่ เน่ืองจากแนวเสนเชอื กอยใู นแนวเดยี วกันกับแนวนำ้ หนกั ดงั นั้น จดุ ตัดของ แนวเสน เชือก คอื จุดศนู ยรวมของน้ำหนกั แผนวตั ถุ เรยี กจุดนว้ี า จดุ ศนู ยถ ว ง (C.G) จดุ ศนู ยถ วง (C.G) สรุปไดวา 1) จุด CM เปน จุดทเี่ สมือนเปน ที่รวมของมวลทัง้ กอน 2) จุด CG เปน จดุ ทเี่ สมอื นเปนทร่ี วมของน้ําหนักของวัตถุทั้งกอ น 3) ท่บี นผิวโลกบรเิ วณทีม่ คี า g สมํ่าเสมอ ตําแหนง ของจุด CMและจดุ CG จะอยูที่ตาํ แหนงหรือจุดเดยี วกนั (แตจุดทัง้ สองมีความหมายแตกตางกนั ) แตถ าเปนบนดวงดาวหรือบริเวณใดก็ตามที่มีคา g ไมสมาํ่ เสมอ จดุ CG จะ เปลย่ี นไปจากเดิม แต จุด CM จะยงั คงอยูทต่ี าํ แหนงหรอื จดุ เดมิ เสมอ 4) จุด CM และจดุ CG อาจอยนู อกเน้ือวัตถกุ ็ได เชน แหวน หรอื วตั ถกุ ลวง 5) การหาตําแหนง CM หาไดจากการใชแรงกระทาํ ท่วี ตั ถุถาวตั ถุไมหมนุ แสดงวาแนวน้ันผา นจุด CM

5 6) การหาตาํ แหนง CG หาไดโ ดยการแขวนวัตถุนั้นในแนวลักษณะตา ง ๆ กนั ในแนวด่ิง โดยแนวของน้ําหนัก ของวตั ถจุ ะตัดกนั ทจี่ ดุ ๆ หนึ่ง ซงึ่ นนั้ กค็ ือ จุดศนู ยถวง “CG” ถานําดินสอดันขอบหนังสือท่ีวางอยูบ นโตะในตําแหนง ที่ แตกตา งกันดังรูป 1. ที่ตําแหนงใด หนังสือจะเล่ือนที่โดยไมมีการหมุน ตอบ ตาํ แหน่ง 1, 3 และ 5 2. ท่ีตําแหนงใด หนังสือจะเล่ือนที่และหมุนไปพรอมๆ กัน ตอบ ตาํ แหน่ง 2, 4 และ 6 สรปุ จากแบบทดสอบ - เมอื่ ใชด นิ สอดนั ขอบหนงั สือใหแนวดนิ สอผา นจดุ กง่ึ กลางของหนังสือจะพบวาหนงั สือมีการเลอ่ื นท่โี ดยไมมีการหมุน - แตถ าตาํ แหนงทด่ี นั หนังสอื มีแนวดนิ สอไมผานจุดก่งึ กลางของหนังสือหนงั สือจะมกี ารเล่ือนท่แี ละหมุนไปพรอมกัน

6 คําชี้แจง ใหน ักเรยี นตอบคําถามตอไปน้ใี หถูกตองสมบรู ณท ส่ี ดุ สภาพสมดลุ ของวตั ถุในลกั ษณะตางๆ ลกั ษณะการสมดุลของวตั ถุ แบง ออกไดเปน 3 ประเภท คือ 1.สมดุลแบบเสถยี รภาพ (stable equilibrium) คือ สภาพสมดุลของวตั ถุทีอ่ ยูใ นลักษณะทส่ี ามารถกลบั สสู ภาพสมดลุ ท่ีตำแหนงเดิมได โดยเม่ือมีแรงมากกระทำจดุ ศนู ยถว งจะอยสู งู กวาระดบั เดิม ทำใหเ อยี งเซไปเลก็ นอย แตไมลมและวัตถุคงกลบั เขาสูสภาพเดมิ ทีต่ ำแหนงเดมิ ไดเม่ือหยุดแรงกระทำแลว วัตถทุ ่ีมีสมดลุ แบบเสถียรภาพจะมี ฐานกวาง (มีฐานรองรับอยางมน่ั คง) จดุ ศนู ยถ วงอยูต่ำ และมนี ้ำหนกั มาก เชน กรวยควำ่ บนพืน้ ตกุ ตาลมลกุ เปน ตน 2.สมดุลแบบไมเสถียรภาพ (unstable equilibrium) คือ สภาพสมดลุ ของวตั ถทุ ่ีอยูในลักษณะท่ีไม สามารถกลบั สสู ภาพเดิมได เม่ือมีแรงมากระทำจุดศูนยถวงจะอยูต่ำกวา ระดับเดมิ แตเมื่อหยุดแรงกระทำแลว วตั ถจุ ะ ไมสามารถกลับสสู ภาพเดิมได วัตถุทม่ี ีสมดุลแบบไมเ สถียรภาพจะมีฐานแคบ จุดศูนยถว งอยสู งู และมีน้ำหนักเบา เชน รปู กรวยทีเ่ อายอดลง เหรยี ญบาททเ่ี อาขอบตั้ง เปนตน

7 3.สมดลุ แบบสะเทนิ (neutral equilibrium) คือ สมดลุ ของวัตถุที่เมื่อออกแรงกระทำตอวัตถุแลววัตถจุ ะ กลงิ้ ไป วัตถจุ ะเปน เพียงเปลยี่ นตำแหนง ท่สี ัมผัสกับพนื้ และวัตถจุ ะยังคงอยูในลักษณะเดิม รวมถงึ CG อยใู นระนาบ เดิม เชน รูปกรวยที่เอาขางลง ทรงกระบอกท่วี างตามแนวนอน ลกู ฟตุ บอลวางอยูบ นพื้นราบธรรมดา เม่อื รบั แรงแลว กย็ ังจะอยูบนพื้น อาจจะแคกลง้ิ เปลี่ยนตำแหนง ไปเทา นน้ั เปนตน การพจิ ารณาเงอ่ื นไขการลม ของวตั ถุ วตั ถจุ ะลมกต็ อเมื่อแนวน้ำหนักของวัตถุตกผา นขอบฐาน ดังรปู ถา วตั ถอุ ยูด ังรปู ที่ 1. และ 2. วัตถุจะยังไมลม เพราะแนวน้ำหนกั วตั ถอุ ยูในฐาน ถาวัตถุอยูดังรปู ที่ 3 วัตถุสมดุลคร้งั สุดทา ย ถา แนวนำ้ หนักเลยตำแหนงนอี้ อกไปแมเพียงเล็กนอยจะลมทันที ถา วัตถุอยูดังรูปที่ 4 วัตถุจะลมทันที ดงั นั้น วัตถุจะไมลมควำ่ ก็ตอเม่ือเสนต้งั ฉากจากจุดศูนยถ ว งผา นฐานของวตั ถนุ ัน้ ถาวตั ถอุ ยใู นตำแหนงท่ี พอดลี ม แสดงวา น้ำหนกั ตกผา นขอบฐานพอดี เสถียรภาพ (Stability) วัตถุที่มีเสถียรภาพจะลม ยาก วัตถุท่มี ีเสถยี รภาพ คือ วตั ถุท่ีมีจดุ ศนู ยถ ว งต่ำ ฐานกวาง และน้ำหนักวตั ถุมาก ขวดพลาสตกิ ท่ีไมใสอะไรเลย จะไมมีเสถยี รภาพ เราสามารถทำใหขวดพลาสติกลมไดงา ยๆ เพราะ จุดศูนยถ วงของขวดอยูสงู แตถาเติมน้ำลงในขวด น้ำหนกั ท่ีกน ขวด จะเพิม่ ขน้ึ และจะทำใหจ ดุ ศูนยถ วงอยูต่ำลง ขวด จะลมยาก ถาบรรจุน้ำเตม็ ขวด จุดศูนยถ ว งจะอยสู งู ข้นึ ไปอีก ขวดจะถูกทำใหลม ไดงายข้ึน การทรงตวั ของคน นกั เรียนจะไมห กลมก็เพราะเสน ต้งั ฉากจากจุดศนู ยถว งในตวั นักเรียนอยูภ ายในพ้ืนทีท่ ่ีลอมรอบขอบนอก ของเทา ท้ังสองของนักเรียนดังรปู

8 ในขณะทม่ี นษุ ยย นื อยู เสน ต้ังฉากจากจุดศนู ยถ วงจะผา นพ้นื ทที่ ลี่ อมรอบเทา ทงั้ สองของตัวเอง นค่ี ือเหตผุ ลทวี่ าทำไมจงึ ยืนขาเดียวไดยาก และจะยืนไดลำบากยิ่งกวา นั้นอีก เมือ่ เอาเชอื กมามัดเทาทั้งสองใหตดิ กันจนแนน ฐานของมนุษย เล็กมากและเสนฃ ตง้ั ฉากจากจุดศูนยถว ง จะออกมานอกฐานไดง ายมาก พยายามลุกข้นึ ยนื นักเรยี นจะไมสามารถลุกขน้ึ จากเกา อี้ในขณะที่นักเรียนน่งั อยูในทาซ่งึ เฉพาะทาหน่ึง แมว า นกั เรียนจะไมได ถกู มัดใหติดกับเกาอ้ี ตอไปนีเ้ ราจะลองทำดโู ดยนงั่ ลงบนเกาอใ้ี นทา เดยี วกับเด็กผูชายน่ังในรูป ไมอ าจลกุ ขน้ึ ยนื ได ใหนั่งตวั ตรงและหา มวางเทาของทานเขา ไปใตเกาอี้ แลวลองลกุ ขึ้นโดยไมเคลอื่ นเทา ทั้ง สองของทา น หรือเอนตัวไปขางหนา ทานจะไมส ามารถลุกขน้ึ ได ไมวาทานจะพยายามสัก เทา ใดก็ตามนอกเสียจากทานจะเลือ่ นเทาทัง้ สองของทานเขาไปใตเ กาอ้หี รือเอนตัวไป ขางหนา การท่หี อเอนปซ า (Pisa) ไมล มพงั ลงไป ถงึ แมจ ะมโี ครงสรา งท่ีเอียงกระเทเรอยูก็ตาม ก็เหตุผลเดยี วกนั คือ เสน ต้งั ฉากจากจดุ ศูนยถว งไมไดอยนู อกฐานน่นั เอง เหตุผลอกี ขอคือฐานตึกของสิง่ ดงั กลา วถกู ฝง ลกึ อยูใตพื้นดนิ มาก การทีน่ ักเรียนยื่นแขนออก เม่ือนักเรียนจะพยายามรกั ษาสมดลุ การทรงตัว นกั เรียนสามารถเลอื่ น จุดศูนยถวงอนั เน่ืองมาจากน้ำหนกั ตวั เพือ่ รักษาการทรงตัวไดโดยการยกแขนขึน้ ซง่ึ จะทำใหจุดศนู ยถว งไมเล่อื นออก จากฐานของรา งกายหรอื เทาของนักเรียน จะทำใหน กั เรียนไมล มลง

9 คาํ ชแ้ี จง ใหนกั เรยี นทาํ เคร่ืองหมาย √ หนา ขอ ความท่ถี ูกตอ ง และทาํ เคร่ืองหมาย x หนา ขอ ความทเ่ี หน็ วาไมถกู ตอ ง . 1) ตกุ ตาลมลุกเปนสมดลุ แบบสมดุลเสถยี รภาพ เม่ือไดร ับความกระทบกระเทือนใหเ อยี งไปเลก็ นอย และ สามารถกลับเขาสสู ภาพเดิมได . 2) สมดุลแบบไมเสถยี รภาพ คือ การสมดลุ ของวตั ถุซึ่งเมื่อไดรับความกระทบกระเทือนเพียงเลก็ นอ ย วัตถนุ ้ันจะอยใู นตาํ แหนง อ่ืนและสามารถกลบั มาอยใู นตําแหนงสมดลุ ดังเดิมได . 3) สมดุลแบบสะเทนิ คือ การสมดลุ ของวัตถุซ่ึงเมื่อไดร บั ความกระเทอื น วตั ถุเปล่ยี นตาํ แหนง ทสี่ ัมผัสกบั พน้ื และวัตถสุ ามารถอยูในลักษณะเดิมได . 4) เสถยี รภาพของวตั ถุขน้ึ อยูกบั 2 ปจจัย คือ ศูนยถวงของวตั ถุและความกวางสวนฐานของวตั ถุ . 5) วตั ถุจะอยูในสภาพสมดุลสมบรู ณ เมื่อวัตถเุ คล่ือนท่ีดว ยความเรว็ คงตัวและไมเ กิดการหมุน ลูกบลิ เลยี ดในแตละรปู วางน่ิงอยูกับพนื้ ผิวตาง ๆ กนั ดงั รูป

10 จงหาวา ลกู บิลเลียดสมดุลแบบใด (ขอละ 1 คะแนน) (ก) สมดุลเสถียร (ข) สมดลุ ไมเสถยี ร (ค) สมดลุ สะเทิน 7. รปู ท่ี 1 เปนสมดลุ แบบ ......................................................... 8. รูปที่ 2 เปนสมดลุ แบบ ......................................................... 9. รูปที่ 3 เปน สมดลุ แบบ ........................................................ วตั ถใุ นรปู ใดเมื่อไดร ับความกระทบกระเทือนเพยี งเล็กนอย วัตถุนัน้ จะอยใู นตําแหนงอ่ืนไมกลับมาอยใู น ตาํ แหนง สมดุลดงั เดิม........................................................ 1. ขอใดกลาวถึง “จุดศนู ยถ วง” ไดถูกตองที่สดุ 6. ขอ ใดสมดลุ สถิตทุกขอ ก. จดุ ศนู ยถว งของวตั ถุจะอยภู ายในเนอ้ื วัตถุเสมอ ก. นง่ั อานหนงั สือ รถแลน ดวยความเร็วคงตวั ข. จดุ ศนู ยถวงอาจจะอยนู อกเนอื้ วตั ถกุ ไ็ ด ค. จดุ ศนู ยถวงจะอยูตําแหนง เดียวกันกับจุดศนู ยกลาง มวลเสมอ ข. แทงไมไถถลงมาตามพนื้ เอียง , รถแลน ดว ยความเร็วคงตัว ง. จุดศูนยถว งเปน จดุ เสมอื นรวมมวลของวัตถ ค. หนงั สอื วางบนโตะ , บนั ไดวางพิงผนงั 2. ขอความใดกลาวถูกตองเกี่ยวกบั C.G และ C.M. ง. รอก , มา หมุนหมุนดวยอตั ราเร็วเชิงมุมคงตวั ก. จดุ C.G. เปนจดุ ซ่ึงเสมือนรวมมวลของวตั ถทุ ้งั กอน 7. สมดุลกล สามารถจําแนกไดก ี่แบบ อะไร บาง ข. จดุ C.M. ของลูกปง ปองอยูภายในเน้อื ของวตั ถุ ก. 2 แบบ สมดลุ จลน สมดุลสถติ ค. จุด C.M. ของแผนรูปสเ่ี หลย่ี มคางหมอู ยทู ่ีจุดตดั ของเสน ทแยง ข. 2 แบบ สมดลุ จลน สมดลุ เนื่องจากแรง มุม ง. จุด C.M.และ C.G. ไมจําเปนตองอยูทเี่ ดยี วกนั เสมอไป ค. 2 แบบ สมดลุ เน่อื งจากโมเมนตข องแรง สมดลุ สถิต 3. ขอ ใดกลาวถกู ตองทส่ี ดุ ง. 2 แบบ สมดลุ ตอ การเคลอ่ื นท่ี สมดลุ สถติ ก. วตั ถุทีอ่ ยนู ่งิ ถือวา วัตถุนัน้ สภาพสมดุล 8. เสถยี รภาพของวัตถุจะมากขึน้ เมือ่ ใด ข. วตั ถทุ ่เี คลอ่ื นที่เรว็ ข้นึ อยางคงที่เรียกวา สมดุลจลน ก. จุดศูนยถว งอยตู า่ํ ค. คนโดดรม จากเคร่ืองบินสูพนื้ ดินอยา งปลอดภัยไมเ กี่ยวกับ ข. วตั ถุมีนํา้ หนักมาก สมดลุ ค. วตั ถมุ ฐี านท่ีกวาง ง. สมดลุ ของวัตถจุ ําเปนที่วัตถุตองอยูน่ิง ง. ถกู ทุกขอ 4. ขอ ใดตอไปน้ีกลาวถูกตอง 9. ดาวเทียมโคจรรอบโลกเปนวงกลมดว ยอตั ราเรว็ 1. สมดุลกล คอื วัตถุทร่ี ักษาสภาพการเคลื่อนทใี่ หคงเดิม เชิงมุมคที่ ดาวเทียมอยูในสภาพใด 2. สมดลุ สถติ คอื วตั ถทุ ี่อยูน ่ิงและไมม ีการหมุน ก. สมดลุ สถิต 3. สมดลุ จลน คอื วตั ถุท่มี ีการเคลื่อนทดี่ ว ยความเรว็ คงตวั หรอื มี ข. สมดลุ สมั บรู ณ การหมนุ ดว ยความเรว็ เชิงมมุ คงตัว ค. สมดลุ ตอการหมนุ ก. 1,2 ข. 2,3 ค. 1,3 ง. 1,2,3 5. ขอ ใดสมดุลจลนท กุ ขอ ง. สมดุลตอ การเลื่อนตําแหนง ก. รถยนตวง่ิ ดว ยความเร็วคงตวั , โทรศัพทวางบนโตะ 10. ขอ ใดตอไปนี้วตั ถุจะลม ทนั ที ข. หนงั สอื ไถลลงมาตามพนื้ เอยี งดว ยความเรง็ คงตัว , พัดลมหมุนดวยความเร็วเชงิ มมุ คงตวั ค. ชิงชา สวรรคห มุนดวยความเรว็ คงตัว , บันไดพงิ ผนัง ง. โทรศัพทว างบนโตะ , หนงั สอื วางบนโตะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook