Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

Published by Thunyalukka84, 2022-05-26 08:40:27

Description: uabs

Search

Read the Text Version

เชอ้ื เพลิงซากดึกดาบรรพ์ เชื้อเพลงิ ซากดกึ ดาบรรพ์ หรอื เช้ือเพลิงฟอสซิล (อังกฤษ: fossil fuel; เชื้อเพลงิ ซากดึกดาบรรพเ์ ปน็ ศพั ท์ทางธรณวี ิทยา ส่วนเชือ้ เพลงิ ฟอสซลิ เปน็ ศัพทท์ างวิศวกรรมเครื่องกล) หรือแร่เชือ้ เพลงิ (อังกฤษ: mineral fuel) เป็นเช้อื เพลงิ อนั เกิดแต่ซากดึกดาบรรพ์ซ่ึงได้แก่ไฮโดรคาร์บอนที่พบจากชว่ งชนั้ ดนิ (layer) ด้านบนสดุ ของ เปลือกโลก เชื้อเพลงิ ซากดึกดาบรรพ์มีต้งั แต่แร่สารระเหยสูง (volatile material) ซ่งึ มอี ัตราคารบ์ อนตอ่ ไฮโดรเจนตา่ เป็นต้นว่า แกส๊ มเี ทน ไปจนถงึ ปโิ ตรเลยี มเหลว (liquid petroleum) และแรไ่ ร้สารระเหย (nonvolatile material) ซ่งึ แรไ่ ร้สารระเหยนีม้ ักประกอบด้วยคาร์บอนบริสุทธิ์ เป็นต้นวา่ ถา่ นแอนทราไซต์ (anthracite coal) ทง้ั น้ี แกส๊ มีเทนอนั มีในแรส่ ารระเหยสูงเช่นว่าสามารถพบได้ในสารจาพวกไฮโดรคาร์บอนเพยี งจาพวกเดยี วก็ได้ ใน สารจาพวกไฮโดรคาร์บอนประสมกบั น้ามันก็ได้ และในรูปมีเทนผังหนา (methane clathrate) กไ็ ด้ ใน พ.ศ. 2548 องค์การข้อมูลขา่ วสารด้านพลังงานแห่งสหรัฐอเมรกิ า (United States Energy Information Administration) ไดป้ ระเมนิ ว่าในบรรดาผลิตผลจากพลงั งานในโลกน้ี ร้อยละแปดสบิ หกมตี ้น กาเนิดจากการเผาผลาญเชือ้ เพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ ร้อยละหกจุดสามกาเนิดแต่พลังงานไฟฟ้าจากน้า (hydroelectric) และร้อยละหกจากพลงั งานนวิ เคลยี ร์ สว่ นร้อยละศูนย์จดุ เก้าที่เหลือจากแหล่งพลงั งานอน่ื ๆ เปน็ ตน้ ว่า ความร้อนจากธรณีภาค (geothermal) พลังงานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม พลังงานจากไม้ และพลังงานจาก ของใชแ้ ล้] ถา่ นหิน ถา่ นหิน (Coal) ถา่ นหนิ เปน็ หนิ ตะกอนท่ีกาเนิดมาจากซากพชื ลักษณะแข็งแต่เปราะ มีสนี ้าตาลถึงดา มีท้ัง ชนิดผวิ มนั และผวิ ดา้ น องค์ประกอบหลักในถ่านหนิ คือธาตุคารบ์ อน และธาตอุ นื่ ๆ เชน่ ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน แลกามะถัน นอกจากน้ีอาจพบธาตุที่มีปริมาณน้อย เชน่ ปรอท สารหนู ซีลีเนียม โครเมียม นกิ เกลิ ทองแดง และแคดเมยี ม ซง่ึ เปน็ สาเหตสุ าคัญท่ีก่อให้เกิดปัญหากับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ปริมาณสารอง ประกอบดว้ ยปริมาณท่ีพสิ ูจนแ์ ลว้ และปริมาณท่ยี งั ไมไ่ ดพ้ สิ จู น์ ปรมิ าณสารองท่ีพสิ ูจน์แลว้ คอื ปริมาณที่คน้ พบแลว้ และจะสามารถผลิตขน้ึ มาใช้ใหค้ ุ้มค่าได้คอ่ นขา้ งแนน่ อน ปรมิ าณสารองของถา่ นหินที่มีอยู่ ในปจั จบุ นั ทว่ั โลกจะใช้ได้อกี 250 ปี 1.1 การเกดิ ถา่ นหิน พชื ในยุคโบราณเม่ือประมาณ 350 ถงึ 280 ล้านปที ่ผี า่ นมา เม่ือตายลงแลว้ เกดิ การทับถมและเนา่ เป่ือยผุพัง อยใู่ ตแ้ หล่งน้าและโคลนตม เมอื่ เกิดการเปลยี่ นแปลงของผิวโลก เชน่ แผน่ ดนิ ไหว หรือภเู ขาไฟระเบิด ซากพชื

เหลา่ น้จี ะจมลงไปในผวิ โลก ภายใตค้ วามร้อนและความดันสูง ซากพชื เหลา่ นีซ้ ง่ึ อยใู่ นภาวะท่ีขาดออกซิเจนหรอื มี ออกซิเจนขากดั จะเกิดการยอ่ ยสลายอย่างชา้ ๆ โครงสร้างของพืชซง่ึ ประกอบด้วยเซลลูโลส นา้ และลิกนนิ ซึ่งมี ธาตุองคป์ ระกอบเป็นคารบ์ อน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เมือ่ ถูกยอ่ ยสลายให้มีขนาดโมเลกลุ เล็กลง คาร์บอนจะ เปลย่ี นแปลงเปน็ สารประกอบอินทรยี ์ท่ีมปี ริมาณคารบ์ อนต้ังแต่รอ้ ยละ 50 โดยมวล หรือมากกวา่ ร้อยละ 70 โดย ปริมาตร สว่ นไฮโดรเจนและออกซเิ จนจะเกดิ เปน็ สารประกอบอ่ืนแยกออกไป ปัจจัยที่มีผลต่อสมบตั ิของถ่านหนิ การท่สี มบัตทิ างกายภาพและทางเคมขี องถ่านหนิ ตามแหล่งต่าง ๆ แตกตา่ งกัน เปน็ ผลจากปัจจัยหลายอย่างดังนี้ 1. ชนิดของพืช 2. การเน่าเปื่อยทเี่ กิดข้นึ การถกู ฝงั กลบ 3. ปรมิ าณ สารอนินทรียท์ ่ปี นเปื้อนในขน้ั ตอนการเกดิ 4. อุณหภูมิและความดนั ในขณะทมี่ ีการเปลี่ยนแปลง ประเภทของถา่ นหิน 1. พีต (Peat) 2. ลกิ ไนต์ (Lignite) หรอื ถ่านหินสนี า้ ตาล 3. ซับบิทูมินสั (Sub–bituminous) 4. บิทูมินัส (bituminous) 5. แอนทราไซต์ (Anthracite)

ปริมาณรอ้ ยละของธาตุองคป์ ระกอบและความชืน้ ของถา่ นหนิ ชนิดตา่ ง ๆ เทียบกบั ไม้ ปริมาณขององค์ประกอบ (ร้อยละโดยมวล) ชนิดของสาร C HO N S ความชน้ื ไม้ 50 6 43 1 - * พีต 50 – 60 5 – 6 35 – 40 2 1 75 – 80 ลิกไนต์ 60 – 75 5 – 6 20 – 30 1 1 50 – 70 ซบั บิทูมนิ สั 75 – 80 5 – 6 15 – 20 1 1 25 – 30 บทิ ูมินสั 80 – 90 4 – 6 10 – 15 1 5 5 – 10 แอนทราไซต์ 90 – 98 2 – 3 2–3 1 1 2–5 * ขน้ึ อยู่กับชนิดของ พนั ธ์ุไม้ แกรไฟต์เมื่อเผาไหมจ้ ะให้พลงั งาน 32.8 kJ/g แต่การเผาถ่านหินจะให้พลังงานความร้อนเฉล่ยี 30.6 kJ/g แสดงว่าพลงั งานความรอ้ นท่ีไดจ้ ากการเผาถา่ นหนิ จะข้ึนอยู่กับปริมาณของคารบ์ อนที่เป็นองคป์ ระกอบในถา่ นหิน ดังนน้ั การเผาไหมถ้ ่านหนิ แต่ละชนดิ ทมี่ ีมวลเท่ากันจะใหพ้ ลังงานความร้อนแตกต่างกันตามปริมาณคาร์บอนท่ีมีอยู่ ในถา่ นหนิ ซ่งึ มลี าดับจากมากไปหาน้อยดงั นคี้ ือแอนทราไซต์บทิ ูมนิ ัส ซบั บทิ ูมนิ สั ลกิ ไนต์ และพีต 1.2 การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน 1. ถา่ นหิน ถูกนามาใชเ้ ปน็ แหลง่ พลงั งานมากกวา่ 3000 ปี ประเทศจนี เปน็ ประเทศแรก ๆ ท่นี าถา่ นหินมา ใชเ้ ปน็ เชอ้ื เพลิงในการถลุงทองแดง ปัจจุบนั การใช้ประโยชน์จากถา่ นหินส่วนใหญใ่ ชเ้ ปน็ เชือ้ เพลงิ ในการผลติ

กระแสไฟฟา้ การถลงุ โลหะ การผลติ ปนู ซเี มนต์ และอุตสาหกรรมทใ่ี ช้เคร่ืองจักรไอนา้ การผลิตกระแสไฟฟ้าท่วั โลก ใช้พลงั งานจากถ่านหินประมาณรอ้ ยละ 39 2. แหล่งถ่านหนิ ในประเทศไทยมมี ากท่เี หมืองแมเ่ มาะ จังหวดั ลาปาง คดิ เปน็ 97% ของปริมาณสารองทีม่ ี อยู่ในประเทศไทย รองลงมาคือเหมืองกระบี่ จงั หวดั กระบี่ ส่วนใหญเ่ ป็นลิกไนต์และซบั บิทมู ินัส ซ่ึงมคี ุณภาพต่า ให้ ปริมาณความร้อนไม่สูงมากนัก 3. ถ่านหนิ ยงั นามาทาเป็น ถ่านกัมมนั ต์ (Activated carbon) เพอื่ ใชเ้ ปน็ สารดูดซบั กล่ินในเครอ่ื งกรองน้า เคร่อื งกรองอากาศ หรือในเครื่องใช้ต่าง ๆ ทาคารบ์ อนไฟเบอร์ซงึ่ เปน็ วสั ดทุ มี่ ีความแขง็ แกร่ง แต่นาหนกั เบา สาหรบั ใชท้ าอปุ กรณก์ ีฬา เชน่ ดา้ มไม้กอล์ฟ ไม้แบดมินตนั ไม้เทนนิส 4. นกั วิทยาศาสตร์พยายามเปล่ียนถ่านหินให้เป็นแก๊ส และแปรสภาพถา่ นหนิ ให้เป็นของเหลว เพื่อเพ่มิ คุณคา่ ทางด้านพลังงานและความสะดวกในการขนสง่ ดว้ ยระบบท่อส่ง เชือ้ เพลิงแก๊สหรือของเหลวน้จี ะถูก เปล่ยี นเปน็ ผลิตภัณฑเ์ คมีอน่ื ๆ ทมี่ ีประโยชน์ รวมท้งั เปน็ การช่วยเสรมิ ปรมิ าณความต้องการใชเ้ ช้ือเพลิงธรรมชาติ จากปิโตรเลยี มด้วย 5. การเผาไหมข้ องถ่านหนิ จะได้ผลิตภัณฑ์เปน็ แก๊สที่ขึน้ อย่กู บั องค์ประกอบของถ่านหนิ ไดแ้ ก่ CO2 , CO , SO2 , NO2  CO2 เป็นสาเหตขุ องสภาวะเรือนกระจก  CO เป็นแกส๊ ไม่มีสแี ละไมม่ ีกลิ่น เปน็ แกส๊ พิษ เมือ่ สดู ดมเข้าไปมากจะทาให้มึนงง คลืน่ ไส้ อาจหมดสติถึง ตายได้  SO2 และ NO2 ทาใหเ้ กิดการระคายเคอื งต่อระบบหายใจและปอด เปน็ สาเหตสุ าคญั ของภาวะมลพิษใน อากาศ เปน็ สาเหตขุ องฝนกรด ทาให้นา้ ในแหลง่ น้าตา่ ง ๆ มีความเปน็ กรดสูงขนึ้ สง่ ผลต่อการเจรญิ เติบโต ของท้งั พชื และสตั ว์ 6. ของเสียท่เี ป็นเถา้ ถา่ นและฝุ่นจากการเผาถา่ นหินจะมีพวกโลหะต่าง ๆ ปนออกมาด้วย ถา้ กาจดั ไมถ่ ูกต้อง จะมผี ลเสียต่อสง่ มชี วี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม เถ้าพวกนกี้ าจดั ได้โดยผสมกบั ซีเมนต์เพ่ือใชใ้ นการก่อสรา้ ง ใช้ถมถนน หรอื นาไปผ่านกระบวนการเพอ่ื แยกโลหะออกมาใช้ประโยชน์ สาหรบั ฝนุ่ ท่ีเกดิ ข้นึ ถ้าไม่มีกระบวนการกาจัดทดี่ จี ะฟุง้ กระจายไปในบรรยากาศ ปัจจบุ นั ใชอ้ ปุ กรณ์ท่ีมีประสิทธิภาพโดยใช้หลกั การทางไฟฟ้าสถิตเพ่ือดูดจับฝ่นุ เหล่านี้ไว้ 7. การลดผลกระทบที่เกดิ จาก SO2 ทาได้โดยกาจัดกามะถันออกไปก่อนการเผาไหมถ้ ่านหนิ นอกจากน้ียัง ต้องมีการกาจัดสารทีเ่ ปน็ พิษ เช่น ปรอท ขอ้ เสียของการกาจัดโดยวธิ ีน้ีคอื จะสญู เสยี สารอินทรยี ์ทม่ี ปี ระโยชน์

ออกไปดว้ ย การกาจดั อีกวิธีหน่ึงเป็นกาจดั หลงั ผาไหม้ โดยการฉีดหรือพน่ หนิ ปนู เขา้ ไปในเตาเผาทม่ี ีอุณหภูมสิ ูง หนิ ปูนจะสลายตัวไดเ้ ป็น CaO ซ่งึ เมอ่ื ทาปฏิกิริยากบั แก๊ส SO2 จะได้ CaSO3 เปน็ วิธลี งทุนทถี่ ูกกว่าและนิยมใช้ นา้ มันดิบ เปน็ แร่เชอื้ เพลิงทม่ี สี ถานะเป็นของเหลว มอี งคป์ ระกอบส่วนใหญ่เปน็ สารประกอบของไฮโดรเจนและ คารบ์ อน จึงถูกเรียกวา่ เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่พบบ่อยทีส่ ุด ทีม่ สี ีนา้ ตาลแกมเขียว แตอ่ าจพบสีอ่ืนบา้ ง เช่น สีเหลืองเขม้ น้าตาลเกือบดา ประกอบอยดู่ ว้ ย เช่น กามะถัน (S), ไนโตรเจน (N), ออกซิเจน (O) เป็นตน้ ด้วย เหตนุ ้ีน้ามนั ดิบท่ีขดุ ข้ึนมาจะยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ทันที ต้องมีการนามาแยกสารประกอบ ไฮโดรคารบ์ อนต่าง ๆ ออกเป็นกลมุ่ ๆ กอ่ น จึงจะสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ตามชนดิ ของสารได้ โดยการวิธกี าร แยกสารที่ปนอย่ใู นน้ามนั ดบิ ออกจากกันนี้ เรยี กวา่ การกลั่นนา้ มนั ดิบ เมอ่ื นาน้ามันดิบมากลัน่ แยกจะได้นา้ มนั เชอื้ เพลิงและนา้ มันหล่อล่ืนสาหรบั เคร่ืองยนต์ ประเภทตา่ ง ๆ ให้พลงั งานความรอ้ นและแสงสว่าง ส่วนท่ีเหลอื จาก การกลนั่ น้ามัน และกา๊ ซหุงต้มแล้ว นาไปใชเ้ ปน็ วัตถุดิบของอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมิคลั นามาใช้ ประดษิ ฐ์ของใช้ สาเรจ็ รปู อ่นื ๆ อีกประมาณ 300 ชนดิ เช่น สารพวกพลาสติก ไนลอน เส้นใยสังเคราะห์ ปุย๋ ยารักษาโรค สี ผงซักฟอก เปน็ ต้นกากที่เหลอื ตกค้างซงึ่ เป็นสว่ น ที่หนักท่สี ุดจะได้แก่ ยางมะตอยซง่ึ นยิ มนามาทาผวิ ถนนลาดยาง น้ามนั ดิบเกดิ จากการทับถมของสง่ิ มีชวี ติ ทง้ั พชื และสตั วใ์ นสมัยอดีต มหี ินปนู ดนิ เหนียว ทรายและอืน่ ๆ ตกตะกอนทบั ถมมาเป็นชน้ั ๆ ต่อมาเม่ือมีการเปล่ยี นแปลงทางดา้ น ของแรงกดดนั และอุณหภมู ิในช้นั หนิ ทาให้เกดิ การแปรสภาพทางเคมีและฟิสิกส์ กลายเป็นสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนเป็นน้ามันดิบแทรกตวั อยูใ่ นเน้ือของ หนิ ดินดาน หินทรายและหินปูนทมี่ ีเนื้อพรุน แหลง่ ท่ีพบมาก คือ อาเภอฝาง จังหวัดเชยี งใหมแ่ ละในอา่ วไทย กา๊ ซธรรมชาติ เกิดเชน่ เดยี วกบั นา้ มันและถ่านหินเป็นสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนท่ีอยู่ในสถานะของกา๊ ซสว่ นใหญ่ ประกอบไปด้วยก๊าซมีเทนก๊าซนี้นอกจากจะไดจ้ าก แหลง่ ธรรมชาตแิ ล้วยงั ได้จากการกล่ันน้ามันและอาจกลั่นหรือ สกดั จากขยะหรอื โรงกาจดั ของเสียต่าง ๆ แต่ได้ปริมาณน้อย สามารถนามาใช้เปน็ พลงั งานแทนน้ามันดบิ ได้ การใช้ กา๊ ซธรรมชาติเปน็ เชือ้ เพลงิ หงุ ตม้ ประกอบอาหารหรอื ให้ความอบอ่นุ หรอื อ่นื ๆ ตอ้ งใช้ความระมัดระวงั ถ้าเกดิ การ ร่ัวอาจติดไฟและระเบิดไดง้ ่าย การเจาะหาแหลง่ น้ามันในอา่ วไทยปรากฏพบกา๊ ซธรรมชาติเปน็ จานวนมาก และ สามารถนามาใชไ้ ด้ตั้งแต่เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2524 ถึงปัจจุบัน กา๊ ซธรรมชาตเิ ม่อื ถูกอัดด้วยความดันสูงและส่งผา่ น ทอ่ จากบอ่ นา้ มัน หรือถูกทาใหเ้ ปน็ ของเหลวและเก็บเปน็ LPG (Liguefied Petroleum Gas) จดั เป็นกา๊ ซ ธรรมชาตซิ ่งึ ไดจ้ ากการกลั่นแลว้ บรรจใุ นภาชนะในสภาพ ท่ีเป็นของเหลวภายใตค้ วามดนั สูง มีองคป์ ระกอบท่สี าคญั คอื โพรเพนและบวิ เทน ซึง่ มชี ื่อเรยี กทางการค้าหลายชื่อ เช่น กา๊ ซปโิ ตรเลียมเหลว ก๊าซหุงต้ม ก๊าซเหลว เปน็ ต้น ใช้ ในครวั เรอื นและวงการอุตสาหกรรมมาก ปกติ LPG เป็นก๊าซทีไ่ มม่ กี ลิน่ ฉะน้ันเพ่ือความปลอดภยั จงึ เติมกลน่ิ ลงไป

เพอ่ื เตือนให้ทราบในกรณที ่ีก๊าซรว่ั สารทเ่ี ตมิ ลงไป คือ Ethyl mercaptan, Thiophane sulphide เป็นตน้ โดย เติม 680 กรัมต่อ 1,000 แกลลอนของ LPG แรน่ วิ เคลยี ร์ หมายถงึ แรท่ ี่มีการแตกตัวของนวิ เคลยี สของธาตุซ่ึงไม่เสถียร เนอ่ื งจากมีพลังงานสว่ นเกนิ อยภู่ ายใน นิวเคลียสมากจึงต้องถ่ายเทพลงั งานส่วนเกนิ น้ี ออกมาเพื่อใหก้ ลายเปน็ อะตอมของธาตุที่เสถยี ร แร่นวิ เคลยี รม์ ี 2 ชนดิ คือแร่กัมมนั ตภาพรังสี เป็นแรท่ ม่ี สี มบตั ิในการปล่อยรังสอี อกจากตวั เองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดเวลา ซ่ึงไมส่ ามารถ มองเหน็ ได้เนอ่ื งจากกมั มันตภาพรังสที ป่ี ลอ่ ยออกมาเปน็ คล่ืนสน้ั ได้แก่ ยูเรเนยี ม ทอเรยี ม ส่วนอีกชนิดหนง่ึ เป็นแร่ ที่ไม่สง่ กมั มันตภาพรงั สีออกมาใชป้ ระโยชน์ ในการควบคุมการแตกตวั ของนวิ เคลยี สของแร่กมั มนั ตภาพรงั สี ได้แก่ เมอรลิ และโคลัมเนียม แบบฝกึ หดั 1. เชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดาบรรพค์ ืออะไร มีกช่ี นิด อะไรบา้ ง ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................................... ............................. ...................................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... 2. การใช้ถา่ นหินเปน็ เช้ือเพลิงมีข้อดแี ละข้อเสียอยา่ งไรบ้าง ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................... ......................................... .......................................................................................... .......................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. .......................................................

3. ประสิทธภิ าพของถา่ นหินที่ใช้เปน็ เชือ้ เพลิงข้ึนกบั ปจั จยั ใด ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................ .................................... ............................................................................................... ..................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 4. เมอื่ เผาไหม้ถา่ นหินจะได้สารใดเป็นผลติ ภณั ฑ์และมผี ลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................................... ..................... .............................................................................................................. ...................................................................... ............................................................................................................................. .......................................................

เฉลยแบบฝึกหัด 1. เชือ้ เพลิงซากดกึ ดาบรรพค์ ืออะไร มีกีช่ นิด อะไรบ้าง ตอบ หมายถงึ เช้ือเพลิงซึ่งเปลย่ี นสภาพมาจากซากของสิง่ มชี ีวิต ทง้ั พืชและสตั วใ์ นยคุ ตา่ ง ๆ โดย กระบวนการทางธรณวี ิทยาและธรณีเคมี มี 4 ชนิด คอื ถ่านหนิ (Coal), กา๊ ซธรรมชาติ (Gases), นา้ มัน (Natural Oil) และหินนา้ มันและทรายนา้ มนั (Oil Shale and Tar Sand) 2. การใชถ้ ่านหินเป็นเชอ้ื เพลิงมขี ้อดีและขอ้ เสียอยา่ งไรบ้าง ตอบ ถ่านหนิ ยังประกอบด้วยธาตุไ ด้แก่ ซัลเฟอร์ ซ่ึงเปน็ สาเหตุของมลภาวะทีค่ ่อนข้างร้ายแรงตอ่ บรรยากาศและ น้า จะปะปนเข้าไปในบรรยากาศ ในรปู ของก๊าซซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (รปู ท่ี 3) ซ่งึ อาจจะมีอันตรายต่อมวลชวี ติ และข้อดี คือ สามารถใช้แทนสารปิโตรเลยี มทีก่ าลงั จะหมดไป และมรี าคาถูกกวา่ ปโิ ตรเลียมมาก 3. ประสิทธิภาพของถา่ นหินท่ีใช้เป็นเช้ือเพลงิ ข้ึนกับปจั จัยใด ตอบ ประสิทธิภาพในการให้ความร้อนของถ่านหนิ ข้ึนอยกู่ ับปริมาณคาร์บอนท่เี ป็นองคป์ ระกอบใน ถ่านหิน ดงั นัน้ การเผาไหมถ้ ่านหนิ แตล่ ะชนิดที่มีมวลเท่ากันจะให้พลังงานความร้อนแตกต่างกันตามปริมาณ คารบ์ อนท่ีมอี ยู่ในถา่ นหินซ่ึงมีลาดับจากมากไปน้อยดงั นี้คือ แอนทราไซต์ บทิ ูมนิ สั ซับบิทูมินสั ลิกไนต์และพีต 4. เมอื่ เผาไหม้ถ่านหินจะได้สารใดเป็นผลิตภัณฑ์และมีผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งไร ตอบ การใช้ถา่ นหนิ โดยตรงจะได้ผลิตภัณฑ์ในทงั้ รปู แก๊สซ่ึงเป็นออกไซด์ของธาตุที่เป็นองคป์ ระกอบใน ถา่ นหิน แกส๊ เหลา่ นไ้ี ด้แก่ 1. CO2 เปน็ สาเหตขุ องการเกิดภาวะเรือนกระจก 2. CO เป็นแกส๊ ที่ไม่มีกลน่ิ และไม่มีสี ถ้าสูดดมเข้าไปแลว้ จะทาให้เกดิ อาการมึนงง คลื่นไส้ อาจทาให้ หมดสติหรอื ถึงตายได้ 3. NO2 และ SO2 ทาใหเ้ กิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจและปอด เป็นสาเหตุสาคญั ของ ภาวะมลพษิ ในอากาศ เกิดฝนกรดซง่ึ ทาให้น้าในแหลง่ น้าตา่ งๆมีความเปน็ กรดสงู ขนึ้ สง่ ผลตอ่ การ

เจริญเตบิ โตของทงั้ พชื และสตั ว์ ของเสียที่เปน็ ฝุ่นหรอื เถา้ ถา่ นจะมีพวกโลหะตา่ งๆมคี วามเป็นกรดสงู ขึ้น ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของทง้ั พืชและสตั ว์ ของเสียทเ่ี ปน็ ฝ่นุ หรือเถ้าถา่ นจะมพี วกโลหะต่างๆปนออกมาด้วย ถ้ากาจัดไม่ถูกตอ้ งจะเกิดผลเสียต่อส่ิงมชี ีวิต และสภาพแวดล้อม เถา้ พวกน้ีอาจกาจัดโดยเอาผสมกบั ซเี มนตเ์ พอื่ ใช้ในการกอ่ สร้าง ใชถ้ มถนนหรอื นาไปผา่ น กระบวนการเพ่ือแยกโลหะออกมาใช้ประโยชน์ สาหรับฝุ่นที่เกดิ ขึน้ ถ้าไม่มีกระบวนการกาจดั ทด่ี จี ะฟุ้งกระจายไปใน บรรยากาศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook