Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัตว์ป่าน่ารู้

สัตว์ป่าน่ารู้

Published by กิตติพงศ์ หลานวงศ์, 2021-08-26 06:53:00

Description: สัตว์ป่าน่ารู้

Search

Read the Text Version

ไฟลมั แอนเนลดิ า (Phylum Annelida)

ไฟลมั แอนเนลดิ า (Phylum Annelida) มีปมประสาทบริเวณหัวหรือสมอง (cerebral ganglion or brain) มเี สนประสาททางดานทอง (ventral nerve cord) และแตล ะ ปลอ งมปี มประสาท (segmental ganglia) กลามเนอ้ื มี 2 ชดุ คอื • กลา มเนือ้ วง (circular muscle) • กลามเนือ้ ตามยาว (longitudinal muscle)

ไฟลมั แอนเนลดิ า (Phylum Annelida) ปลงิ และทากเปนสัตวที่ดํารงชวี ิตเปน ปรสิตช่ัวคราว โดยการดูดเลอื ดของสตั วอน่ื เมอื่ ใชเ ขย้ี วกดั ผิวหนังโฮสต ปลิงและทากจะปลอยสารคลายยาชาทาํ ใหไ มรสู กึ เจบ็ และปลอ ยสารฮิรดู นิ (Hirudin) เพอื่ ปอ งกันไมใ หเ ลอื ดของโฮสตแข็งตัว

ไฟลมั แอนเนลดิ า (Phylum Annelida)

บรรพบรุ ษุ ของสัตว ไมมเี นอื้ เยอ่ื แทจริง มีเน้อื เยอื่ แทจ ริง สมมาตรตามรัศมี สมมาตรดา นขาง (radial symmetry) (bilateral symmetry) ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย ชอ งปากแบบดิวเทอโรสโทเมยี (protostomia) (deuterostomia) ตวั ออ นแบบโทรโคฟอร ตวั ออ นมกี ารลอกคราบ (trochophore) (ecdysozoa) พอรเิ ฟอรา ไนดาเรีย นีมาโทดา อารโ ทรโพดา (Porifera) (Cnidaria) (Nematoda) (Arthropoda) แพลทีเฮลมินทสิ มอลลัสคา แอนเนลดิ า เอไคโนเดอรมาตา คอรด าตา (Platyhelminthes) (Mollusca) (Annelida) (Echinodermata) (Chordata)

ไฟลมั นมี าโทดา (Phylum Nematoda) เปนสตั วท ีพ่ บอยูทั่วไปในนา้ํ จืด นาํ้ เคม็ และพื้นดินชน้ื แฉะ สวนใหญดํารงชีวติ แบบอิสระ เชน ไสเดอื นฝอย บางชนดิ ดํารงชีวติ เปนปรสติ เชน พยาธิไสเ ดือน พยาธปิ ากขอ พยาธเิ สน ดา ย

ไฟลัมนมี าโทดา (Phylum Nematoda) มลี าํ ตัวรูปทรงกระบอก ไมมีปลองบรเิ วณลําตวั จงึ เรียกสัตวกลมุ น้วี า “หนอนตวั กลม (round worm)” มีชั้นคิวทิเคิล (cuticle) หอหุมรางกายเพื่อปองกันการสูญเสียนํ้า และทําให มกี ารลอกคราบระหวา งการเจริญเติบโต

ไฟลมั นีมาโทดา (Phylum Nematoda) มีทางเดนิ อาหารสมบรู ณ ไมม ีระบบหมนุ เวียนเลอื ด ลาํ เลยี งสารอาหารโดยของเหลวภายในชอ งลําตัวเทยี ม (pseudocoelom) พบเฉพาะกลามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle)

ไฟลัมอารโ ทรโพดา (Phylum Arthropoda) เปนสตั วท ่ีพบจาํ นวนมาก จาํ แนกไดมากกวา ลานสปช ีส สวนใหญเ ปน “แมลง” เดนิ มลี ําตวั เปน ปลอง รยางคเปน ขอ ๆ ตอกัน จบั อาหาร รยางคเปน ลกั ษณะพิเศษปรบั เปลี่ยนใหท าํ หนาทไ่ี ดห ลายอยาง รับความรูสึก ผสมพันธุ ปองกันอนั ตราย

ไฟลมั อารโทรโพดา (Phylum Arthropoda) มีโครงรางเปนเปลอื กแข็งภายนอกประกอบไปดวยสาร chitin มีการลอกคราบจากระยะตวั ออ นเปน ตัวเต็มวยั มรี ะบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัสทเี่ จรญิ มีศนู ยร วมระบบประสาทอยูทีห่ วั

ไฟลมั อารโ ทรโพดา (Phylum Arthropoda) มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปด (open circulatory system) กลุมท่ีอยูในนํ้าจะมีการแลกเปลี่ยนแกสผานเหงือก (gill) สวนกลุมท่ีอยูบนบก จะมีการแลกเปลี่ยนแกสผานทางทอลม (tracheal tube) หรืออวัยวะท่ีมี ลักษณะคลา ยปอด กลุมท่ีอยูบนบกขับถายผานทาง Mulpighian tubule สวนกลุมที่อยูในน้ํา ขบั ถายผาน green gland

ไฟลมั อารโทรโพดา (Phylum Arthropoda) มกี ารสืบพนั ธแุ บบอาศยั เพศท่ีมีเพศแยก และมกี ารปฏสิ นธภิ ายในรางกาย เมื่อเกิดการปฏิสนธิแลวตัวออนมักมีการเจริญเติบโตแบบเมทามอรโฟซิส (metamorphosis)

ไฟลัมอารโ ทรโพดา (Phylum Arthropoda) คลาสเมอโรสโตมาตา (Class Merostomata) “แมงดาทะเล (horseshoe craหวัb+sอ)ก” ทอ ง ปจ จุบันเหลอื เพยี ง 3 จนี สั 4 สปช ีส (cephalothorax) (abdomen) ลาํ ตวั แบงออกเปน 2 สว น  สวนหวั และอกรวมกนั (cephalothorax)  สว นทอ ง (abdomen) มีรยางคคูแรกชว ยในการกินอาหาร มีขาเดนิ 5 คู

ไฟลมั อารโ ทรโพดา (Phylum Arthropoda) ในประเทศไทยพบ 2 สปช ีส แมงดาหางเหลย่ี มหรอื แมงดาจาน แมงดาหางกลมหรือแมงดาถว ย

ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda) คลาสอะแรคนิดา (Class Arachnida) แมงปอ ง แมงมมุ เห็บ ไร

ไฟลมั อารโ ทรโพดา (Phylum Arthropoda) มีสว นหัวและอกรวมกนั (cephalothorax) มรี ยางค 6 คู คู 1 และ 2 จบั อาหารและรับสมั ผสั ขาเดนิ 4 คู

“แมงมมุ ”

“แมงปอ ง”

ไฟลมั อารโ ทรโพดา (Phylum Arthropoda) คลาสไดโพลโพดา (Class Diplopoda) กง้ิ กือ (millipede) ตะเขบ็ ลาํ ตวั มีปลอ งจาํ นวนมาก มีรยางคปลอ งละ 2 คู บริเวณหัวมหี นวด 1 คู

ไฟลมั อารโทรโพดา (Phylum Arthropoda) คลาสชิโลโพดา (Class Chilopoda) ตะขาบ (centipede) ลาํ ตวั แบน มรี ยางคปลองละ 1 คู บรเิ วณหวั มหี นวด 1 คู ปลองแรกของลําตวั มเี ขี้ยวพษิ 1 คแู นบกับสวนหัว

ไฟลมั อารโ ทรโพดา (Phylum Arthropoda) คลาสอนิ เซ็คตา (Class Insecta) แมลงชนดิ ตาง ๆ มีลาํ ตัว 3 สวน คือ สวนหวั (head) สว นอก (thorax) และสวนทอ ง (abdomen) มปี ก 1-2 คู มหี นวด 1 คู มีขา 3 คู อยบู รเิ วณอก

แมลงมที างเดินอาหาร 3 สวน คอื สวนตน (foregut) สว นกลาง (midgut) และสว นทาย (hindgut) สรางเอนไซมยอย อาหารและชว ยดูดซึม ขบั ถายของเสีย สารอาหาร

การกําจัดแมลงทเี่ ปนศตั รูพืช ตวั เบียน (parasite) ตวั ห้าํ (predator) แมลงที่เบียดเบียนเหยื่อ จนกระท่ังเหยื่อตาย แมลงที่กินแมลงชนิดอื่น ๆ เปนอาหาร การเปนตัวเบยี นจะเปน เฉพาะชวงตวั ออนเทานัน้ ทาํ ลายเหยือ่ ไดท ุกระยะในวัฏจกั รชวี ติ

การกาํ จดั แมลงท่เี ปนศตั รพู ชื เช้อื โรค (insect pathogens) เชน เชือ้ รา แบคทีเรีย ทีท่ ําใหแมลงตายได

ไฟลมั อารโ ทรโพดา (Phylum Arthropoda) คลาสครสั ตาเชีย (Class Crustacea) กุง ก้ัง ปู ไรน้ํา

คลาสครสั ตาเชีย (Class Crustacea) มีรยางคจาํ นวนมากทาํ หนาท่ีพเิ ศษหลายอยา ง รยางคส วนอก มีหนวด 2 คู รยางคส ว นทอง ขับถายผานทาง green gland

บรรพบรุ ษุ ของสัตว ไมมเี นอื้ เยอ่ื แทจริง มีเน้อื เยอื่ แทจ ริง สมมาตรตามรัศมี สมมาตรดา นขาง (radial symmetry) (bilateral symmetry) ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย ชอ งปากแบบดิวเทอโรสโทเมยี (protostomia) (deuterostomia) ตวั ออ นแบบโทรโคฟอร ตวั ออ นมกี ารลอกคราบ (trochophore) (ecdysozoa) พอรเิ ฟอรา ไนดาเรีย นีมาโทดา อารโ ทรโพดา (Porifera) (Cnidaria) (Nematoda) (Arthropoda) แพลทีเฮลมินทสิ มอลลัสคา แอนเนลดิ า เอไคโนเดอรมาตา คอรด าตา (Platyhelminthes) (Mollusca) (Annelida) (Echinodermata) (Chordata)

ไฟลมั เอไคโนเดอรม าตา (Phylum Echinodermata) ดาวทะเล ปลงิ ทะเล พลับพลงึ ทะเล ดาวขนนก ดาวมงกฎุ หนาม

ไฟลมั เอไคโนเดอรม าตา (Phylum Echinodermata)

ไฟลมั เอไคโนเดอรม าตา (Phylum Echinodermata) พบในทะเลทง้ั หมด เปน สัตวท่ีมโี ครงรางแข็ง ผวิ ชน้ั นอกบางเปน ชน้ั คิวทนิ ผวิ ชนั้ นอกบางเปน ช้ันควิ ทิน ผวิ ชน้ั ในผนังหนาประกอบไปดว ยแผน แคลเซยี มคารบอเนตหุม โครงรา งแข็ง

ไฟลมั เอไคโนเดอรม าตา (Phylum Echinodermata) สว นใหญล าํ ตวั เปนแฉก บางชนิดผวิ ลาํ ตัวมีหนามยื่นออกมา

ไฟลัมเอไคโนเดอรม าตา (Phylum Echinodermata) มีระบบนํ้า ซ่ึงมีความสําคัญ เก่ียวของกับการเคล่ือนท่ี การลําเลียงสารอาหารและ ของเสียไปยังสวนตาง ๆ ของรา งกาย มกี ารแลกเปลีย่ นแกสผานเหงอื ก ทีอ่ ยบู ริเวณผวิ (dermal papillae)

ไฟลมั เอไคโนเดอรม าตา (Phylum Echinodermata) Tube feet โครงสรา งทีใ่ ชในการเคลอื่ นที่

ไฟลมั เอไคโนเดอรม าตา (Phylum Echinodermata) การสบื พนั ธแุ บบไมอ าศัยเพศโดยการงอกใหม (regeneration)

ไฟลมั เอไคโนเดอรม าตา (Phylum Echinodermata) การสืบพันธแุ บบอาศัยเพศสว นใหญม กี ารแยกเพศและปฏิสนธภิ ายนอก รา งกาย ตวั ออ นมสี มมาตรดา นขาง เปลี่ยนแปลงรูปราง ตวั เต็มวยั มีสมมาตรแบบรศั มี

ไฟลมั เอไคโนเดอรม าตา (Phylum Echinodermata)

ไฟลมั คอรดาตา (Phylum Chordata) ลักษณะสําคัญท่พี บในวฏั จักรชีวติ ในระยะเอม็ บรโิ อ มดี งั น้ี 1. การมีโนโตคอรด (notochord) ลักษณะเปนแทงยาวตลอดความยาวของลําตัว มีความยืดหยุนตัวดี อยูระหวางทางเดินอาหาร และทอประสาท เปนลักษณะที่พบในระยะ เอ็มบริโอของสัตวในไฟลัมคอรดาตาทุกชนิด และในบางชนิดยังพบในระยะตัวเต็มวัย เชน แอมฟออกซสั (amphioxus) และปลาปากกลม

ไฟลมั คอรด าตา (Phylum Chordata) ลักษณะสาํ คญั ที่พบในวัฏจกั รชีวติ ในระยะเอม็ บริโอ มีดังน้ี 2. การมีเสน ประสาทกลวงดา นหลัง (dorsal hollow nerve cord) เสนประสาทกลวงดานหลังเจริญมาจาก เน้ือเย่ือช้ัน ectoderm พบบริเวณดานหลัง เหนือโนโตคอรดในระยะเอ็มบริโอ ซ่ึงจะ พัฒนาตอไปเปนสมองและไขสันหลังใน ระยะตัวเต็มวัย

ไฟลัมคอรดาตา (Phylum Chordata) ลกั ษณะสาํ คัญทพ่ี บในวัฏจกั รชวี ิตในระยะเอ็มบริโอ มดี ังน้ี 3. การมีชองเหงอื กอยูบรเิ วณคอหอย (pharyngeal slit) โดยอยูเปนคู ๆ ทําหนาที่กรองน้ําที่ไหลผานเขามา และมกี ารปรับเปลี่ยนไปทาํ หนาท่ีอื่น ๆ ในระยะตัวเต็ม วัย เชน เปนทอยูสเตเชียน ตอมทอนซิล ตอมไทรอยด และพาราไทรอยดใน คน แต ในสัตว บางชนิ ด เชน ฉลาม กระเบน จะยังมชี อ งเหงอื กอยูตลอดชวี ิต

ไฟลมั คอรด าตา (Phylum Chordata) ลกั ษณะสาํ คัญที่พบในวฏั จกั รชวี ิตในระยะเอ็มบริโอ มีดังนี้ 4. การมหี าง (Postanal tail) เปนสวนที่อยูถัดจากทวารหนักบริเวณดาน ทายลําตัว โดยมีองคประกอบเปนกลามเน้ือ สวนของหางอาจลดรูปไปเหลือเพียงกระดูก ขนาดเลก็ เชน กระดูกกนกบของมนษุ ย

ไฟลมั คอรดาตา (Phylum Chordata) ลักษณะสาํ คญั ที่พบในวฏั จักรชวี ติ ในระยะเอ็มบริโอ มดี ังนี้ 5. การมี endostyle ทาํ หนาท่ีในการสะสมไอโอดนี

ไฟลมั คอรด าตา (Phylum Chordata) สตั วในไฟลมั คอรด าตาแบง ออกเปน 2 กลมุ คือ สัตวทไี่ มม ีกระดกู สนั หลังและสตั วท ี่มกี ระดูกสันหลงั สัตวใ นไฟลมั คอรด าตาทไี่ มม กี ระดูกสนั หลัง : ไมมโี ครงสรางแข็งคํ้าจนุ ภายในรา งกาย ยโู รคอรเดต (Urochordate) เ ป น สั ต ว ท่ี มี ถุ ง หุ ม ลํ า ตั ว ประกอบดวยสารคลายเซลลูโลส ตัวเต็มวัยไมมีโนโทคอรด ไมมีเสน ใยประสาทขนาดใหญ บริเวณหลัง และหางจะหดหายไปในระยะตัว เตม็ วัย เชน เพรียงหัวหอม โครงสรา งตัวเต็มวยั โครงสรางตวั ออ น

ไฟลมั คอรด าตา (Phylum Chordata) สตั วในไฟลมั คอรดาตาท่ีไมมกี ระดกู สันหลัง เซฟาโลคอรเ ดต (Cephalochordate) เ ป น สั ต ว ที่ ร ะ ย ะ ตั ว เ ต็ ม วั ย มี ท อ ป ร ะ ส า ท ข น า ด ใ ห ญ ที่ บ ริ เ ว ณ ห ลั ง มโี นโทคอรด ยาวตลอดลําตัวและมีตลอดชีวิต มีชองเหงือกและหาง ไดแก แอมฟออกซัส (Amphioxus) ซึง่ มีขนาดเล็กอยูในนาํ้ ต้ืนชายฝง ทะเล

สตั วใ นไฟลมั คอรดาตาทมี่ ีกระดกู สันหลัง (vertebrate) แบงเปน 2 กลมุ คือ สัตวม ีกระดกู สนั หลังทไี่ มม ีขากรรไกรและสตั วมกี ระดูกสนั หลงั ทมี่ ีขากรรไกร สัตวม กี ระดูกสนั หลังทไ่ี มม ีขากรรไกร ไดแ ก ปลาไมมีขากรรไกร สวนใหญจ ะสญู พนั ธไุ ปแลว ท่พี บในปจ จุบัน คือปลาปากกลม ไดแก แฮกฟช (hagfish) เปนปรสิตภายนอกของปลาหลายชนิด และแลมเพรย (lamprey) มีรูปรางคลายปลาไหล มโี ครงรา งเปนกระดกู ออนและไมม คี รบี คเู หมอื นปลาท่วั ไป hagfish lamprey

สตั วมีกระดูกสันหลังทม่ี ขี ากรรไกร กําเนดิ ข้นึ เม่ือประมาณ450-425 ลา นปทผ่ี า นมา ปลายยุคซิลเู รียนและตน ยคุ ดโี วเนยี น ปลามขี ากรรไกรทพ่ี บในปจ จุบันมี 2 กลมุ คือ ปลากระดกู ออนและปลากระดูกแข็ง คลาสคอนดริคไทอสิ (Class Chondrichthyes) เรยี กสัตวคลาสนีว้ า “ปลากระดกู ออ น” มโี ครงรางเปนกระดูกออนทย่ี ืดหยุนตวั ดี มขี ากรรไกรและครบี คูทเ่ี จรญิ ดี เชน ฉลาม กระเบน มเี กลด็ คมปกคลมุ ผิวหนัง แลกเปลย่ี นกา ซโดยใชเหงือกภายนอก มกี ารปฏสิ นธิภายในและออกลูกเปน ตัว

สัตวม กี ระดูกสันหลังทีม่ ีขากรรไกร คลาสออสติอิคไทอสิ (Class Osteicthyes) เรียกสัตวคลาสนี้วา “ปลากระดูกแขง็ ” พบดาํ รงชีวติ ท้งั ในนํ้าจืดและนํ้าเค็ม มโี ครงรางภายในเปนกระดกู แขง็ ท่ีมีสารประกอบแคลเซยี มฟอสเฟต สวนใหญผ ิวหนังมีเกล็ดปกคลุม มีครีบคู 2 คู คือ ครบี อกและครบี สะโพก หายใจโดยใชเหงือกโดยมีแผน ปด เหงอื ก (operculum) มถี ุงลม (air bladder) ชว ยควบคุมการลอยตวั ในนา้ํ สว นใหญม ีการปฏสิ นธภิ ายนอก

สัตวม ีกระดกู สนั หลังทีม่ ีขากรรไกร คลาสออสติอิคไทอิส (Class Osteicthyes) ปลากระดกู แขง็ สว นใหญในปจจบุ ันดํารงชีวิตในนาํ้ โดยอาศัยแกสออกซิเจนทล่ี ะลายในน้าํ แตม ีปลา กระดูกแขง็ 2 กลุมคือ ปลาทีม่ คี รบี เนือ้ และปลาปอด ท่สี ามารถหายใจจากอากาศไดในชวงเวลาส้ันๆ ปลาท้งั 2 นเี้ ปน ทส่ี นับสนนุ การเกดิ วิวัฒนาการเพื่อมาดํารงชีวติ บนพนื้ ดิน โดยพัฒนาถุงลมมาเปน ปอด และครบี อกพัฒนาเปน ขาในสัตวบ ก ปลาปอด ปลาที่มีครบี เนือ้ (ปลา coelacanth)

สัตวม ีกระดูกสันหลงั ที่มขี ากรรไกร คลาสแอมฟเ บีย (Class Amphibia) เรียกสัตวในคลาสนีว้ า “สตั วส ะเทนิ นา้ํ สะเทนิ บก (amphibain)” แบง เปน 3 กลุม คอื กลุม ซาลามานเดอร กลุมกบ และกลมุ งดู นิ เปนสัตวเ ลือดเย็นมีผิวหนงั เปย กชน้ื ทาํ หนา ที่แลกเปลี่ยนแกส ไมมเี กลด็ ปกคลมุ มกี ารปฏสิ นธภิ ายนอก ตวั ออนอาศัยอยูใ นน้ําและหายใจดวยเหงือกภายนอก เมอ่ื เจริญเปน ตัวเตม็ วัยจะดาํ รงชีวิตบนบกและใชป อดหายใจ ยกเวนซาลามานเดอรบ างชนดิ ที่อาศัยอยูในนํา้ ตลอดชวี ติ

สัตวม กี ระดูกสนั หลังที่มีขากรรไกร คลาสแอมฟเ บีย (Class Amphibia)

สัตวมีกระดกู สนั หลังทมี่ ขี ากรรไกร คลาสเรปทิเลยี (Class Reptilia) เรียกสตั วใ นคลาสน้วี า “สตั วเ ล้อื ยคลาน (reptile)” เปน สัตวมีกระดกู สนั หลังกลุมแรกทดี่ ํารงชีวติ บนบกอยา งแทจรงิ มผี วิ หนงั ท่ีปกคลมุ ดว ยเคราติน (keratin) มีการหายใจโดยใชป อด มกี ารปฎสิ นธิภายในรางกายเพศเมยี แลว สรางเปลอื กมาหอหมุ ไขแ ละวางไขภายนอก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook