Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทสรุปสมาร์ทฟาร์มและสมาร์ทฟาร์มเมอร์

บทสรุปสมาร์ทฟาร์มและสมาร์ทฟาร์มเมอร์

Published by ปัญญา ภู่ขวัญ, 2021-07-04 02:09:59

Description: บทสรุปสมาร์ทฟาร์มและสมาร์ทฟาร์มเมอร์

Search

Read the Text Version

บทสรปุ สมาร์ทฟารม์ และสมารท์ ฟารม์ เมอร์ สมารท์ ฟารม์ (Smart farm) เป็นนวัตกรรมที่เกิดจากแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดช (พระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย) เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุนให้เกษตรกรและ ผู้ประกอบการใช้นวัตกรรมด้านการเกษตรมากขึ้น เพื่อนาไปสู่การเพิ่มผลผลิตและพัฒนาภาค การเกษตรใหย้ ัง่ ยืนในอนาคต โดยรายละเอียดที่น่าสนใจเก่ียวกบั สมารท์ ฟาร์ม มดี งั นี้ สมาร์ฟาร์ม หรือ เกษตรอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการทาเกษตรแบบใหม่ที่จะทาให้การทาไร่ ทานามีภูมิคุ้มกันต่อสภาพภูมิอากาศที่เปล่ียนแปลงไป โดยการนาข้อมูลของภูมิอากาศทั้งใน ระดับพื้นท่ีย่อย (Microclimate) ระดับไร่ (Mesoclimate) และระดับมหภาค (Macroclimate) มา ใช้ในการบริหารจัดการ ดูแลพื้นท่ีเพาะปลูก เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพอากาศท่ีเกิดขึ้น รวมถึง การเตรียมพรอ้ มรับมือกับสภาพอากาศท่ีจะเปล่ียนแปลงไปในอนาคต โดยได้รับการขนานนาม วา่ เกษตรกรรมความแมน่ ยาสูง หรือ เกษตรแม่นยาสูง (Precision Agriculture) ซ่ึงเป็นที่นิยมกัน มากในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเร่ิมแพร่หลายเข้าไปในหลายประเทศ ท้ังยุโรป ญ่ปี ุ่น มาเลเซีย และอนิ เดีย แนวคิดหลักของสมาร์ทฟารม์ คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ในการพัฒนาท้ังห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ของกระบวนการ ผลิตสินค้าเกษตรไปจนถึงผู้บริโภค เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิต ลดต้นทุน รวมทั้งพัฒนา มาตรฐานสินค้า สมาร์ทฟาร์มเป็นความพยายามยกระดับการพัฒนาเกษตรกรรม 4 ด้านที่สาคัญ ไดแ้ ก่ (1) การลดต้นทนุ ในกระบวนการผลิต (2) การเพ่ิมคณุ ภาพมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานสินค้า (3) การลดความเสี่ยงในภาคเกษตร ซึ่งเกิดจากการระบาดของศัตรูพืชและจากภัย ธรรมชาติ (4) การจดั การและส่งผา่ นความรู้ โดยนาเทคโนโลยีสารสนเทศจากการวิจยั ไปประยุกต์สู่ การพัฒนาในทางปฏิบัติ และให้ความสาคัญต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของเกษตรกร ซึ่งเทคโนโลยที นี่ ามาใช้ในการทาสมารท์ ฟาร์ม ได้แก่

2  Global Positioning System (GPS) เป็นเทคโนโลยีในการระบุพิกัด หรือตาแหน่งบนพ้ืนผิวโลก โดยใช้กลุ่มของดาวเทียมจานวน 24 ดวง ซึ่งโคจรรอบโลกในวงโคจร 6 วง ท่ีความสูง 20,200 กโิ ลเมตรเหนอื พ้ืนโลก  Geographic Information System (GIS) เป็นเทคโนโลยีในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเชิง พื้นที่ แล้วนามาแสดงผลในรูปแบบต่างๆ สามารถเก็บข้อมูลได้หลากหลายมิติ ซึ่งระบบ GIS ท่ี รูจ้ กั กนั ดีคอื Google Earth  Remote Sensing หรอื เทคโนโลยกี ารรบั ร้รู ะยะไกล เปน็ เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการเกบ็  ข้อมูลพ้ืนท่ี โดยอาศัยคลื่นแสงในช่วงความยาวคล่ืนต่างๆ และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น เรดาห์ ไมโครเวฟ วทิ ยุ เปน็ ต้น อปุ กรณร์ ับรู้เหลา่ นีม้ ักจะตดิ ตงั้ บนอากาศยาน หรอื ดาวเทียม  Proximal Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรู้ระยะใกล้ อาศัยเซ็นเซอร์วัดข้อมูลต่าง ๆ ได้โดยตรง ในจุดที่สนใจ เช่น เซ็นเซอร์ตรวจอากาศ (Weather Station) เซ็นเซอร์วัดดิน (Soil Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจโรคพืช (Plant Disease Sensor) เซ็นเซอร์ตรวจวัดผลผลิต (Yield Monitoring Sensor) เป็นต้น เซ็นเซอร์เหล่าน้ีสามารถนามาวางเป็นระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Sensor Network) โดยนาไปติดต้ังหรือปล่อยในพื้นท่ีไร่นา เพื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ ความช้ืนในดิน อณุ หภูมิ ปริมาณแสง และสารเคมี  Variable Rate Technology (VRT) หรือเทคโนโลยีการให้ปุ๋ยน้า ยาฆ่าแมลง ตามสภาพ ความ แตกต่างของพ้นื ที่ โดยมักจะใช้ร่วมกบั เทคโนโลยี GPS  Crop Models and Decision Support System (DSS) เป็นเทคโนโลยีท่ีบูรณาการเทคโนโลยี ท้ังหมดที่กล่าวมาข้างต้นเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อใช้ในการตัดสินใจว่าจะทาอะไรกับฟาร์ม เม่ือไร อย่างไร รวมถึงยังสามารถทานายผลผลติ ไดด้ ้วย Smart Farm จะทาให้เกษตรกรกลายมาเป็นอาชีพท่ีมีความสุขท่ีสุดในโลก ท่ีซ่ึงเกษตรกรรม เทคโนโลยี และ สิง่ แวดล้อม จะอาศยั และอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งกลมกลนื และพอเพยี ง Precision Farming ได้รับการนิยาม และต้ังความหมายต่างๆ กันไป แม้แต่ชื่อก็ยังถูกเรียกได้ หลายชื่อ ตามแตจ่ ะเนน้ เทคโนโลยหี ลกั ตวั ไหน เชน่ Precision Farming (การทาฟาร์มดว้ ยความแม่นยาสงู ) Information-Intensive Agriculture (เกษตรทีเ่ น้นการใช้สารสนเทศ) Prescription Farming (การทาฟาร์มแบบมีสูตร)

3 Target Farming (การทาฟารม์ แบบมุง่ เป้า) Site Specific Crop Management (การจดั การผลผลิตแบบระบุพน้ื ท)ี่ Variable Rate Management (การใหป้ ยุ๋ ให้นา้ และจดั การพนื้ ทโี่ ดยปรับตามความเหมาะสม) Variable Rate Technology –VRT (เทคโนโลยจี ดั การพ้นื ทีโ่ ดยปรบั ตามความเหมาะสม) Farming by Soil (การทาฟาร์มโดยเน้นคณุ สมบตั ขิ องดินในแตล่ ะพน้ื ทยี่ ่อย) Grid Soil Sampling Agriculture, Grid Farming Global Positioning Systems (GPS) Agriculture (การเกษตรท่ใี ชร้ ะบบพกิ ดั ) Farming by the Inch, Farming by the Foot (การทาฟาร์มที่มรี ายละเอยี ดระดับนว้ิ หรอื ฟุต) โครงการ ไร่อัจฉริยะ เปน็ การประยุกตแ์ ละใชง้ านเทคโนโลยี Precision Farming / Intelligent Farming / Smart Farm ในไร่ โครงการนี้เป็นการผสมผสาน เทคโนโลยีหลายๆ ชนิด เพื่อให้เจ้าของไร่ หรือ ผจู้ ดั การฟาร์ม สามารถเฝ้าติดตาม ความเป็นไปภายในไร่ จากอินเตอร์เน็ต และ โทรศัพท์มือถือ โดยอาศัยเทคโนโลยี Multi-functional and Multi-dimensional Sensors เชน่  เซ็นเซอรต์ รวจวดั สภาพภูมิอากาศ จะตรวจสภาพอุณหภูมิ และความช้ืนในอากาศ ความเร็วและ ทิศทางลม ปริมาณน้าฝน พลังงานแสงอาฑิตย์ท่ีตกกระทบ ความเคล่ือนไหวของมวลอากาศใน ไร่  เซ็นเซอร์ดินจะตรวจอุณหภูมิ และความช้ืนในดิน กล้องวิดีโออะเรย์ จะรายงานกิจกรรมและ ความเป็นไปในไร่  จมูกอิเล็กทรอนิกส์ จะตรวจสภาพทางเคมีของดิน ติดตามคุณภาพขององุ่น และไวน์ที่ผลิต ออกมา รวมทงั้ การวจิ ยั และพฒั นารสชาติของไวนร์ ่วมกับนักชมิ ไวน์  เทคโนโลยี Machine Vision จะตรวจสอบความเป็นไปของต้นพืช สภาพผลผลิต รวมไปถึงการ ตรวจวดั แมลงและศตั รูพชื  เซ็นเซอร์ตรวจวัดพืช จะตรวจวัดการเติบโตของต้นพืช การออกดอก การออกลูก กิจกรรมของ ใบพืช สุขภาพของต้นพืช เทคโนโลยีเรดาห์จะตรวจสอบ ทาแผนที่สภาพดิน และลักษณะการ เติบโตของรากในไร่ รวมไปถงึ การนาไมโครชิพ และ GPS มาใชต้ ิดตามกิจกรรมในไร่

4 ข้อมูลต่างๆ ที่กล่าวมาทั้งหมด จะถูกรวบรวมและแสดงผลอย่าง Real Time และนาออกมาให้ เจ้าของไร่ได้รับรู้ ผ่านซอฟต์แวร์ช่วยตัดสินใจ ที่บูรณาการข้อมูลภูมิสารสนเทศ และ อุตุนิยมวทิ ยาทั้งระดบั ไรแ่ ละระดบั ภมู ภิ าค คณุ สมบตั พิ น้ื ฐานของ Smart farmer มี 6 ประการ คอื ประการท่ี 1 เป็นผู้มีความรู้ในเร่ืองที่ทาอยู่ สามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดเทคโนโลยี ทางการเกษตร หรอื ใหค้ าแนะนาปรึกษากับผู้อืน่ ที่สนใจในเรอ่ื งทที่ าอยู่ได้ ประการท่ี 2 มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลทั้งจากเจ้าหน้าที่ ของรัฐ และผ่านทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอ่ืนๆ เช่น Internet, Mobile smart phone เป็นตน้ ประการท่ี 3 มีการบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด มีความสามารถในการบริหาร จัดการปัจจัยการผลิต แรงงาน และทุน สามารถเช่ือมโยงการผลิตและการตลาดเพื่อให้ขาย ผลผลิตได้ ตลอดจนสามารถจัดการของเหลือจากการผลิตที่มีประสิทธิภาพ (Zero waste management) ประการท่ี 4 เป็นผู้มีความตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค มี ความรู้หรอื ไดร้ ับการอบรมเก่ยี วกับมาตรฐาน GAP/GMP เกษตรอินทรีย์ หรอื มาตรฐานอื่นๆ ประการท่ี 5 มีความรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อม/สังคม มีกระบวนการผลิตท่ีไม่ก่อให้เกิด มลภาวะและไมท่ าลายส่งิ แวดล้อม (Green economy) มีกิจกรรมช่วยเหลือชุมชนและสังคมอย่าง ต่อเนือ่ ง ประการท่ี 6 มีความภูมิใจในความเป็นเกษตรกร มีความมุ่งมั่นในการประกอบอาชีพ การเกษตร รักและหวงแหนพ้ืนท่ีและอาชีพทางการเกษตรไว้ให้คนรุ่นต่อไป มีความสุขและพึง พอใจในการประกอบอาชพี การเกษตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook