Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.กฎหมายและจริยธรรมในการใช้สารสนเทศทาง

1.กฎหมายและจริยธรรมในการใช้สารสนเทศทาง

Published by ปัญญา ภู่ขวัญ, 2021-07-24 15:02:01

Description: 1.กฎหมายและจริยธรรมในการใช้สารสนเทศทาง

Search

Read the Text Version

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร โดย อาจารยป์ ัญญา ภขู่ วญั ครู ชานาญการพเิ ศษ คณุ วฒุ กิ ารศกึ ษา กษ.ม. (สง่ เสรมิ การเกษตร) สส.บ. (สง่ เสรมิ การเกษตร) ศษ.บ. (การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น)

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 1. ความหมายของจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ “จรยิ ธรรม”หรอื “จรยิ ศาสตร”์ มาจากคาในภาษาองั กฤษ คาเดยี วกนั คอื คาวา่ “ethics” จรยิ ศาสตร ์แปลวา่ ปรชั ญาสาขาหนึ่งวา่ ดว้ ยการแสวงหา ความดสี งู สดุ ของชวี ติ มนุษย ์ เป็ นกฎเกณฑใ์ นการตดั สนิ ความประพฤตขิ องมนุษย ์ และพจิ ารณาปัญหาเรอื่ ง สถานภาพของคณุ คา่ ทางศลี ธรรม

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 1. ความหมายของจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ จรยิ ธรรม มคี วามหมายวา่ ธรรมทเี่ ป็ นขอ้ ปฏบิ ตั ิ ศลี ธรรม กฎศลี ธรรม จรยิ ธรรม หรอื จรยิ ศาสตร ์เป็ นคาทมี่ คี วามหมาย หลากหลายไปตามทรรศนะของนักวชิ าการและนักวชิ าชพี สอื่ สารมวลชน พอประมวลไดด้ งั นี้

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 1. ความหมายของจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ -อทุ ยั ทองพูน (2528, หนา้ 76) จรยิ ธรรม หมายถงึ ขอ้ กาหนด ทบี่ คุ คลในอาชพี ตา่ งๆ พงึ ปฏบิ ตั ิ -สภุ า ศิรมิ านนท ์ (2530) อธบิ ายความหมายของ จรยิ ธรรมวา่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ อยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 1. ความหมายของจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ -วทิ ย ์ เทยี่ งบรู ณธรรม (2532, หนา้ 14) จรยิ ธรรม มี ความหมายวา่ ศาสตรท์ วี่ า่ ดว้ ยความประพฤตทิ คี่ วรหรอื มคิ วร -สมควร กวยี ะ (2547, หนา้ 882) จรยิ ธรรม หมายถงึ ธรรม ทคี่ วรปฏบิ ตั ิ ความดี ความงามทคี่ วรปฏบิ ตั ิ ขอ้ กาหนดทตี่ อ้ งยดึ ถอื ของการทาความดภี ายในกรอบของ ศลี ธรรม

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 1. ความหมายของจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ - รชิ ารด์ โจฮนั เนเซน (Richard Johannesen) จรยิ ธรรม หมายถงึ ระดบั ความถกู ตอ้ งและความผดิ ของพฤตกิ รรม มนุษย ์ (Johannesen, 1996, p. 298) -คาเรน แซนเดอรส์ (Karen Sanders)“จรยิ ธรรม คอื แบบ แผนในการตดั สนิ และประเมนิ คณุ คา่ ความดคี วามเลว เป็ น หลกั การ มาตรฐานทใี่ ชพ้ นิ ิจความถกู ผดิ ของพฤตกิ รรม มนุษย”์

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 1. ความหมายของจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ สรปุ ไดว้ า่ จรยิ ธรรม หมายถงึ ความเชอื่ คา่ นิยม และ หลกั ศลี ธรรมซงึ่ แตล่ ะสงั คมกาหนดขนึ้ เพอื่ ใชใ้ นการตดั สนิ วา่ สงิ่ ใดถกู สงิ่ ใดผดิ และ สงิ่ ใดควร ทาสงิ่ ใดไม่ควรทา และอาจหมายรวมถงึ แนวทางการ ปฏบิ ตั ทิ คี่ วรยดึ ถอื ของบุคคล ในอาชพี ตา่ ง ๆ

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 1. ความหมายของจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ จรรยาบรรณการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศหมายถงึ หลกั ศลี ธรรมจรรยาทกี่ าหนดขนึ้ เพอื่ ใชเ้ ป็ นแนวทางปฏบิ ตั ิ หรอื ควบคมุ การใชร้ ะบบคอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศทาใหก้ ารใช ้ อนิ เทอรเ์น็ตเป็ นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย ไม่เกดิ ปัญหาการละเมดิ ลขิ สทิ ธิ ์ อาชญากรรม การขโมยผลงานของคนอนื่ การมคี วาม เป็ นสว่ นตวั และการใชง้ านอนิ เทอรเ์น็ตไม่สรา้ งความราคาญหรอื รบกวนคนอนื่ เป็ นตน้ ทาใหส้ งั คมเป็ นสขุ

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 2. ความหมายของจรรยาบรรณ -คาวา่ “จรรยาบรรณ (codes of ethics)” หมายถงึ ประมวลความประพฤตทิ ผี่ ูป้ ระกอบอาชพี การงานแตล่ ะอยา่ งกาหนดขนึ้ เพอื่ รกั ษาและสง่ เสรมิ เกยี รตคิ ณุ ชอื่ เสยี งและฐานะของสมาชกิ อาจเขยี น เป็ นลายลกั ษณอ์ กั ษรหรอื ไมก่ ไ็ ด ้

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 2. ความหมายของจรรยาบรรณ -อทุ ยั ทองพูน (2528,หนา้ 76) จรรยาบรรณคอื ขอ้ บงั คบั ดา้ นคณุ ธรรมหรอื จรยิ ธรรมซงึ่ บคุ คลใน สถานะและอาชพี ตา่ ง ๆ พงึ ตระหนักและปฏบิ ตั ิ ให ้ เป็ นไปในแนวทางทจี่ ะอานวยประโยชนส์ ขุ ทงั้ แก่ ตนเองและผูอ้ นื่ ในสงั คม

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 2. ความหมายของจรรยาบรรณ -วริ ชั ลภริ ตั นกลุ (2542, หนา้ 185) จรรยาบรรณ หมายถงึ กฎเกณฑห์ รอื ขอ้ บงั คบั ในการปฏบิ ตั ทิ ใี่ ชค้ วบคมุ บคุ คลหรอื ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ซงึ่ กาหนดขนึ้ เพอื่ เป็ น มาตรฐานในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ นการประกอบวชิ าชพี นั้น ๆ -เสฐยี ร พนั ธรงั ษี (2547, หนา้ 955) อธบิ ายวา่ มาจาก คาภาษาไทยสองคา คอื “จรรยา” และ “บรรณ” ซงึ่ รวม ความแลว้ หมายถงึ “หนังสอื วา่ ดว้ ยเรอื่ งความประพฤต”ิ

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 2. ความหมายของจรรยาบรรณ สรปุ ไดว้ า่ จรรยาบรรณ จงึ หมายถงึ หลกั จรยิ ธรรม ประมวลความ-ประพฤติ หรอื แนวทางการประพฤติ ปฏบิ ตั ซิ งึ่ กลมุ่ คนในวชิ าชพี ตา่ ง ๆ กาหนดขนึ้ เพอื่ รกั ษา และสง่ เสรมิ เกยี รตคิ ณุ และฐานะของสมาชกิ ใน วชิ าชพี น้ัน ทง้ั นีอ้ าจเขยี นเป็ นลายลกั ษณอ์ กั ษร หรอื ไมก่ ็ได ้

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 3. จรยิ ธรรมในการพูด -3.1 การกาหนดวตั ถปุ ระสงคห์ รอื เป้ าหมาย และใชว้ ธิ กี ารพูดทดี่ ี -3.2 มคี วามซอื่ ตรงตอ่ ผูฟ้ ัง -3.3 มคี วามรบั ผดิ ชอบผลทเี่ กดิ จากการสอื่ สาร -3.4 มคี วามจรงิ ใจและความปรารถนาดตี อ่ ผูฟ้ ัง -3.5 หลกี เลยี่ งการใชถ้ อ้ ยคาตอ้ งหา้ ม คาทไี่ ม่เหมาะสม คาทไี่ ม่ สภุ าพ

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 4.จรยิ ธรรมพนื้ ฐานในการสอื่ สารระหวา่ งบคุ คล 4.1 ความน่าเชอื่ ถอื ไวว้ างใจและความซอื่ สตั ย ์ หมายถงึ การละเวน้ การโกหก การฉอ้ โกง การขโมย หรอื การหลอกลวง 4.2 การยดึ ม่นั ในคา่ นิยมและพฤตกิ รรมทดี่ งี าม เชน่ การรกั ษา สญั ญา การขม่ ใจไม่ใหผ้ ลประโยชนอ์ ยเู่ หนือคณุ ธรรมความดี เป็ น ตน้ 4.3 ความเทยี่ งธรรมหรอื เทยี่ งตรง หมายถงึ การคดิ การพูด และ การกระทาทตี่ รงไปตรงมาปราศจากอคติ และอาศยั ขอ้ เท็จจรงิ เป็ น พนื้ ฐานสาคญั

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 4.จรยิ ธรรมพนื้ ฐานในการสอื่ สารระหวา่ งบุคคล 4.4 การใหเ้ กยี รตแิ ละเคารพความเป็ นมนุษยแ์ ละสทิ ธขิ องบคุ คลอนื่ โดยเทา่ เทยี มกนั 4.5 ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง บคุ คลอนื่ และสงั คม ดว้ ยการปฏบิ ตั ิ ตนและปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องตนอยา่ งดี และไม่สรา้ งความเดอื ดรอ้ น ราคาญ ความเสอื่ มเสยี ใหแ้ กบ่ ุคคลอนื่ และสงั คมโดยรวม

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 5. คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี นเทศ 1.ไม่ควรใหข้ อ้ มูลทเี่ ป็ นเท็จ 2.ไม่บดิ เบอื นความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ใหผ้ ูร้ บั คนตอ่ ไปได ้ ขอ้ มูลทไี่ ม่ถกู ตอ้ ง 3.ไม่ควรเขา้ ถงึ ขอ้ มูลของผูอ้ นื่ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต 4.ไม่ควรเปิ ดเผยขอ้ มูลกบั ผทู ้ ไี่ ม่ไดร้ บั อนุญาต

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 5. คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.ไม่ทาลายขอ้ มลู 6.ไม่เขา้ ควบคมุ ระบบบางสว่ น หรอื ทงั้ หมดโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต 7.ไม่ทาใหอ้ กี ฝ่ ายหนึ่งเขา้ ใจวา่ ตวั เองเป็ นอกี บคุ คลหนึ่ง ตวั อยา่ งเชน่ การปลอมอเี มลข์ องผูส้ ง่ เพอื่ ใหผ้ ูร้ บั เขา้ ใจผดิ เพอื่ การเขา้ ใจผดิ หรอื ตอ้ งการลว้ งความลบั

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 5. คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 8.การขดั ขวางการใหบ้ รกิ ารของเซริ ฟ์ เวอร ์ โดยการทาใหม้ กี ารใช ้ ทรพั ยากรของเซริ ฟ์ เวอรจ์ นหมด หรอื ถงึ ขดี จากดั ของมนั ตวั อย่างเชน่ เว็บ เซริ ฟ์ เวอร ์ หรอื อเี มลเ์ ซริ ฟ์ เวอร ์ การโจมตจี ะทาโดยการเปิ ดการเชอื่ มตอ่ กบั เซริ ฟ์ เวอรจ์ นถงึ ขดี จากดั ของเซริ ฟ์ เวอร ์ ทาใหผ้ ูใ้ ชค้ นอนื่ ๆไม่สามารถ เขา้ มาใชบ้ รกิ ารได ้ 9.ไม่ปลอ่ ย หรอื สรา้ งโปรแกรมประสงคร์ า้ ย (Malicious Program) ซงึ่ เรยี ก ยอ่ ๆวา่ (Malware) เป็ นโปรแกรมทถี่ กู สรา้ งขนึ้ มาเพอื่ ทาการ กอ่ กวน ทาลาย หรอื ทาความเสยี หายระบบคอมพวิ เตอร ์ เครอื ขา่ ย โปรแกรม ประสงคร์ า้ ยทแี่ พรห่ ลายในปัจจบุ นั คอื ไวรสั เวริ ม์ และมา้ โทรจนั

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 5. คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี นเทศ 10.ไม่กอ่ ความราคาญใหก้ บั ผูอ้ นื่ โดยวธิ กี ารตา่ งๆ เชน่ สแปม (Spam) (การสง่ อเี มลไปยงั ผูใ้ ชจ้ านวนมาก โดยมจี ดุ ประสงค ์ เพอื่ การโฆษณา) 11.ไม่ผลติ หรอื ใชส้ ปายแวร ์(Spyware) โดยสปายแวรจ์ ะใช ้ ชอ่ งทางการเชอื่ มตอ่ ทางอนิ เตอรเ์น็ตเพอื่ แอบสง่ ขอ้ มูลสว่ นตวั ของผูน้ ้ันไปใหก้ บั บคุ คลหรอื องคก์ รหนึ่งโดยทผี่ ูใ้ ชไ้ ม่ทราบ 12.ไม่สรา้ งหรอื ใชไ้ วรสั

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 6. จรรยาบรรณในการใชอ้ นิ เทอรเ์น็ต 1. ตอ้ งไม่ใชค้ อมพวิ เตอรท์ ารา้ ยหรอื ละเมดิ ผูอ้ นื่ 2. ตอ้ งไม่รบกวนการทางานของผูอ้ นื่ 3. ตอ้ งไม่สอดแนมหรอื แกไ้ ขเปิ ดดใู นแฟ้ มของผอู ้ นื่ 4. ตอ้ งไม่ใชค้ อมพวิ เตอรเ์พอื่ การโจรกรรมขอ้ มูลขา่ วสาร

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 6. จรรยาบรรณในการใชอ้ นิ เทอรเ์น็ต 5. ตอ้ งไม่ใชค้ อมพวิ เตอรส์ รา้ งหลกั ฐานทเี่ ป็ นเท็จ 6. ตอ้ งไม่คดั ลอกโปรแกรมผูอ้ นื่ ทมี่ ลี ขิ สทิ ธิ ์ 7. ตอ้ งไม่ละเมดิ การใชท้ รพั ยากรคอมพวิ เตอรโ์ ดยทตี่ นเอง ไม่มสี ทิ ธิ ์

กฎหมายและจรยิ ธรรมในการใชส้ ารสนเทศ ทางการเกษตร 6. จรรยาบรรณในการใชอ้ นิ เทอรเ์น็ต 8. ตอ้ งไม่นาเอาผลงานของผูอ้ นื่ มาเป็ นของตน 9. ตอ้ งคานึงถงึ สงิ่ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ กบั สงั คมอนั ตดิ ตามมาจากการกระทา 10.ตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กตกิ ามารยาท

กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Law) หรอื มกั เรยี กกนั วา่ กฎหมายไอที (IT Law) เสนอโดย กระทรวงวทิ ยาศาสตร ์เทคโนโลยี และ สงิ่ แวดลอ้ ม และ เห็นชอบใหค้ ณะกรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแหง่ ชาติ (National Information Technology Committee) หรอื ทเี่ รยี กโดยย่อวา่ คณะกรรมการไอทแี ห่งชาติ หรอื กทสช. (NITC)

กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ กฎหมายไอที (IT Law) 6 ฉบับ 1. กฎหมายเก่ียวกบั ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law) เพือ่ รับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ใหเ้ สมอข้อมลู ท่ี ทาในกระดาษ อันเป็นการรองรบั นติ สิ ัมพนั ธ์ต่าง ๆ

กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ กฎหมายไอที (IT Law) 6 ฉบับ 2. กฎหมายเกย่ี วกบั ลายมือชอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law) เพื่อรับรองการใช้ลายมอื ชอื่ อเิ ล็กทรอนกิ สด์ ว้ ยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้ เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา อนั สง่ ผลตอ่ ความเช่ือม่ันมากข้ึนในการทา ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายไอที (IT Law) 6 ฉบับ 3. กฎหมายเกย่ี วกับการพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานสารสนเทศใหท้ ว่ั ถึง และเท่าเทียมกนั (National Information Infrastructure Law) เพือ่ ก่อใหเ้ กิดการสง่ เสริม สนับสนนุ และพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานสารสนเทศ อัน ได้แกโ่ ครงขา่ ยโทรคมนาคม เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศทรพั ยากรมนุษย์ และโครงสร้างพน้ื ฐานสารสนเทศสาคัญอื่น ๆ

กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ กฎหมายไอที (IT Law) 6 ฉบบั 4. กฎหมายเก่ยี วกับการคุ้มครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล (Data Protection Law) เพือ่ ก่อให้เกิดการรบั รองสิทธิ และให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบคุ คลซง่ึ อาจถกู ประมวลผลเปิดเผยหรือเผยแพร่ถงึ บคุ คลจานวนมากไดใ้ นระยะเวลาอันรวดเร็ว โดยอาศยั พฒั นาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อใหเ้ กิดการนาข้อมูลนน้ั ไปใชใ้ นทางมิ ชอบอันเปน็ การละเมิดตอ่ เจา้ ของข้อมลู

กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ กฎหมายไอที (IT Law) 6 ฉบบั 5. กฎหมายเก่ียวกบั การกระทาความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) เพ่อื กาหนดมาตรการทางอาญา ในการลงโทษผกู้ ระทาผิดต่อระบบการทางานของ คอมพวิ เตอรร์ ะบบขอ้ มูล และระบบเครอื ข่าย ทงั้ น้เี พอ่ื เปน็ หลกั ประกนั สทิ ธิ เสรภี าพ และการคุ้มครองการอยรู่ ่วมกันของสังคม

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายไอที (IT Law) 6 ฉบบั 6. กฎหมายเก่ียวกบั การโอนเงินทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Funds Transfer Law) เพือ่ กาหนดกลไกสาคัญทางกฎหมายในการรองรบั ระบบการโอนเงนิ ทาง อเิ ล็กทรอนิกส์ ท้ังท่เี ป็นการโอนเงนิ ระหวา่ งสถาบันการเงิน และ ระบบการชาระ เงนิ รปู แบบใหมใ่ นรปู ของเงนิ อเิ ลก็ ทรอนิกส์

พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการกระทาความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ -พระราชบัญญัติวา่ ด้วยการกระทาความผิดเกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 -พระราชบัญญตั วิ ่าด้วยการกระทาความผดิ เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560

พระราชบญั ญัตวิ า่ ดว้ ยการกระทาความผดิ เก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ สรุป 13 ขอ้ สาระสาคญั จาง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพ ์ 60 มผี ล บงั คบั ใชแ้ ลว้ 1. การฝากรา้ นใน Facebook, IG ถอื เป็ นสแปม ปรบั 200,000 บาท 2. สง่ SMS โฆษณา โดยไม่รบั ความยนิ ยอม ใหผ้ ูร้ บั สามารถปฏเิ สธขอ้ มูลน้ัน ได ้ ไม่เชน่ น้ันถอื เป็ นสแปม ปรบั 200,000 บาท 3. สง่ Email ขายของ ถอื เป็ นสแปม ปรบั 200,000 บาท

พระราชบญั ญัติวา่ ดว้ ยการกระทาความผิด เกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ สรุป 13 ขอ้ สาระสาคญั จาง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพ ์ 60 มผี ลบงั คบั ใชแ้ ลว้ 4. กด Like ไดไ้ ม่ผดิ พ.ร.บ.คอมพฯ์ ยกเวน้ การกดไลค ์ เป็ นเรอื่ งเกยี่ วกบั สถาบนั เสยี่ งเขา้ ขา่ ยความผดิ มาตรา 112 หรอื มคี วามผดิ รว่ ม 5. กด Share ถอื เป็ นการเผยแพร่ หากขอ้ มูลทแี่ ชรม์ ผี ลกระทบตอ่ ผูอ้ นื่ อาจ เขา้ ขา่ ยความผดิ ตาม พ.ร.บ.คอมพฯ์ โดยเฉพาะทกี่ ระทบตอ่ บคุ คลที่ 3 6. พบขอ้ มูลผดิ กฎหมายอยใู่ นระบบคอมพวิ เตอรข์ องเรา แตไ่ ม่ใชส่ งิ่ ทเี่ จา้ ของ คอมพวิ เตอรก์ ระทาเอง สามารถแจง้ ไปยงั หน่วยงานทรี่ บั ผดิ ชอบได ้ หากแจง้ แลว้ ลบขอ้ มลู ออกเจา้ ของก็จะไม่มคี วามผดิ ตามกฎหมาย เชน่ ความเห็นใน เว็บไซตต์ า่ ง ๆ รวมไปถงึ เฟซบกุ๊ ทใี่ หแ้ สดงความคดิ เห็น หากพบวา่ การแสดง ความเห็นผดิ กฎหมาย เมอื่ แจง้ ไปทหี่ น่วยงานทรี่ บั ผดิ ชอบเพอื่ ลบไดท้ นั ที เจา้ ของระบบเว็บไซตจ์ ะไม่มคี วามผดิ

พระราชบัญญตั วิ ่าดว้ ยการกระทาความผดิ เก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ สรุป 13 ขอ้ สาระสาคญั จาง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพ ์ 60 มผี ล บงั คบั ใชแ้ ลว้ 7.สาหรบั แอดมนิ เพจ ทเี่ ปิ ดใหม้ กี ารแสดงความเห็น เมอื่ พบ ขอ้ ความทผี่ ดิ พ.ร.บ.คอมพฯ์ เมอื่ ลบออกจากพนื้ ทที่ ตี่ นดแู ลแลว้ จะถอื เป็ นผูพ้ น้ ผดิ 8. ไม่โพสตส์ งิ่ ลามกอนาจาร ทที่ าใหเ้ กดิ การเผยแพรส่ ปู่ ระชาชนได ้ 9. การโพสเกยี่ วกบั เด็ก เยาวชน ตอ้ งปิ ดบงั ใบหนา้ ยกเวน้ เมอื่ เป็ น การเชดิ ชู ชนื่ ชม อยา่ งใหเ้ กยี รติ

พระราชบัญญัติวา่ ดว้ ยการกระทาความผดิ เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ สรุป 13 ขอ้ สาระสาคญั จาง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพ ์ 60 มผี ล บงั คบั ใชแ้ ลว้ 10. การใหข้ อ้ มูลเกยี่ วกบั ผูเ้ สยี ชวี ติ ตอ้ งไม่ทาใหเ้ กดิ ความเสอื่ มเสยี เชอื่ เสยี ง หรอื ถกู ดหู มนิ่ เกลยี ดชงั ญาตสิ ามารถฟ้ องรอ้ งไดต้ าม กฎหมาย 11. การโพสตด์ า่ วา่ ผูอ้ นื่ มกี ฏหมายอาญาอยแู่ ลว้ ไม่มขี อ้ มลู จรงิ หรอื ถกู ตดั ตอ่ ผูถ้ กู กลา่ วหา เอาผดิ ผูโ้ พสตไ์ ด ้ และมโี ทษจาคกุ ไม่ เกนิ 3 ปี ปรบั ไม่เกนิ 200,000 บาท

พระราชบัญญตั ิวา่ ด้วยการกระทาความผดิ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ สรุป 13 ขอ้ สาระสาคญั จาง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพ ์ 60 มผี ล บงั คบั ใชแ้ ลว้ 12. ไม่ทาการละเมดิ ลขิ สทิ ธผิ ์ ูใ้ ด ไม่วา่ ขอ้ ความ เพลง รปู ภาพ หรอื วดิ โี อ 13. สง่ รปู ภาพแชรข์ องผูอ้ นื่ เชน่ สวสั ดี อวยพร ไม่ผดิ ถา้ ไม่เอา ภาพไปใชใ้ นเชงิ พาณิชย ์ หารายได ้

สวสั ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook