Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3. จรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

3. จรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

Published by ปัญญา ภู่ขวัญ, 2021-07-24 15:06:07

Description: 3. จรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

1 กฎหมาย จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เอกสารอ่านคน้ คว้าเพิ่มเตมิ วชิ าการฝกึ อบรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการเกษตร

2 จรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายของจรรยาบรรณในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศหมายถงึ หลกั ศลี ธรรมจรรยาทก่ี าหนด ขน้ึ เพือใชเ้ ป็น แนวทางปฏิบตั ิ หรอื ควบคุมการใชร้ ะบบคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศ ความสาคัญ คอื จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศทาให้การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เป็นไป อยางสงบสุข ไมเกดิ ปญั หาการละเมดิ ลิขสิทธ์ิ อาชญากรรม การขโมยผลงานของคนอ่นื การ มีความเป็นสวนตัวและการใชง้ านอนิ เทอร์เนต็ ไมสร้างความราคาญหรือรบกวนคนอ่นื เปน็ ตน้ ทาใหส้ ังคมเปน็ สุข คณุ ธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึง กระบวนการตางๆ และระบบงานที่ชวยให้ ได้สารสนเทศหรือขาวสารทตี่ อ้ งการ โดยจะรวมถึง 1. เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ตางๆ หมายถึง เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ เครื่องใช้สานักงาน อปุ กรณ์ คมนาคมตางๆ รวมท้งั ซอฟต์แวร์ทง้ั ระบบสาเร็จรูปและพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะด้าน 2. กระบวนการในการนาอปุ กรณ์เครื่องมอื ตางๆ ขา้ งตน้ มาใช้งาน รวบรวมขอ้ มลู จดั เกบ็ ประมวลผล และแสดงผลลพั ธ์เปน็ สารสนเทศในรูปแบบตางๆ ท่สี ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ ตอไป ในปจั จุบนั การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับทกุ องคก์ ร การ เชื่อมโยงสารสนเทศผานทางคอมพิวเตอร์ ทาใหส้ ิ่งทม่ี ีคามากทสี่ ุดของระบบ คอื ขอ้ มูลและ สารสนเทศ อาจถกู จารกรรม ถูกปรบั เปลย่ี น ถกู เข้าถงึ โดยเจา้ ของไมรตู้ วั ถกู ปดิ กนั้ ขัดขวาง ให้ไมสามารถเข้าถงึ ขอ้ มลู ได้ หรือถกู ทาลายเสยี หายไป ซง่ึ สามารถเกิดขน้ึ ได้ไมยากบนโลก ของเครือขาย โดยเฉพาะเมอื่ ยบู นอนิ เทอร์เน็ต

3 ดังนัน้ การมคี ุณธรรม และจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยจี ึงเป็นเร่ืองทส่ี าคัญไมแพ้ กนั มรี ายละเอียดดงั น้ี 1.ไมควรให้ขอ้ มูลทเ่ี ป็นเท็จ 2.ไมบิดเบอื นความถกู ต้องของข้อมูล ให้ผรู้ บั คนตอไปได้ขอ้ มลู ที่ไมถกู ตอ้ ง 3.ไมควรเขา้ ถึงขอ้ มูลของผอู้ ่ืนโดยไมได้รบั อนุญาต 4.ไมควรเปิดเผยขอ้ มลู กบั ผ้ทู ่ไี มได้รบั อนญุ าต 5.ไมทาลายขอ้ มูล 6.ไมเขา้ ควบคุมระบบบางสวน หรอื ทงั้ หมดโดยไมไดร้ บั อนุญาต 7.ไมทาใหอ้ กี ฝ่ายหนง่ึ เขา้ ใจวาตวั เองเปน็ อีกบุคคลหนงึ่ ตัวอยางเชน การปลอมอเี มลข์ องผู้ สงเพ่อื ใหผ้ ู้รบั เข้าใจผดิ เพอื่ การเข้าใจผิด หรอื ต้องการล้วงความลับ 8.การขดั ขวางการใหบ้ รกิ ารของเซิร์ฟเวอร์ โดยการทาให้มกี ารใช้ทรัพยากรของเซริ ฟ์ เวอร์จน หมด หรอื ถึงขีดจากดั ของมนั ตวั อยางเชน เว็บเซริ ฟ์ เวอร์ หรอื อเี มลเ์ ซริ ฟ์ เวอร์ การโจมตจี ะ ทาโดยการเปิดการเชอ่ื มตอกบั เซิร์ฟเวอรจ์ นถึงขีดจากดั ของเซริ ฟ์ เวอร์ ทาให้ผใู้ ช้คนอืน่ ๆไม สามารถเข้ามาใช้บริการได้ 9.ไมปลอย หรอื สรา้ งโปรแกรมประสงค์ร้าย (Malicious Program) ซ่งึ เรียกยอๆวา (Malware) เปน็ โปรแกรมทถี่ กู สร้างข้ึนมาเพอ่ื ทาการ กอกวน ทาลาย หรอื ทาความ เสียหายระบบคอมพิวเตอร์ เครือขาย โปรแกรมประสงคร์ ้ายที่แพรหลายในปัจจบุ ันคือ ไวรัส เวิรม์ และม้าโทรจัน 10.ไมกอความราคาญให้กับผอู้ นื่ โดยวิธีการตางๆ เชน สแปม (Spam) (การสงอีเมลไปยัง ผใู้ ช้จานวนมาก โดยมีจดุ ประสงค์เพ่ือการโฆษณา)

4 11.ไมผลติ หรอื ใชส้ ปายแวร์ (Spyware) โดยสปายแวรจ์ ะใชช้ องทางการเชือ่ มตอทาง อินเตอรเ์ น็ตเพอ่ื แอบสงขอ้ มูลสวนตัวของผนู้ ้นั ไปให้กบั บุคคลหรอื องคก์ รหน่งึ โดยที่ผ้ใู ช้ไม ทราบ 12.ไมสร้างหรือใชไ้ วรสั จรรยาบรรณที่ผใู้ ช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้เปน็ บทการปฏบิ ตั เิ พื่อเตือนความจา 1. ตอ้ งไมใช้คอมพวิ เตอรท์ าร้ายหรอื ละเมดิ ผอู้ ่ืน 2. ตอ้ งไมรบกวนการทางานของผอู้ ่ืน 3. ตอ้ งไมสอดแนมหรือแก้ไขเปดิ ดใู นแฟ้มของผอู้ น่ื 4. ต้องไมใช้คอมพิวเตอรเ์ พ่อื การโจรกรรมขอ้ มลู ขาวสาร 5. ตอ้ งไมใช้คอมพวิ เตอรส์ รา้ งหลักฐานทเ่ี ป็นเท็จ 6. ต้องไมคัดลอกโปรแกรมผ้อู น่ื ทม่ี ีลขิ สิทธ์ิ 7. ตอ้ งไมละเมดิ การใช้ทรพั ยากรคอมพิวเตอรโ์ ดยทต่ี นเองไมมีสทิ ธ์ิ 8. ตอ้ งไมนาเอาผลงานของผู้อื่นมาเปน็ ของตน 9. ต้องคานงึ ถึงส่ิงที่จะเกิดข้ึนกับสงั คมอนั ตดิ ตามมาจากการกระทา 10.ตอ้ งใช้คอมพวิ เตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กตกิ ามารยาท ดงั นั้น จรรยาบรรณเปน็ ส่ิงทที่ าใหส้ งั คมอินเทอรเ์ น็ตเปน็ ระเบยี บความรับผิดชอบตอ สังคมเปน็ เรือ่ งท่จี ะต้องปลกู ฝงั กฎเกณฑ์ของแตละเครอื ขายจงึ ตอ้ งมกี ารวางระเบียบเพ่อื ให้ การดาเนินงานเปน็ ไปอยางมีระบบและเอ้อื ประโยชนซ์ ง่ึ กันและกัน บางเครอื ขายมีบทลงโทษ

5 และจรรยาบรรณทชี่ ดั เจน เพ่อื ชวยใหส้ ังคมสงบสขุ และหากการละเมดิ รุนแรงกฎหมายกจ็ ะ เขา้ มามบี ทบาทได้เชนกนั ในทางปฏิบตั ิแลว้ การระบุวาการกระทาสง่ิ ใดผดิ จริยธรรมน้นั อาจกลาวได้ไมชดั เจน มากนัก ท้ังนี้ ยอมข้ึนอยกู ับวัฒนธรรมของสังคมในแตละประเทศด้วย อยางเชน กรณีท่ี เจา้ ของบรษิ ทั ใช้กล้องในการตรวจจับหรอื เฝ้าดูการทางานของพนกั งาน เป็นตน้ ตวั อยางของ การกระทาทย่ี อมรับกนั โดยท่ัวไปวาเปน็ การกระทาท่ีผดิ จรยิ ธรรม เชนการใชค้ อมพิวเตอร์ทา รา้ ยผูอ้ น่ื ใหเ้ กดิ ความเสยี หายหรอื กอความราราญ เชน การนาภาพหรือขอ้ มลู สวนตัวของ บุคคลไปลงบนอินเตอร์เนต็ โดยไมได้รบั อนญุ าตการใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการขโมยขอ้ มลู การ เขา้ ถงึ ข้อมูลหรือคอมพวิ เตอร์ของบคุ คลอื่นโดยไมไดร้ บั อนญุ าตการละเมิดลิขสทิ ธ์โิ ดยทว่ั ไป เมอ่ื พิจารณาถงึ จรยิ ธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์และสารสนเทศแลว้ จะ กลาวถึงใน 4ประเด็น ทรี่ ู้จกั กนั ในลกั ษณะตวั ยอวา PAPA ประกอบด้วย 1. ความเป็นสวนตัว (Information Privacy) ความเปน็ สวนตัวของขอ้ มลู และสารสนเทศ โดยทัว่ ไปหมายถงึ สิทธทิ ่จี ะอยูตามลาพงั และเปน็ สิทธิทเ่ี จ้าของสามารถทจี่ ะควบคุมข้อมลู ของตนเองในการเปดิ เผยใหก้ ับผู้อ่นื สทิ ธนิ ี้ ใชไ้ ด้ครอบคลุมทั้งปจั เจกบคุ คล กลุมบุคคล และองค์การตางๆปจั จบุ ันมีประเดน็ เก่ยี วกบั ความเปน็ สวนตัวทเ่ี ปน็ ข้อหนา้ สงั เกตดังน้ี 1.การเข้าไปดขู ้อความในจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์และการบันทกึ ข้อมลู ในเครอ่ื ง คอมพวิ เตอร์ รวมทง้ั การบนั ทึก-แลกเปลยี่ นขอ้ มลู ทบ่ี คุ คลเขา้ ไปใช้บริการเวบ็ ไซตแ์ ละกลมุ ขาวสาร 2.การใช้เทคโนโลยใี นการติดตามความเคลื่อนไหวหรอื พฤติกรรมของบคุ คล เชน บรษิ ัทใช้คอมพิวเตอรใ์ นการตรวจจับหรอื เฝ้าดูการปฏบิ ัตงิ าน/การใช้บริการของ พนกั งาน ถึงแมว้ าจะเปน็ การตดิ ตามการทางานเพอื่ การพฒั นาคุณภาพการใชบ้ ริการ แต

6 กิจกรรมหลายอยางของพนกั งานกถ็ ูกเฝ้าดดู ้วย พนักงานสญู เสยี ความเป็นสวนตวั ซึ่งการ กระทาเชนนีถ้ ือเปน็ การผดิ จริยธรรม 3.การใชข้ อ้ มลู ของลกู คา้ จากแหลงตางๆ เพ่ือผลประโยชนใ์ นการขยายตลาด 4.การรวบรวมหมายเลขโทรศพั ท์ ทีอ่ ยูอเี มล์ หมายเลขบัตรเครดิต และขอ้ มลู สวนตัวอ่ืนๆ เพอ่ื นาไปสรา้ งฐานข้อมูลประวตั ิลกู คา้ ขนึ้ มาใหม แลว้ นาไปขายใหก้ ับบริษัทอืน่ ดงั นัน้ เพ่อื เปน็ การป้องกนั การละเมดิ สทิ ธคิ วามเปน็ สวนตัวของข้อมลู และสารสนเทศ จงึ ควร จะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใชอ้ นิ เตอร์เนต็ ทีม่ กี ารใช้โปรโมชนั่ หรอื ระบุให้มีการ ลงทะเบยี นกอนเข้าใช้บริการ เชน ขอ้ มลู บัตรเครดิต และท่อี ยอู เี มล์ 2. ความถกู ตอ้ ง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพิวเตอร์เพอ่ื การรวบรวม จัดเก็บ และเรยี กใชข้ อ้ มูลนนั้ คุณลกั ษณะท่ี สาคญั ประการหนงึ่ คือ ความนาเชอื่ ถอื ไดข้ องขอ้ มูล ทง้ั นี้ ข้อมูลจะมีความนาเชอ่ื ถือมาก น้อยเพยี งใดยอมขึน้ อยกู บั ความถกู ตอ้ งในการบันทกึ ขอ้ มลู ดว้ ย ประเดน็ ดา้ นจรยิ ธรรมที่ เก่ียวข้องกับความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู โดยท่วั ไปจะพจิ ารณาวาใครจะเปน็ ผูร้ บั ผดิ ชอบตอความ ถกู ต้องของขอ้ มูลท่จี ัดเก็บและเผยแพร เชน ในกรณที อี่ งค์การใหล้ กู ค้าลงทะเบยี นด้วยตนเอง หรือกรณีของขอ้ มลู ทเี่ ผยแพรผานทางเว็บไซต์ อกี ประเดน็ หนึง่ คอื จะทราบไดอ้ ยางไรวา ข้อผิดพลาดทเ่ี กิดข้นึ นน้ั ไมไดเ้ กดิ จากความจงใจ และผูใ้ ดจะเป็นผรู้ บั ผิดชอบหากเกิด ข้อผิดพลาด ดังนน้ั ในการจดั ทาขอ้ มูลและสารสนเทศใหม้ คี วามถกู ต้องและนาเชือ่ ถอื น้นั ขอ้ มลู ควรไดร้ บั การตรวจสอบความถูกต้องกอนทจ่ี ะนาเข้าฐานขอ้ มูล รวมถงึ การปรับปรงุ ข้อมูลให้ มีความทนั สมยั อยูเสมอ นอกจากนี้ ควรใหส้ ทิ ธิแกบคุ คลในการเข้าไปตรวจสอบความถกู ต้อง ของข้อมูลของตนเองได้ เชน ผสู้ อนสามารถดูคะแนนของนกั ศกึ ษาในความรบั ผดิ ชอบ หรอื ท่ี สอนเพอื่ ตรวจสอบวาคะแนนทป่ี อ้ นไมถกู แก้ไขเปลยี่ นแปลง

7 3.ความเป็นเจา้ ของ (Information Property) สิทธคิ วามเปน็ เจ้าของ หมายถึง กรรมสทิ ธิ์ในการถือครองทรพั ยส์ ิน ซ่ึงอาจเปน็ ทรพั ยส์ ินท่ัวไปท่ีจบั ต้องได้ เชน คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรอื อาจเปน็ ทรัพยส์ ินทางปัญญา (ความคดิ ) ที่จับต้องไมได้ เชน บทเพลง โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ แตสามารถถายทอดและ บนั ทึกลงในสื่อตางๆ ได้ เชน สิง่ พมิ พ์ เทป ซดี รี อม เปน็ ต้น ในสังคมของเทคโนโลยสี ารสนเทศ มักจะกลาวถงึ การละเมดิ ลขิ สิทธิซ์ อฟตแ์ วร์ เมอ่ื ทานซ้ือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่มี กี ารจดลขิ สิทธ์ิ นน่ั หมายความวาทานได้จายคาลิขสทิ ธใิ์ น การใช้ซอฟต์แวร์นน้ั สาหรบั ทานเองหลังจากท่ที านเปดิ กลองหรอื บรรจุภณั ฑ์แล้ว หมายถงึ วา ทานได้ยอมรบั ข้อตกลงเก่ยี วกบั ลิขสทิ ธิใ์ นการใช้สินคา้ น้นั ซึ่งลขิ สิทธ์ใิ นการใช้จะแตกตางกัน ไปในแตละสนิ ค้าและบริษทั บางโปรแกรมคอมพวิ เตอร์จะอนุญาตใหต้ ดิ ตงั้ ไดเ้ พียงครั้งเดยี ว หรอื ไมอนญุ าตใหใ้ ช้กับคอมพวิ เตอรเ์ ครื่องอน่ื ๆ ถงึ แมว้ าคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองน้ันๆ ทานเปน็ เจ้าของ และไมมผี อู้ นื่ ใชก้ ็ตาม ในขณะท่บี างบริษทั อนุญาตให้ใช้โปรแกรมนัน้ ได้หลายๆ เคร่ือง ตราบใดทท่ี านยงั เปน็ บุคคลทม่ี สี ิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ี่ซือ้ มา การคัดลอก โปรแกรมคอมพวิ เตอรใ์ หก้ บั เพือ่ น เปน็ การกระทาที่จะตอ้ งพิจารณาให้รอบคอบกอนวา โปรแกรมท่จี ะทาการคดั ลอกนั้น เปน็ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทที่ านมีสทิ ธ์ในระดบั ใด 4.การเขา้ ถึงข้อมลู (Data Accessibility) ปจั จุบันการเขา้ ใชง้ านโปรแกรม หรอื ระบบคอมพิวเตอรม์ กั จะมกี ารกาหนดสิทธติ าม ระดับของผูใ้ ชง้ าน ท้งั นี้ เพอ่ื เปน็ การปอ้ งกันการเขา้ ไปดาเนินการตางๆ กับขอ้ มลู ของผู้ใชท้ ี่ไม มีสวนเกี่ยวข้อง และเปน็ การรกั ษาความลับของข้อมลู ตวั อยางสทิ ธใิ นการใช้งานระบบ เชน การบันทึก การแก้ไข/ปรับปรงุ และการลบ เป็นต้น ดังนนั้ ในการพัฒนาระบบคอมพวิ เตอร์จึง ไดม้ ีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภยั ในการเขา้ ถึงของผ้ใู ช้ และการเข้าถึงข้อมลู ของ ผูอ้ นื่ โดยไมไดร้ บั ความยินยอมนั้น กถ็ อื เป็นการผดิ จรยิ ธรรมเชนเดยี วกบั การละเมดิ ข้อมลู สวนตวั ในการใชง้ านคอมพิวเตอรแ์ ละเครือขายรวมกนั ให้เปน็ ระเบยี บ หากผูใ้ ช้รวมใจกนั

8 ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บและข้อบังคับของแตละหนวยงานอยางเครงครัดแลว้ การผดิ จรยิ ธรรม ตามประเดน็ ดังทกี่ ลาวมาขา้ งต้นกค็ งจะไมเกดิ ขึน้ จรยิ ธรรมและคุณธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศรว่ มกนั ผูใ้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตมีเปน็ จานวนมากและเพมิ่ ขน้ึ ทกุ วนั การใช้งานระบบเครือขายท่ี ออนไลน์และสงขาวสารถึงกนั ยอมมผี ทู้ ีม่ ีความประพฤติไมดปี ะปนและสรา้ งปญั หาให้กบั ผใู้ ช้อน่ื อยูเสมอ หลายเครือขายจงึ ไดอ้ อกกฏเกณฑก์ ารใชง้ านภายในเครือขาย เพ่ือให้ สมาชิกในเครือขายของตนยดึ ถือ ปฏิบัติตามกฏเกณฑ์และไดร้ บั ประโยชน์สงู สดุ ดงั นนั้ ผู้ใชอ้ ินเทอร์เน็ตทกุ คนทีเ่ ปน็ สมาชกิ เครอื ขายจะตอ้ งเข้าใจกฏเกณฑ์ข้อบังคับ ของ เครือขายน้ันมคี วามรบั ผิดชอบตอตนเองและผ้รู วมใชบ้ ริการคนอน่ื และจะตอ้ ง รับผิดชอบตอการกระทาของตนเองท่ีเขา้ ไปขอใชบ้ รกิ ารตางๆ บนเครือขายบนระบบ คอมพวิ เตอร์ เครือขายคอมพิวเตอร์ทผ่ี ้ใู ชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเรยี กเขา้ มิได้เปน็ เพยี งเครอื ขายขององค์กรท่ี ผู้ใชส้ ังกัด แตเป็นการเช่ือมโยงของเครอื ขายตางๆ เขา้ หากนั หลายพันหลายหมื่นเครอื ขายมี ข้อมูลขาวสารอยูระหวางเครอื ขายเป็นจานวนมาก การสงขาวสารในเครือขายนนั้ อาจทาให้ ขาวสารกระจายเดนิ ทางไปยังเครอื ขายอน่ื ๆ อกี เป็นจานวนมากหรอื แมแ้ ตการสงไปรษณยี ์ อเิ ลก็ ทรอนกิ สฉ์ บับหน่งึ ก็อาจจะตอ้ งเดินทางผานเครอื ขายอีกหลายเครือขายกวาจะถงึ ปลายทาง ดงั น้นั ผ้ใู ช้บรกิ ารต้องให้ความสาคัญและตระหนกั ถงึ ปัญหาปรมิ าณข้อมลู ขาวสาร ทว่ี ิง่ อยบู นเครอื ขาย การใช้งานอยางสร้างสรรค์และเกดิ ประโยชน์จะทาให้สงั คมอินเทอรเ์ นต็ นาใช้และเป็น ประโยชนร์ วมกนั อยางดี กจิ กรรมบางอยางทีไ่ มควรปฏิบัติจะตอ้ งหลกี เลย่ี งเชนการสง กระจายขาวไปเปน็ จานวนมากบนเครอื ขาย การสงเอกสารจดหมายลกู โซ ฯลฯ สงิ่ เหลานจี้ ะ เป็นผลเสียโดยรวมตอผู้ใชแ้ ละไมเกดิ ประโยชนใ์ ด ๆ ตอสังคมอินเทอรเ์ น็ต

9 เพือ่ ใหก้ ารอยรู วมกนั ในสังคมอนิ เทอรเ์ นต็ สงบสุข Arlene H.Rinaldi แหง มหาวทิ ยาลยั ฟอร์รดิ าแอตแลนตกิ จึงรวบรวมกฎกตกิ ามารยาทและวางเป็นจรรยาบรรณ อินเทอรเ์ น็ตหรอื ท่เี รยี กวา Netiquette ไว้ดงั นี้ จรรยาบรรณสาหรบั ผใู้ ช้ไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนิกส(์ E-mail) ผ้ใู ชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ทกุ คนมีเมล์บอ็ กซห์ รืออเี มล์แอดเดรสท่ีใชอ้ า้ งอิงในการรบั สง จดหมาย ความรับผดิ ชอบตอการใช้งานอีเมล์ในระบบจงึ เป็นเรอื่ งท่ที กุ คนตอ้ งให้ ความสาคญั เพราะจดหมายมกี ารรับสงโดยระบบ ซึง่ หากมจี ดหมายค้างในระบบจานวน มากจะทาใหพ้ ื้นที่ บฟั เฟอรข์ องจดหมายในระบบหมด จะเปน็ ผลใหร้ ะบบไมสามารถรบั สง จดหมายตอไปได้ หลายตอหลายคร้ังระบบปฏเิ สธการรับสงจดหมายเพราะไฟล์ระบบเต็ม ดังนน้ั จึงควรมีความรับผดิ ชอบในการดูแลตู้จดหมาย (mail box) ของตนเองดังนี้ 1. ตรวจสอบจดหมายทกุ วนั และจะตอ้ งจากัดจานวนไฟลแ์ ละข้อมลู ในตูจ้ ดหมายของ ตนใหเ้ ลอื กภายในโควตา้ ทก่ี าหนด 2. ลบข้อความหรอื จดหมายทไี่ มต้องการแลว้ ออกจากดิสต์เพอื่ ลดปรมิ าณการใช้ดสิ ก็ ให้จานวนจดหมายทอ่ี ยใู นตู้จดหมาย (mail box) มีจานวนน้อยทสี่ ุด 3. ใหท้ าการโอนยา้ ยจดหมายจากระบบไปไว้ยงั พซี หี รอื ฮาร์ดดสิ ก์ของตนเองเพือ่ ใช้ อ้างอิงในภายหลัง พึงระลกึ เสมอวาจดหมายทเ่ี กบ็ ไวใ้ นตจู้ ดหมายนี้อาจถกู ผ้อู ่นื แอบอานได้ ไมควรเก็บข้อมูล หรอื จดหมายทคี่ ุณคิดวาไมใชแ้ ล้วเสมือนเป็นประกาศไว้ในตจู้ ดหมาย

10 จรรยาบรรณสาหรบั ผู้สนทนา(Chat) บนเครอื ขายอนิ เทอรเ์ นต็ มีคาสง่ั ใหใ้ ชใ้ นการโตต้ อบกนั อยางออนไลน์หลายคาสั่งเชน write, talk หรอื มกี ารสนทนา เปน็ กลมุ เชน IRC เป็นต้น ในการเรยี กหาหรือเปดิ การ สนทนาตลอดจนการสนทนาจะตอ้ งมีมารยาททส่ี าคญั ได้แก 1. ควรเรียกสนทนาจากผทู้ ่ีเราร้จู กั และต้องการสนทนาด้วย หรอื มีเรอื่ งสาคัญท่จี ะ ตดิ ตอดว้ ย ควรระลกึ เสมอวาการขัดจังหวะผอู้ น่ื ที่กาลงั ทางานอยอู าจสรา้ งปญั หาใหไ้ ด้ 2. กอนการเรียกคสู นทนาควรสอบสถานะการใช้งานของคูสนทนาท่ตี อ้ งการเรยี ก เพราะการเรยี กแตละคร้งั จะมขี อ้ ความไปปรากฏบนจอภาพของฝา่ ยถกู เรียกซึ่งก็สร้างปญั หา การทางานได้ เชน ขณะกาลงั ทางานค้าง ftp ซึง่ ไมสามารถหยุดได้ 3. หลงั จากเรยี กไปชวั่ ขณะคทู ่ถี กู เรยี กไมตอบกลับ แสดงวาคูสนทนาอาจติดงาน สาคัญ ขอใหห้ ยุดการเรียกเพราะขอ้ ความทเ่ี รยี กไปปรากฏบนจออยางแนนอนแลว้ 4. ควรใหว้ าจาสภุ าพ และให้เกียรตซิ ง่ึ กนั และกนั การแทรกอารมณข์ นั ควรกระทากับ คนทรี่ ูจ้ ักค้นุ เคยแล้วเทานั้น จรรยาบรรณสาหรบั ผู้ใช้กระดานขา่ ว ระบบสอ่ื สารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบขาวสารทีใ่ หบ้ รกิ ารในสังคมอินเทอร์เน็ตมหี ลายระบบ เชน ยูสเน็ตนสิ ว์ (UseNet News) ระบบสมาชิกแจง้ ขาวหลายสมาคม บอกรบั สมาชิกและให้ขาวสารที่ สมา่ เสมอกับสมาชิกดว้ ยการสงเปน็ จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทเ่ี รยี กวา Mailing lists ผู้ เสนอ ขาวและผูอ้ ภิปรายเรอื่ ง ตาง ๆ ท่ีเขยี นลงไปจะกระจายออกไปทั่วโลก เชนขาวบนยสู เน็ตนวิ ส์แตละกลุมเมื่อสงออกจะกระจาย ไปยงั เซิรฟ์ เวอร์อื่น ๆ ทวั่ โลก ผ้ใู ช้บรกิ ารโดย เฉพาะทตี่ ้องการเขียนขาวสารบนกระดาษ ขาวจะตอ้ งเคารพกฏกติกามารยาทโดยเครงครดั ข้อปฏบิ ตั ทิ สี่ าคญั ได้แก

11 1. ใหเ้ ขียนเรอื่ งให้กระชับ ขอ้ ความควรสน้ั และตรงประเด็กไมกากวม ใชภ้ าษาทีเ่ รยี บ งาน สุภาพเข้าใจได้ ในแตละเรื่องท่ีเขยี นให้ตรงโดยข้อความทเี่ ขยี นควรจะมีหัวขอ้ เดยี วตอเรอื่ ง 2. ในการเขยี นพาดพิงถึงผอู้ ื่น ใหร้ ะมดั ระวังในการละเมดิ หรือสรา้ งความเสยี หายให้ ผู้อนื่ การให้อเี มลอ์ าจตรงประเดน็ กวา 3. ใหแ้ หลงทม่ี าของข้อความ ควรอา้ งองิ แหลงขาวได้ ไมเรยี กวาโคมลอยหรือขาวลอื หรือเขียนขาวเพ่อื ความสนกุ โดยขาดความรับผดิ ชอบ 4. จากัดความยาวของขาว และหลกี เลีย่ งตัวอกั ษรควบคมุ พิเศษอื่น ๆ เพราะหลาย เครื่องที่อานขาวอาจมีปัญหาในการแสดงผล 5. ขาวบางขาวมกี ารกระจายกนั มาเป็นลาดบั ให้ และอา้ งองิ ตอ ๆ กันมาการเขยี นขาว จงึ ควรพิจารณาในประเด็นน้ีด้วย โดยเฉพาะอยาสงจดหมายตอบโต้ไปยงั ผรู้ ายงานขาวผู้แรก 4. ไมควรใหเ้ ครอื ขายของมหาวิทยาลยั เพอื่ ประโยชนท์ างการคา้ หรืองานเฉพาะของ ตนเพอ่ื ประโยชนส์ วนตนในเรอื่ ง การค้า 5. การเขยี นขาวทกุ ครั้งจะต้องลงช่ือ และลายเซน็ ตอนลางของขอ้ ความเพอื่ บอกช่อื ตาแหนงแอดเดรสทอ่ี า้ งองิ ได้ทางอนิ เทอรเ์ นต็ หรือใหท้ อ่ี ยแู ละหมายเลขโทรศัพทท์ ่ีตดิ ตอได้ 6. ในการทดสอบการสงไมควรทาพรา่ เพื่อการทดสอบควรกระทาในกลมุ ขาวท้องถิน่ ที่ เปิดใหท้ ดสอบการสงขาวอยูแล้ว เพราะการสงขาวแตละครงั้ จะกระจายไปทัว่ โลก 7. หลีกเลย่ี งการใชต้ วั อักษรใหญตัวอกั ษรใหญท่มี คี วามหมายถึงการตะโกนหรือการ แสดงความไมพอใจใน 8. การเนน้ คาให้ใช้เครื่องหมาย * ขอ้ ความ* แทน

12 9. ไมควรนาขอ้ ความที่ผอู้ ่นื เขียนไปกระจายตอโดยไมไดร้ ับอนญุ าตจากเจา้ ของเรื่อง 10. ไมควรใช้ข้อความตลกขบขันหรอื คาเฉพาะคากากวม หรอื คาหยาบคายในการ เขยี นขาว 11. ให้ความสาคญั ในเรือ่ งลขิ สทิ ธิไ์ มควรละเมดิ ลขิ สทิ ธผ์ิ อู้ ืน่ 12. ไมควรคัดลอกขาวจากทอ่ี ่ืนเชน จากหนงั สอื พมิ พ์ท้งั หมดโดยไมมกี ารสรปุ ยอและ เมื่อสงขาวยอจะต้องอ้างองิ ทม่ี า 13. ไมควรใช้กระดานขาวเปน็ ท่ีตอบโตห้ รือละเมิดผอู้ น่ื 14. เมอ่ื ตอ้ งการใชค้ ายอ คายอทเ่ี ป็นที่ร้จู กั กนั ทว่ั ไป เชน - IMHO-in my humble / honest opinion - FYI-for your information - BTW-by the way 15. การเขยี นขอ้ ความจะตอ้ งไมใชอ้ ารมณ์หรือความร้สู ึกสวนตวั และระลึก เสมอวาขาวทเ่ี ขยี นหรือ 16. อภิปรายนก้ี ระจายไปทัว่ โลก และมผี ้อู านขาวจานวนมาก ในการเขยี น คาถามลงในกลุมขาวจะตอ้ งสงลงในกลมุ ทีต่ รงกับปญั หาทเ่ี ขยี นนนั้ และเม่ือจะตอบกต็ ้องให้ ตรงประเดน็ 17. ในการบอกรบั ขาวดว้ ย mailing list และมีขาวเขา้ มาจานวนมากทาง อีเมลจ์ ะตอ้ งอานขาว และโอนมาไวท้ ่ีเคร่อื งตน (พีซ)ี หรอื ลบออกจาก mail box และหาก ไมอยหู รือไมไดเ้ ปดิ ตู้จดหมายเกนิ กวาหนง่ึ สปั ดาห์จะตอ้ งสงไปบอกยกเลกิ การรบั เพือ่ วาจะ ไดไ้ มมจี ดหมายสงเข้ามามาก

13 กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ถึงแมว้ าในปัจจบุ ันบางประเทศทพ่ี ัฒนาแลว้ จะมีกฎหมายควบคุมสือ่ อินเทอร์เนต็ ก็ ยงั ไมสามารถควบคมุ ภัยลอลวงตาง ๆ จากสอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ ไดอ้ ยางมปี ระสทิ ธิภาพอยาง เด็ดขาดเต็มท่ีโดยเฉพาะควบคมุ ดแู ลการเผยแพรขอ้ มูลขาวสารบนส่ืออนิ เทอรเ์ น็ตนั้นก็ยัง เป็นปัญหา โดยเฉพาะการเผยแพรส่ือสารลามกหรอื บอนการพนนั ซ่งึ ปญั หาดังกลาว นอกจากจะเก่ยี วขอ้ งกับสิทธสิ วนบคุ คลในการเขา้ ถึงข้อมลู การกา้ วกาย สทิ ธิเสรภี าพในการแสดงออก ซงึ่ เปน็ สทิ ธิพืน้ ฐานของประชาชน ยังอาจจะขัดตอกฎหมาย รัฐธรรมนูญของประเทศอกี ด้วย อกี ทงั้ ลกั ษณะพิเศษของขอ้ มลู ตาง ๆ ท่อี ยใู นเครอื ขาย อนิ เทอรเ์ น็ต เป็นเครือขายทีม่ ีลกั ษณะเปน็ ใยแมงมมุ ซึง่ ระบบกระจายความรบั ผดิ ชอบไมมี ศนู ย์กลางของระบบ และเป็นเครือขายข้อมลู ระดับโลกยากตอการควบคมุ และเป็นสื่อทไี่ มมี ตวั ตน หรือแหลงทม่ี าทช่ี ดั เจน ทง้ั ผู้สงขอ้ มลู หรอื ผ้รู ับขอ้ มลู ดงั นั้นกฎหมายท่จี ะมากากับดูแล หรือควบคมุ สอ่ื อนิ เทอร์เน็ต จะต้องเปน็ กฎหมาย ลกั ษณะพเิ ศษ เปน็ ที่ยอมรบั ในระดับสากล แตความแตกตางในระบบการเมอื ง สงั คม และ วัฒนธรรม ในแตละประเทศยังเปน็ ปัญหาอุปสรรค ในการรางกฎหมายดังกลาวซง่ึ ปจั จุบนั ยงั ไมปรากฏผลเปน็ กฎหมายยงั คงอยใู นระยะทกี่ าลงั สรา้ งกฎเกณฑ์กติกาขนึ้ มากากบั บรกิ าร อนิ เทอรเ์ น็ต ประเทศไทยกบั การพฒั นากฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศของประเทศไทยเรมิ่ วนั ที่ 15 ธนั วาคม 2541 โดย คณะ กรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแหงชาตเิ รยี ก (กทสช) ได้ทาการศกึ ษาและยกราง กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ฉบบั ไดแ้ ก 1. กฎหมายเก่ียวกับธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Transactions Law)

14 เพอ่ื รบั รองสถานะทางกฎหมายของข้อมลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ ห้เสมอด้วย กระดาษ อันเปน็ การรองรบั นติ สิ มั พนั ธ์ตาง ๆ ซงึ่ แตเดิมอาจจะจัดทาขนึ้ ในรูปแบบของ หนังสือให้เทาเทียมกบั นติ สิ มั พนั ธร์ ปู แบบใหมทจ่ี ดั ทาขน้ึ ให้อยูในรูปแบบของขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมตลอดทงั้ การลงลายมอื ช่ือในข้อมลู อิเลก็ ทรอนิกส์ และการรบั ฟงั พยานหลักฐานท่อี ยูในรูปแบบของข้อมูลอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 2. กฎหมายเกีย่ วกับลายมอื ชอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Signatures Law) เพือ่ รับรองการใช้ลายมือชอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทาง เทคโนโลยีใหเ้ สมอดว้ ยการลงลายมือชือ่ ธรรมดา อนั สงผลตอความเชอื่ มนั่ มากขนึ้ ในการทา ธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ และกาหนดให้มกี ารกากบั ดูแลการใหบ้ ริการ เกยี่ วกับลายมอื ชอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ตลอดจนการให้ บริการอื่น ทเ่ี กยี่ วข้องกับลายมอื ชื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ 3. กฎหมายเก่ยี วกับการพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานสารสนเทศใหท้ ่วั ถงึ และเทา เทยี มกัน (National Information Infrastructure Law) เพ่ือกอใหเ้ กดิ การสงเสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน สารสนเทศ อนั ได้แก โครงขายโทรคมนาคม เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศทรพั ยากร มนษุ ย์ และโครงสร้างพนื้ ฐานสารสนเทศสาคญั อืน่ ๆ อนั เป็นปจั จัยพ้ืนฐาน สาคญั ในการ พฒั นาสงั คม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรฐั ซึ่งรองรับเจตนารมณส์ าคัญประการหนึง่ ของ แนวนโยบายพนื้ ฐานแหงรฐั ตามรัฐธรรมนญู มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ท่วั ถงึ และเทาเทียมกัน และนับเป็นกลไกสาคัญในการชวยลดความเหลอื่ มลา้ ของสังคมอยางคอย เปน็ คอยไป เพ่อื สนับสนนุ ใหท้ ้องถิน่ มศี กั ยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกจิ ภายในชมุ ชน และนาไปสสู งั คมแหงปญั ญา และการเรยี นรู้ 4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุม้ ครองข้อมลู สวนบคุ คล (Data Protection Law)

15 เพ่อื กอให้เกิดการรับรองสทิ ธิและให้ความคุ้มครองขอ้ มลู สวนบคุ คล ซง่ึ อาจถกู ประมวลผล เปิดเผยหรือเผยแพรถึงบคุ คลจานวนมากได้ในระยะเวลาอนั รวดเร็วโดย อาศัยพฒั นาการทางเทคโนโลยี จนอาจกอใหเ้ กิดการนาข้อมูลนน้ั ไปใช้ในทางมชิ อบอนั เปน็ การละเมิดตอเจ้าของข้อมลู ทัง้ น้ี โดยคานงึ ถงึ การรกั ษาดุลยภาพระหวางสทิ ธขิ นั้ พ้ืนฐานใน ความเป็นสวนตัว เสรภี าพในการตดิ ตอสื่อสาร และความมัน่ คงของรัฐ 5. กฎหมายเก่ียวกบั การกระทาความผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) เพอ่ื กาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผูก้ ระทาผิดตอระบบการ ทางานของคอมพวิ เตอร์ ระบบข้อมลู และระบบเครอื ขาย ทงั้ น้เี พ่ือเปน็ หลกั ประกนั สทิ ธิ เสรีภาพ และการคมุ้ ครองการอยรู วมกนั ของสังคม 6. กฎหมายเกี่ยวกบั การโอนเงนิ ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Funds Transfer Law) เพ่ือกาหนดกลไกสาคญั ทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงนิ ทาง อิเลก็ ทรอนิกส์ ทง้ั ทีเ่ ป็นการโอนเงินระหวางสถาบนั การเงิน และระบบการชาระเงนิ รูปแบบ ใหมในรูปของเงนิ อเิ ลก็ ทรอนกิ สก์ อใหเ้ กิดความเช่ือมนั่ ตอระบบการทาธรุ กรรมทางการเงนิ และการทาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ ากยง่ิ ขึ้น จรรยาบรรณในการใชค้ อมพิวเตอร์ ท่ีมา : http://chaiwan2.igetweb.com/index.php?mo=59&action=page& id=499722 : http://www.slideshare.net/gin_wall/ss-13968682

16 จรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ความหมายของจรรยาบรรณในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศหมายถงึ หลักศีลธรรมจรรยาทก่ี าหนดขน้ึ เพื่อ ใชเ้ ปน็ แนวทางปฏิบัติ หรือควบคมุ การใชร้ ะบบคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศความสาคัญ คือ จรรยาบรรณการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเป็นไปอยางสงบสุข ไมเกดิ ปญั หาการละเมิดลิขสทิ ธ์ิ อาชญากรรม การขโมยผลงานของคนอ่นื การมีความเป็นสวนตวั และ การใชง้ านอินเทอร์เน็ตไมสร้างความราคาญหรือรบกวนคนอื่น เปน็ ต้น ทาใหส้ งั คมเป็นสขุ คณุ ธรรม จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถงึ กระบวนการตางๆ และระบบงานที่ชวยใหไ้ ด้ สารสนเทศหรือขาวสารท่ีต้องการ โดยจะรวมถึง 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ตางๆ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใชส้ านักงาน อุปกรณ์ คมนาคมตางๆ รวมทง้ั ซอฟต์แวร์ท้ังระบบสาเร็จรปู และพัฒนาขนึ้ โดยเฉพาะด้าน 2. กระบวนการในการนาอปุ กรณ์เครื่องมือตางๆ ข้างตน้ มาใช้งาน รวบรวมขอ้ มลู จดั เก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบตางๆ ท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ดต้ อไป ในปจั จุบนั การใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ สิ่งจาเป็นสาหรับทกุ องค์กร การเชอ่ื มโยง สารสนเทศผานทางคอมพิวเตอร์ ทาให้ส่ิงทมี่ ีคามากท่สี ุดของระบบ คือ ข้อมูลและสารสนเทศ อาจ ถูกจารกรรม ถกู ปรับเปลย่ี น ถกู เข้าถึงโดยเจา้ ของไมรู้ตัว ถกู ปิดก้นั ขัดขวางใหไ้ มสามารถเขา้ ถึง ข้อมลู ได้ หรือถูกทาลายเสียหายไป ซึง่ สามารถเกิดขน้ึ ได้ไมยากบนโลกของเครอื ขาย โดยเฉพาะ เมือ่ ยบู นอินเทอร์เน็ต ดังนั้นการมคี ณุ ธรรม และจริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยจี งึ เปน็ เร่ืองท่สี าคญั ไมแพก้ นั มี รายละเอียดดังนี้ 1.ไมควรใหข้ ้อมลู ท่เี ป็นเท็จ

17 2.ไมบดิ เบือนความถูกต้องของขอ้ มลู ใหผ้ รู้ ับคนตอไปไดข้ ้อมลู ทไี่ มถูกต้อง 3.ไมควรเขา้ ถึงข้อมลู ของผู้อ่นื โดยไมได้รับอนญุ าต 4.ไมควรเปิดเผยข้อมูลกับผ้ทู ่ไี มได้รบั อนญุ าต 5.ไมทาลายข้อมลู 6.ไมเขา้ ควบคมุ ระบบบางสวน หรือท้ังหมดโดยไมได้รับอนญุ าต 7.ไมทาใหอ้ กี ฝ่ายหนึ่งเขา้ ใจวาตัวเองเปน็ อกี บุคคลหน่ึง ตัวอยางเชน การปลอมอีเมล์ของผู้สง เพ่ือให้ผู้รับเข้าใจผิด เพื่อการเข้าใจผดิ หรอื ต้องการลว้ งความลบั 8.การขัดขวางการให้บริการของเซิร์ฟเวอร์ โดยการทาให้มกี ารใช้ทรพั ยากรของเซริ ฟ์ เวอรจ์ น หมด หรือถึงขีดจากัดของมนั ตัวอยางเชน เว็บเซิรฟ์ เวอร์ หรอื อเี มลเ์ ซิร์ฟเวอร์ การโจมตจี ะทาโดย การเปิดการเช่ือมตอกับเซริ ฟ์ เวอร์จนถึงขีดจากัดของเซิร์ฟเวอร์ ทาให้ผูใ้ ช้คนอื่นๆไมสามารถเขา้ มา ใชบ้ รกิ ารได้ 9.ไมปลอย หรอื สร้างโปรแกรมประสงค์ร้าย (Malicious Program) ซงึ่ เรียกยอๆวา (Malware) เปน็ โปรแกรมท่ีถูกสร้างขนึ้ มาเพื่อทาการ กอกวน ทาลาย หรือทาความเสยี หาย ระบบคอมพิวเตอร์ เครือขาย โปรแกรมประสงคร์ ้ายทีแ่ พรหลายในปจั จุบันคือ ไวรสั เวริ ม์ และม้า โทรจัน 10.ไมกอความราคาญให้กับผอู้ ่ืน โดยวิธีการตางๆ เชน สแปม (Spam) การสงอเี มลไปยังผูใ้ ช้ จานวนมาก โดยมีจุดประสงค์เพ่อื การโฆษณา) 11.ไมผลิตหรอื ใช้สปายแวร์ (Spyware) โดยสปายแวรจ์ ะใชช้ องทางการเชื่อมตอทาง อนิ เตอร์เน็ตเพื่อแอบสงขอ้ มูลสวนตวั ของผนู้ ้นั ไปให้กับบุคคลหรือองคก์ รหนง่ึ โดยท่ผี ใู้ ช้ไมทราบ 12.ไมสรา้ งหรือใชไ้ วรัส จรรยาบรรณทผี่ ใู้ ช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้เปน็ บทการปฏบิ ัตเิ พอื่ เตือนความจา

18 1. ต้องไมใช้คอมพวิ เตอรท์ าร้ายหรอื ละเมดิ ผู้อน่ื 2. ตอ้ งไมรบกวนการทางานของผ้อู น่ื 3. ตอ้ งไมสอดแนมหรือแกไ้ ขเปิดดใู นแฟม้ ของผู้อน่ื 4. ตอ้ งไมใชค้ อมพวิ เตอร์เพ่ือการโจรกรรมข้อมูลขาวสาร 5. ตอ้ งไมใชค้ อมพิวเตอร์สร้างหลักฐานท่เี ป็นเท็จ 6. ตอ้ งไมคัดลอกโปรแกรมผ้อู ืน่ ที่มลี ขิ สิทธ์ิ 7. ตอ้ งไมละเมิดการใช้ทรพั ยากรคอมพวิ เตอร์โดยท่ีตนเองไมมีสิทธ์ิ 8. ต้องไมนาเอาผลงานของผู้อืน่ มาเปน็ ของตน 9. ต้องคานงึ ถงึ สง่ิ ทจ่ี ะเกดิ ขึ้นกบั สังคมอนั ตดิ ตามมาจากการกระทา 10.ต้องใช้คอมพวิ เตอร์โดยเคารพกฎระเบยี บ กติกามารยาท ดงั นั้น จรรยาบรรณเปน็ ส่งิ ทีท่ าให้สังคมอนิ เทอรเ์ นต็ เป็นระเบียบความรับผิดชอบตอสังคม เป็นเรอื่ งท่ีจะตอ้ งปลูกฝงั กฎเกณฑข์ องแตละเครือขายจึงต้องมกี ารวางระเบยี บเพ่อื ให้การ ดาเนนิ งานเป็นไปอยางมีระบบและเอื้อประโยชนซ์ ึง่ กันและกัน บางเครือขายมบี ทลงโทษและ จรรยาบรรณทช่ี ดั เจน เพ่อื ชวยให้สงั คมสงบสุขและหากการละเมดิ รนุ แรงกฎหมายกจ็ ะเข้ามามี บทบาทได้เชนกนั คณุ ธรรมและจริยธรรมการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ทรัพย์สิน คือ วัตถทุ ่มี ีรูปรางซงึ่ อาจมรี าคาและอาจถือเอาได้ เชน บ้าน ท่ีดนิ ลิขสทิ ธิ์ สทิ ธบิ ตั ร เปน็ ต้น ปญั ญา คอื ความรอบรู้ ความรู้ทั่วไปความฉลาดเกิดแตเรยี นและ ความคิด เมอ่ื รวมทง้ั 2 คาเข้าดว้ ยกนั ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา จึงหมายถึงความร้ทู ่ีเกิด

19 จากการคดิ ค้นจนทาใหเ้ กิดมีคาขึ้นได้ หรือจะกลาวอกี นยั หน่งึ วา ทรพั ยส์ ินทางปัญญา ได้แกการทผี่ ้ใู ดหรือคณะบุคคลใดรวมกนั ประดิษฐ์คดิ ค้น ออกแบบ สรา้ งสรรค์ จน เกิดผลขนึ้ มา และผลงานน้ันมคี ุณคาสามารถใช้ประโยชน์ไดท้ ั้งงานเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และพาณิชยกรรม ทรัพย์สินทางปัญญามคี วามสาคัญอยา่ งไร ปจั จุบนั ทรัพย์สินทางปญั ญานับวาเป็นสิ่งสาคญั ย่ิง และควรคาตอการที่ จะได้รับความคุม้ ครองตามกฎหมาย ด้วยเหตุผลท่ีวา การประดษิ ฐค์ ดิ คน้ กรรมวธิ ตี างๆ น้นั จดุ กาเนดิ ของการไดม้ านน้ั มาจากความคิดมาจากมันสมองผนวกกับระยะเวลาท่ี ทุมเทใหก้ บั การศึกษาวจิ ัยเพื่อให้ไดม้ าซึ่งผลงานนวัตกรรมใหมๆ ที่ทรงคณุ คาเปน็ ท่ี ภมู ใิ จของผปู้ ระดิษฐ์ ดงั น้ันดว้ ยเหตุ น้เี องผลงานดงั กลาวจงึ ควรคาแกการคุ้มครอง จาก เหตทุ ีก่ ลาวมาจงึ ได้มีการบญั ญตั เิ ปน็ กฎหมายเพือ่ ให้การคุ้มครอง โดยมี พระราชบัญญตั ิสทิ ธบิ ัตร ลขิ สิทธิ์ เครื่องหมายการคา้ ใหก้ ารคมุ้ ครองในหลักการ รปู แบบท่ีแตกตางกนั ไป ประเภทของทรัพย์สนิ ทางปัญญา โดยทัว่ ๆ ไป คนไทยสวนมากจะคุ้นเคยกับคาวา \"ลิขสทิ ธ์ิ\" ซึง่ ใชเ้ รียก ทรัพย์สินทางปัญญาทกุ ประเภท โดยทีถ่ ูกตอ้ งแล้ว ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญาแบงออกเป็น 2 ประเภท ทเ่ี รยี กวา ทรพั ย์สินทางอตุ สาหกรรม (Industrial property) และลิขสิทธิ์ (Copyright) ทรัพย์สนิ ทางอตุ สาหกรรมไมใชสงั หาริมทรัพย์และอสงั หาริมทรัพยท์ ใี่ ชใ้ น การผลิตสินค้าหรือผลติ ภณั ฑท์ างอตุ สาหกรรม แท้ท่จี รงิ แล้วทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม นเี้ ป็นความคิดสร้างสรรคข์ องมนษุ ย์ทเี่ กี่ยวกับสนิ คา้ อุตสาหกรรม ความคดิ สร้างสรรคน์ ้ี จะเปน็ ความคดิ ในการประดษิ ฐ์คิดคน้ การออกแบบผลติ ภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซง่ึ อาจจะเปน็ กระบวนการ หรอื เทคนิคในการผลติ ทไี่ ด้ปรับปรุงหรอื คิดคน้ ขึ้นใหม หรอื ท่ี เก่ียวกบั ตวั สนิ ค้า หรอื ผลติ ภณั ฑ์ทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ และรปู รางสวยงามของตวั ผลติ ภณั ฑ์ นอกจากนี้ยงั รวมถึงเครือ่ งหมายการค้าหรอื ยี่หอ้ ชือ่ และถนิ่ ทีอ่ ยูทางการค้า

20 ที่รวมถงึ แหลงกาเนิดสินคา้ และการปอ้ งกันการแขงขันทางการคา้ ท่ีไมเปน็ ธรรม ทรัพยส์ นิ ทางอุตสาหกรรม สามารถแบงออก ไดด้ งั น้ี  สทิ ธิบตั ร (Patent)  เคร่อื งหมายการคา้ (Trademark)  แบบผังภูมขิ องวงจรรวม (Layout-Designs of Integrated Circuit)  ความลบั ทางการค้า (Trade Secrets)  ชือ่ ทางการค้า (Trade Name)  สง่ิ บงช้ีทางภูมศิ าสตร์ (Geographical Indication) ความหมายของทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาแตล่ ะประเภท ลิขสทิ ธิ์ งานหรอื ความคดิ สร้างสรรคใ์ นสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรกี รรม งานภาพยนตร์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ สิทธ์ขิ ้างเคียง (Neighbouring Right) คอื การนาเอางานดา้ นสทิ ธิ์ออก แสดง เชน นกั แสดง ผูบ้ นั ทกึ เสยี งและสถานวี ิทยุ โทรทัศน์ ในการบันทกึ หรือถายทอด เสยี งหรือภาพ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (Computer Program หรอื Computer Software) คือ ชดุ คาส่ังทใี่ ช้กบั เครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื กาหนดให้เครื่องคอมพวิ เตอร์ ทางาน งานฐานข้อมูล (Database) คอื ข้อมลู ทไ่ี ด้เก็บรวบรวมข้นึ เพ่ือใช้ ประโยชน์ด้านตาง ๆ สิทธบิ ัตร หมายถึง หนงั สอื สาคัญที่รัฐออกให้เพ่ือคุ้มครองการประดษิ ฐ์ ( Invention) การออกแบบผลิตภณั ฑ์ (Product Design) หรอื ผลติ ภณั ฑ์ อรรถประโยชน์ (Utility Model) ที่มีลกั ษณะตามที่กฎหมายกาหนด

21 การประดษิ ฐ์ คอื ความคิดสรา้ งสรรค์เกีย่ วกับลกั ษณะ องค์ประกอบ โครงสร้าง หรือกลไกของผลติ ภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธี ในการผลติ การรักษาหรือปรบั ปรุง คุณภาพของผลติ ภณั ฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ คอื ความคดิ สร้างสรรค์เก่ยี วกบั การทาให้รูปราง ลักษณะภายนอกของผลิตภณั ฑเ์ กดิ ความสวยงาม และแตกตางไปจากเดมิ ผลติ ภณั ฑอ์ รรถประโยชน์ หรือที่เรียกอีกอยางหนึ่งวา อนสุ ิทธิบตั ร ( Petty Patent) จะมีลกั ษณะคลา้ ยกันกับการประดษิ ฐ์ แตเป็นความคดิ สรา้ งสรรค์ท่มี ี ระดับการพฒั นาเทคโนโลยีไมสูงมาก หรอื เป็นการประดษิ ฐ์คิดคน้ เพยี งเลก็ นอ้ ย แบบผังภูมิของวงจรรวม หมายถึง แผนผังหรือแบบทที่ าข้นึ เพ่ือแสดงถึง การจัดวางและการเชอื่ มตอของวงจรไฟฟ้า เชน ตัวนาไฟฟ้า หรือตัวตา้ นทาน เป็นต้น เครอื่ งหมายการค้า (Trade Mark) เครื่องหมายหรอื สัญลักษณ์หรอื ตราท่ี ใชส้ ินค้า หรอื บรกิ าร ได้แก - เครือ่ งหมายบริการ (Service Mark) คือ เครือ่ งหมายที่ ใชเ้ ปน็ ทห่ี มายเก่ียวข้องกับสนิ ค้าเพอื่ แสดงวาสินคา้ ท่ใี ชเ้ ครือ่ งหมายน้ันแตกตางกับ บริการทใ่ี ชเ้ ครื่อง หมายบรกิ ารของบุคคลอื่น เชน เคร่ืองหมายของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นตน้ - เครือ่ งหมายรบั รอง (Certification Mark) คอื เครอ่ื งหมายทเ่ี จ้าของเคร่ืองหมายรับรองใชเ้ ปน็ ทีห่ มายหรอื เก่ียวข้องกบั สนิ คา้ และ บริการของบุคคลอนื่ เพ่ือเป็นการรับรองคณุ ภาพของสินคา้ หรอื บรกิ ารน้ัน เชน เชลลช์ วนชิม แมช้อยนางรา เปน็ ต้น - เครื่องหมายรวม (Colective Mark) คอื เครือ่ งหมาย การคา้ หรอื เครอ่ื งหมายบรกิ ารทใ่ี ช้โดยบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจในกลุมเดียวกัน หรือโดย

22 สมาชกิ ของสมาคม กลุมบุคคล หรอื องค์กร อน่ื ใดของรัฐหรือเอกชน เชน ตราช้าง ของ บรษิ ัท ปนู ซีเมนต์ไทย จากดั เป็นต้น ลขิ สิทธิ์ ลขิ สทิ ธ์ิ เป็นทรัพย์สนิ ทางปญั ญาอยางหน่ึง ทก่ี ฎหมายให้ความคุ้มครอง โดยให้เจ้าของลิขสทิ ธถิ์ อื สิทธิแตเพยี งผู้เดยี วที่จะ กระทาการใดๆ เกย่ี วกบั งาน สร้างสรรค์ทีต่ นได้กระทาข้นึ - งานอันมลี ขิ สิทธิ์ : งานสร้างสรรค์ท่จี ะไดร้ ับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญตั ลิ ขิ สทิ ธต์ิ อ้ งเป็นงานในสาขา วรรณกรรม นาฏกรรม ศลิ ปกรรม ดนตรี กรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ ส่งิ บันทกึ เสียง งานแพรเสียงแพรภาพ รวมถึงงานอ่ืนๆ ในแผนกวรรณคดวี ิทยาศาสตร์ หรอื แผนกศิลปะ งานเหลานี้ถอื เปน็ ผลงานท่ีเกดิ จาก การใชส้ ติปัญญา ความรู้ความสามารถ และ ความวริ ิยะอตุ สาหะ - การได้มาซ่ึงลขิ สิทธิ์ : สทิ ธใิ นลิขสทิ ธเ์ิ กดิ ขึ้นทนั ทีนบั แตผ้สู ร้างสรรค์ได้ สรา้ งสรรคผ์ ลงานออกมา โดยไมต้องจดทะเบียน หรอื ผานพธิ ีการใดๆ - การค้มุ ครองลขิ สิทธิ์ : ผเู้ ป็นเจา้ ของลขิ สิทธม์ิ สี ทิ ธแิ ตเพียงผู้เดียว ใน การใช้ประโยชน์จากผลงานสรา้ งสรรคข์ องตน ในการทาซา้ ดดั แปลง หรอื เผยแพรตอ สาธารณชน รวมทงั้ สทิ ธใิ นการใหเ้ ชา โดยทว่ั ไปอายุการคุม้ ครองสิทธิจะมีผลเกดิ ขึน้ ทันทที ่ีมกี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงาน โดยความคุ้มครองนี้จะมตี ลอดอายขุ องผ้สู รา้ งสรรค์และ คมุ้ ครองตอไปนอ้ี ีก 50 ปีนบั แตผสู้ รา้ งสรรค์เสยี ชีวิต พระราชบญั ญัติลขิ สทิ ธิ์ กฎหมายลิขสทิ ธ์มิ ีวตั ถุประสงค์ใหค้ วามคมุ้ ครอง ปอ้ งกันผลประโยชน์ท้งั ทางเศรษฐกจิ และทางศลี ธรรม ซึ่งบุคคลพึงไดร้ บั จากผลงานสร้างสรรคอ์ ันเกิดจาก ความนกึ คดิ และสตปิ ัญญาของตน นอกจากนี้ยังมุงที่จะสนับสนุนสงเสรมิ ใหเ้ กดิ การ

23 สรา้ งสรรค์ผลงาน กลาวคอื เม่ือผสู้ รา้ งสรรค์ได้รับผลตอบแทนจากหยาดเหง่ือแรงกาย และสตปิ ัญญาของตน ก็ยอมจะเกดิ กาลังใจที่จะคดิ คน้ สรา้ งสรรค์และเผยแพรผลงาน ให้แพรหลายออกไปมากยิง่ ขึ้น อันจะเป็นประโยชนต์ อการพัฒนา ประเทศชาตทิ ง้ั ด้าน เศรษฐกิจ สงั คม และเทคโนโลยี การกระตุ้นให้เกิดการพฒั นาสตปิ ญั ญาเป็นปจั จัย สาคญั ที่จะนาไปสู การพัฒนาท่ยี งั่ ยืนในอนาคต ประเทศไทยไดป้ ระกาศใชพ้ ระราชบัญญัตลิ ิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537 เพื่อใช้ บังคบั แทน พระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2521 โดยมผี ลบงั คับใช้วนั ท่ี 21 มนี าคม 2538 พระราชบญั ญตั ิลิขสทิ ธ์ใิ หค้ วามค้มุ ครองตอโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยจดั ใหเ้ ปน็ ผลงานทางวรรณกรรมประเภทหนงึ่ งานท่ีไดจ้ ัดทาข้ึนกอนวันท่ีพระราชบัญญตั ินีใ้ ช้บังคบั และเปน็ งานท่ี ไดร้ บั ความคุ้มครองลิขสทิ ธ์ติ ามพระราชบัญญัตินี้ จะไดร้ บั ความคุม้ ครองลขิ สิทธิต์ าม พระราชบญั ญัตินี้ แมว้ าประเทศไทยจะมกี ฎหมายคุม้ ครองลขิ สทิ ธิ์มาเปน็ ระยะ เวลานานแลว้ แตความเข้าใจของประชาชนโดยทวั่ ไปในเร่ืองลิขสทิ ธยิ์ ังไมชัดเจน ความ ตระหนักรูถ้ ึงความสาคญั ขงการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ และทัศนคตทิ ถี่ กู ต้องเกี่ยวกับการ คุ้มครองทรัพย์สนิ ทางปัญญาที่ยงั่ ยืนกวาการปราบปรามการละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ ซง่ึ เป็นการ แกป้ ัญหาที่ปลายเหตุ การละเมิดลขิ สิทธ์ิ - การละเมดิ ลขิ สิทธโ์ิ ดยตรง : คอื การทาซา้ ดดั แปลง เผยแพรโปรแกรม คอมพวิ เตอร์แกสาธารณชน รวมทั้งการนาต้นฉบบั หรอื สาเนางานดังกลาวออกใหเ้ ชา โดยไมไดร้ ับอนุญาตจากเจา้ ของลขิ สิทธ์ิ - การละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์โดยออ้ ม : คอื การกระทาทางการคา้ หรอื การกระทา ที่มสี วนสนบั สนุนให้เกิดการละเมดิ ลิขสิทธ์ิดังกลาว ข้างตน้ โดยผู้กระทารอู้ ยูแลว้ วางาน ใดได้ทาขนึ้ โดยละเมิดลิขสิทธข์ิ องผู้อื่น แตกย็ ังกระทาเพือ่ หากาไรจากงานน้ัน ไดแ้ ก การขาย มีไวเ้ พอ่ื ขาย ใหเ้ ชา เสนอให้เชา ให้เชาซอื้ เสนอใหเ้ ชาซ้ือ

24 ทาไมตอ้ งใหค้ วามสาคญั กบั การละเมิดลิขสทิ ธิ์ การละเมิดลขิ สทิ ธิเ์ ป็นการกระทาท่ีผิดกฎหมาย นอกจากความเส่ียง ทางด้านกฎหมายทท่ี านอาจไดร้ ับแลว้ ธุรกจิ ของทานยงั สูญเสยี ชื่อเสียง ความ นาเชอ่ื ถือ ซง่ึ ทาให้สญู เสียรายไดแ้ ละดาเนนิ ธรุ กจิ ได้ยากขนึ้ นอกจากนที้ านยงั ตอ้ งเสี่ยง กับการใช้ ซอฟตแ์ วร์ทอ่ี าจสรา้ งปญั หาใหก้ ับข้อมลู ทางการค้ามีคาของทาน ไมได้รับการ สนับสนนุ ด้านเทคนิค และขาวสารอนั เปน็ ประโยชนต์ อทานและธรุ กจิ ของทาน การ สนับสนุนการละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ เปน็ สวนหนง่ึ ท่ีหยดุ ย้ังการเจรญิ เตบิ โตของอตุ สาหกรรม ไอ ทีซ่ึงเป็นอตุ สาหกรรมท่ีมีอนาคต อันจะนามาซ่งึ รายได้ใหก้ บั ประเทศไทย และมกี าร พฒั นาความรูด้ า้ นไอทใี ห้กับบคุ ลากรของประเทศ ทาให้สามารถแขงขนั ไดใ้ นโลก การคา้ โลกาภิวฒั น์ จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีทีม่ ีการขยายตัวอยางรวดเร็ว มี ความสามารถในการใช้งานมากขนึ้ ผลของการพัฒนา ทาให้มีการประยุกต์ใชง้ านกัน อยางกว้างขวาง จนอาจกลาวไดว้ า ปจั จุบนั เทคโนโลยสี ารสนเทศไดเ้ ข้ามามีสวน เกย่ี วข้องกบั มนุษย์ทกุ คนไมทางตรงก็ทางออ้ ม ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศมีทั้งทางบวกและทางลบ ทางบวก ทาใหม้ นษุ ย์มีความเป็นอยูดชี วยสงเสริมให้มี ประสทิ ธภิ าพในการทางาน ทาใหเ้ กดิ การ ผลติ ในอุตสาหกรรม สงเสริมให้เกดิ กาค้นควา้ วจิ ยั ส่งิ ใหม สงเสริมสขุ ภาพและ ความ เปน็ อยใู ห้ดีข้นึ ทางลบทาให้เกดิ อาชญากรรม ทาให้ความสัมพนั ธ์ของมนษุ ยเ์ สอื่ มถอย ทาให้เกิดการเสยี่ งภยั ทางดา้ นธุรกิจ ธรุ กจิ ในปัจจุบันจาเปน็ ต้องพงึ่ พาอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศมากขนึ้ ขอ้ มลู ขาวสารของธุรกจิ ฝากไวใ้ นศูนยข์ ้อมูล หากขอ้ มลู เกิดการสูญ หาย ยอมทาให้เกดิ ผลกระทบตอธุรกจิ โดยตรง คอมพวิ เตอร์เป็นอุปกรณ์ท่ีทางานตาม คาสง่ั การนามาใช้ในทางใดจึงข้นึ อยกู บั ผ้ใู ช้ จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอรจ์ งึ เป็นเร่อื ง สาคญั ท่ีจะต้องปลกู ฝงั ใหก้ ับผใู้ ชค้ อมพวิ เตอร์ เพอื่ ใหร้ ู้จกั การใชง้ านทีเ่ หมาะสม ในเร่ือง

25 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศกจ็ าเปน็ ต้องปลูกฝังเชนเดียวกัน เพอื่ ให้ผู้ใช้นาไปใชง้ านท่ี เปน็ ประโยชนเ์ ชงิ สร้างสรรค์หรอื ทางบวก มใิ ชนาไปใชใ้ นทางท่ีไมดีอยางเชนทีเ่ กดิ ขนึ้ เสมอๆ จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่มีการขยายตัวอยางรวดเรว็ มี ความสามารถในการใชง้ านมากข้นึ ผลของการพัฒนา ทาใหม้ กี ารประยุกต์ใช้งานกัน อยางกว้างขวาง จนอาจกลาวไดว้ า ปัจจบุ ันเทคโนโลยีสารสนเทศไดเ้ ข้ามามีสวน เกยี่ วขอ้ งกบั มนุษย์ทกุ คนไมทางตรงกท็ างอ้อม ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศมีท้ังทางบวกและทางลบ ทางบวก ทาให้มนุษย์มคี วามเป็นอยดู ชี วยสงเสริมให้มี ประสทิ ธภิ าพในการทางาน ทาใหเ้ กดิ การ ผลิตในอุตสาหกรรม สงเสริมให้เกดิ กาคน้ คว้าวจิ ัยส่งิ ใหม สงเสริมสุขภาพและ ความ เป็นอยใู หด้ ีขึ้น ทางลบทาให้เกดิ อาชญากรรม ทาให้ความสัมพันธข์ องมนษุ ยเ์ สอื่ มถอย ทาใหเ้ กดิ การเส่ียงภยั ทางด้านธรุ กิจ ธุรกิจในปจั จุบันจาเปน็ ตอ้ งพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศมากขึน้ ขอ้ มลู ขาวสารของธรุ กจิ ฝากไวใ้ นศนู ยข์ อ้ มลู หากข้อมูลเกดิ การสูญ หาย ยอมทาให้เกดิ ผลกระทบตอธรุ กจิ โดยตรง คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ อุปกรณท์ ่ีทางานตาม คาสัง่ การนามาใช้ในทางใดจึงขึ้นอยกู ับผ้ใู ช้ จริยธรรมการใชค้ อมพิวเตอรจ์ งึ เป็นเร่อื ง สาคญั ทจ่ี ะต้องปลูกฝังใหก้ บั ผใู้ ช้คอมพิวเตอร์ เพ่อื ใหร้ จู้ กั การใชง้ านท่เี หมาะสม ในเรอ่ื ง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศกจ็ าเปน็ ตอ้ งปลกู ฝงั เชนเดียวกนั เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ชน้ าไปใช้งานท่ี เป็นประโยชนเ์ ชิงสร้างสรรค์หรือทางบวก มิใชนาไปใชใ้ นทางที่ไมดีอยางเชนที่เกดิ ขึ้น เสมอๆ

26 บญั ญัติ 10 ประการ สาหรบั ผูใ้ ชอ้ นิ เทอร์เนต็ อาจารย์ ยืน ภูวรวรรณ ได้กลาวถงึ บัญญัติ 10 ประการ ซ่ึงเป็นจรรยาบรรณที่ ผ้ใู ชอ้ ินเทอร์เนต็ ยึดถอื ไว้เสมือนเป็นแมบทของการปฏบิ ตั ิ ผใู้ ช้พึงระลึกและเตือน ความจาเสมอ มีดงั นี้ 1. ต้องไมใชค้ อมพวิ เตอรท์ าร้าย หรอื ละเมดิ ผ้อู น่ื 2. ตอ้ งไมรบกวนการทางานของผอู้ ่ืน 3. ต้องไมสอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟม้ ข้อมลู ของผอู้ ื่น 4. ต้องไมใชค้ อมพิวเตอร์เพ่ือการโจรกรรมข้อมูลขาวสาร 5. ต้องไมใชค้ อมพวิ เตอรส์ รา้ งหลกั ฐานท่ีเปน็ เท็จ 6. ต้องไมคดั ลอกโปรแกรมของผ้อู ืน่ ทมี่ ลี ิขสทิ ธิ์ 7. ตอ้ งไมละเมิดการใชท้ รัพยากรคอมพวิ เตอรโ์ ดยทต่ี นเองไมมีสิทธิ์ 8. ต้องไมนาเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน 9. ตอ้ งคานึงถงึ สง่ิ ท่ีจะเกดิ ขึ้นกบั สังคมอนั ติดตามมาจากการกระทาของทาน 10. ต้องใชค้ อมพวิ เตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบียบ กตกิ า และมมี ารยาท จรรยาบรรณเป็นสงิ่ ที่ทาให้สังคมอนิ เทอร์เนต็ เปน็ ระเบียบ ความรบั ผิดชอบตอ สงั คมเปน็ เรอ่ื งท่จี ะต้องปลูกฝงั กฎเกณฑ์ ของแตละ เครือขาย จะตอ้ งมกี ารวางระเบียบ

27 เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปอยางมีระบบ และเออ้ื ประโยชนซ์ ่ึงกันและกนั บางเครอื ขาย มบี ทลงโทษที่ชดั เจน เชน การปฏบิ ัตผิ ดิ กฎเกณฑ์ของเครอื ขาย จะต้องตัดสทิ ธก์ิ ารเป็น ผู้ใชข้ องเครอื ขาย ในอนาคตจะมกี ารใชเ้ ครือขายคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมาก จรรยาบรรณจึง เปน็ สิง่ ท่ชี วยให้สังคมอนิ เทอรเ์ น็ต สงบสุข หากมกี ารละเมิดอยางรุนแรง กฎหมายจะ เข้ามามบี ทบาทตอไป (โครงการเครือขายคอมพวิ เตอร์เพ่ือโรงเรียนไทย : http://www.school.net.th/ ) จรรยาบรรณเกี่ยวกบั จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-mail) และแฟูมข้อมลู ผูใ้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตทกุ คนมตี ู้จดหมาย (mailbox) และอีเมล์แอดเดรสท่ีใช้ อา้ งองิ ในการรบั สงจดหมาย ความรับผดิ ชอบตอการใชง้ านจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ปน็ เรือ่ งทท่ี กุ คนต้องใหค้ วามสาคญั อยางมาก เพราะระบบจะรบั สงจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ โดยอัตโนมตั ิ หากมจี ดหมายคา้ งในระบบเป็นจานวนมาก จะทาให้พืน้ ที่จัดเกบ็ จดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์ของระบบหมดไป สงผลใหร้ ะบบไมสามารถรบั สงจดหมายไดอ้ กี ทาใหผ้ ้ใู ช้ทุกคนในระบบไมสามารถรับสงจดหมายท่สี าคญั ไดอ้ กี ตอไป นอกจากนผ้ี ู้ใดผู้ หน่งึ สงจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ สท์ ่ีมีขนาดใหญมาก สงแบบกระจายเขา้ ไปในระบบ เดยี วกนั พร้อมกันหลายคน จะทาใหรั ะบบหยุดทางานได้เชนกนั ผใู้ ช้ทกุ คนพึงระลกึ เสมอวา เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ จี่ ัดเก็บตจู้ ดหมายของแตละคนมิไดม้ ผี ใู้ ช้ เพียงไมกี่คนแต อาจมผี ู้ใช้เปน็ พันคน หมื่นคน ดังนน้ั ระบบอาจมีปัญหาไดง้ าย ผใู้ ชแ้ ตละคนจะตอ้ งมี ความรับผิดชอบในการดแู ลตูจ้ ดหมายของตนเอง ดงั นี้ 1. ตรวจสอบจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ของตนเองทกุ วนั และจะตอ้ งจดั เก็บ แฟม้ ขอ้ มูลและจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ของตนให้เหลอื ภายในโควตา้ ท่ผี ู้บริหารเครือขาย กาหนดให้ 2. ลบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ท่ไี มต้องการแลว้ ออกจากระบบเพือ่ ลด

28 ปรมิ าณการใชเ้ นือ้ ทีร่ ะบบ 3. ดแู ลให้จานวนจดหมายอิเล็กทรอนิกสท์ ีอ่ ยูในต้จู ดหมาย มจี านวน นอ้ ยท่ีสุด 4. ควรโอนยา้ ยจดหมายอิเล็กทรอนิกสท์ จ่ี ะใชอ้ ้างอิงภายหลัง มายัง เครอื่ งคอมพิวเตอร์ของตนเอง 5. พงึ ระลึกเสมอวาจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีเก็บไวใ้ นตจู้ ดหมายนอี้ าจ ถูกผูอ้ น่ื แอบอานได้ ดงั น้ัน ไมควรจัดเก็บขอ้ มลู หรือจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ท่ไี มไดใ้ ช้ แลว้ ไว้ในตจู้ ดหมาย หลงั จากผู้ใช้ไดร้ บั บญั ชี (account) ในโฮสจากผบู้ รหิ ารเครือขาย ผใู้ ชจ้ ะ ไดร้ ับสิทธิ์ให้ใช้เนอ้ื ทีข่ องระบบ ซ่งึ เป็นเนื้อที่เฉพาะทเี่ รยี กวา \"โฮมไดเรกทอร\"ี ตาม จานวนโควต้าทผี่ บู้ รหิ ารเครอื ขายกาหนด ผู้ใชจ้ ะตอ้ งมคี วามรับผิดชอบตอเน้อื ท่ี ดังกลาวเพราะเนือ้ ท่ีของระบบเหลานีเ้ ป็นเนอ้ื ท่ีทีใ่ ช้รวมกนั เชน โฮสแหงหน่งึ มผี ู้ใช้ รวมกนั สามพนั คน ถา้ ผบู้ รหิ ารเครือขายกาหนด เนื้อทใ่ี ห้ผใู้ ช้คนละ 3 เมกะไบต์ โฮส จะตอ้ งมีเนอ้ื ท่จี านวน 9 จิกะไบต์ โดยความเปน็ จริงแลว้ โฮสไมมีเนื้อท่ีจานวนมากเทา จานวนดังกลาว เพราะผู้บรหิ ารเครือขายคิดเนือ้ ท่ีโดยเฉล่ยี ของผใู้ ช้เป็น 1 เมกะไบต์ ดังนน้ั ถา้ ผใู้ ช้ทกุ คนใชพ้ ้นื ท่ีให้พอเหมาะและจดั เก็บเฉพาะแฟ้มข้อมลู ท่จี าเป็นจะทาให้ ระบบมีเนอื้ ท่ีใช้งานได้มาก ผใู้ ชท้ ุกคนควรมคี วามรบั ผิดชอบรวมกนั ดงั น้ี 1. จัดเกบ็ แฟม้ ข้อมูลในโฮมไดเรกทรอรขี องตนให้มจี านวนตา่ ทีส่ ดุ ควร โอนยา้ ยแฟม้ ข้อมูลมาเก็บไวท้ เ่ี คร่อื งคอมพิวเตอร์ของตนเอง 2. การแลกเปลยี่ นแฟม้ ข้อมูลระหวางเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ของตนและผูอ้ ื่น ในเครือขายอินเทอรเ์ นต็ ควรจะตรวจสอบไวรัสเปน็ ประจาเพ่ือลดการกระจายของไวรัส ในเครือขาย 3. พงึ ระลึกเสมอวาแฟ้มข้อมลู ของผใู้ ช้ท่ีเก็บไว้บนเครื่องนนั้ อาจได้รับ การตรวจสอบโดยผทู้ ี่มีสทิ ธส์ิ งู กวา ดงั นัน้ ผใู้ ชไ้ มควรเก็บแฟ้มข้อมลู ท่ีเป็นเร่ืองลับเฉพาะ ไว้บนโฮส

29 จริยธรรมและคุณธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ จรยิ ธรรม (Ethics) คาวา “จริยธรรม” แยกออกเป็น จรยิ + ธรรม ซึ่ง คาวา จรยิ หมายถงึ ความประพฤตหิ รอื กิรยิ าท่ีควรประพฤติ สวนคาวา ธรรม มี ความหมายหลายประการ เชน คุณความด,ี หลกั คาสอนของศาสนา, หลกั ปฏบิ ัติ เมื่อนาคาทั้งสองมารวมกันเปน็ \"จริยธรรม\" จงึ มคี วามหมายตามตัวอักษรวา \"หลักแหงความประพฤต\"ิ หรือ \"แนวทางของการประพฤต\"ิ หรอื กิรยิ า ท่ีควร ประพฤติ คณุ ความดี หลกั คาสอนของศาสนา หลักปฏบิ ตั ิ หลกั แหงความประพฤติ แนวทางของการประพฤติ (วศิน เพิ่มทรพั ย์และวิโรจน์ ชัยมูล. 2548.)

30 ผูท้ ่มี ีคุณธรรมจริยธรรมจะเป็นผูท้ ีม่ ีคุณลักษณะดังนี้ 1) เป็นผู้ทม่ี คี วามเพียรความพยายามประกอบความดี ละอายตอการปฏิบตั ชิ ัว่ 2) เปน็ ผู้มคี วามซอ่ื สัตยส์ จุ ริต ยุตธิ รรม และมีเมตตากรุณา 3) เปน็ ผมู้ สี ตปิ ญั ญา รู้สึกตวั อยูเสมอ ไมประมาท 4) เป็นผ้ใู ฝห่ าความรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพ เพอื่ ความมนั่ คง 5) เป็นผู้ทร่ี ัฐสามารถอาศัยเปน็ แกนหรอื ฐานให้กบั สงั คม สาหรับการพฒั นาใดๆ ได้ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร หมายถงึ กระบวนการตางๆ และระบบงาน ทชี่ วยให้ไดส้ ารสนเทศหรือขาวสารท่ตี อ้ งการ โดยจะรวมถงึ 1) เครือ่ งมอื และอุปกรณต์ างๆ หมายถึง เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ เครอื่ งใช้สานักงาน อุปกรณค์ มนาคมตางๆ รวมทั้งซอฟต์แวร์ทัง้ ระบบสาเรจ็ รูปและพฒั นาขน้ึ โดยเฉพาะ ดา้ น 2) กระบวนการในการนาอุปกรณ์เครือ่ งมอื ตางๆ ข้างต้นมาใช้งาน รวบรวมข้อมูล จัดเก็บประมวลผลและแสดงผลลพั ธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบตางๆ ทสี่ ามารถนาไปใช้ ประโยชนไ์ ดต้ อไปในปัจจุบนั การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิง่ จาเปน็ สาหรบั ทุก องคก์ าร การเชอ่ื มโยงสารสนเทศผานทางคอมพิวเตอร์ ทาให้สิ่งท่มี ีคามากที่สุดของ ระบบ คือ ขอ้ มูลและสารสนเทศ อาจถูกจารกรรม ถกู ปรบั เปลย่ี น ถูกเข้าถึงโดย เจา้ ของไมรู้ตวั ถูกปิดก้นั ขัดขวางใหไ้ มสามารถเขา้ ถึงขอ้ มลู ได้ หรอื ถูกทาลายเสยี หายไป ซึ่งสามารถเกิดขึ้นไดไ้ มยากบนโลกของเครือขาย โดยเฉพาะเมอ่ื อยูบน อนิ เทอร์เนต็ ดังนน้ั การมีคุณธรรม และจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีจงึ เป็นเรอ่ื งทีส่ าคัญ ไมแพก้ ัน มรี ายละเอยี ดดังนี้ (1) ไมควรใหข้ ้อมูลทเี่ ป็นเทจ็ (2) ไมบดิ เบอื นความถกู ตอ้ งของข้อมูล ให้ผู้รบั คนตอไปไดข้ ้อมลู ทไี่ มถกู ตอ้ ง (3) ไมควรเขา้ ถึงข้อมลู ของผ้อู ่นื โดยไมไดร้ ับอนญุ าต (4) ไมควรเปดิ เผยขอ้ มลู กับผทู้ ไ่ี มไดร้ บั อนุญาต (5) ไมทาลายขอ้ มูล

31 (6) ไมเขา้ ควบคมุ ระบบบางสวน หรือทั้งหมดโดยไมได้รับอนุญาต (7) ไมทาใหอ้ ีกฝา่ ยหนงึ่ เขา้ ใจวาตัวเองเปน็ อีกบคุ คลหนึง่ ตัวอยางเชน การปลอมอเี มล ของผสู้ งเพ่ือใหผ้ ู้รับเข้าใจผิด เพอ่ื การเขา้ ใจผิด หรือ ต้องการลว้ งความลับ (8) การขัดขวางการใหบ้ ริการของเซริ ์ฟเวอร์ โดยการทาใหม้ ีการใช้ทรัพยากรของ เซริ ฟ์ เวอรจ์ นหมดหรือถงึ ขีดจากัดของมัน ตวั อยางเชน เว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือ อีเมล เซริ ์ฟเวอร์ การโจมตจี ะทาโดยการเปิดการเชอื่ มตอกบั เซิร์ฟเวอร์จนถึงขีดจากดั ของ เซริ ฟ์ เวอร์ ทาใหผ้ ใู้ ช้คนอื่นๆ ไมสามารถเขา้ มาใช้บรกิ ารได้ (9) ไมเผยแพร หรือ สร้างโปรแกรมประสงค์รา้ ย (Malicious Program) ซง่ึ เรียกวา (Malware) เป็นโปรแกรมทถี่ ูกสรา้ งข้นึ มาเพอื่ กอกวน ทาลาย หรอื ทาความเสียหาย ระบบคอมพิวเตอรเ์ ครือขายโปรแกรมประสงคร์ า้ ยท่แี พรหลายในปัจจุบนั คือ ไวรัส (virus) เวิรม์ (Worm) และมา้ โทรจัน (Trojan) (10) ไมกอความราคาญให้กับผ้อู ่นื โดยวิธีการตางๆ เชน สแปม (Spam) (การสงอเี มล ไปยงั ผู้ใชจ้ านวนมาก โดยมจี ดุ ประสงคเ์ พื่อการโฆษณา) (11) ไมผลิตหรอื ใชส้ ปายแวร์ (Spyware) โดยสปายแวร์จะใชช้ องทางการเชื่อมตอทาง อินเทอร์เนต็ เพือ่ แอบสงข้อมลู สวนตัวของผ้นู ั้นไปใหก้ บั บคุ คลหรอื องค์การหนึ่งโดยท่ผี ูใ้ ช้ ไมทราบ 3.1 ประเด็นทางคุณธรรมจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ดว้ ยสงั คมในปัจจุบนั พบวามคี วามขดั แย้งหลายด้าน และมีปัจจัยตางๆ ทที่ าให้คนใน สังคมหางเหนิ ความมีคณุ ธรรมออกไป ซง่ึ หากพิจารณาในมมุ มองที่เกิดจากผลกระทบ ดา้ นส่อื แลว้ พบวาสือ่ ตางๆ มอี ทิ ธพิ ลตอการดารงชีวิตของคนในสังคมท้ังในทางตรง และทางออ้ ม โดยเฉพาะผลกระทบตอเดก็ และเยาวชน เพราะส่ือสวนใหญยังคงเนน้ การ ดาเนินการในเชงิ ธุรกิจ จงึ ทาใหข้ าดจิตสานกึ และความรับผดิ ชอบตอสังคม รวมทัง้ กอให้เกดิ ความเสื่อมโดยเฉพาะด้านคุณธรรมทจ่ี ะเกิดข้นึ กบั เด็กและเยาวชน นอกจากการใช้สื่อหรือส่ือสงั คมออนไลนแ์ ลว้ การใชร้ ะบบเครอื ขายอินเทอรเ์ น็ต ใน สังคมปจั จบุ ันผ้ใู ชอ้ นิ เทอร์เนต็ มีเป็นจานวนมากและเพ่ิมขนึ้ ทุกวัน การใชง้ านระบบ เครอื ขายท่ีออนไลนแ์ ละสงขาวสารถึงกันยอมมีผ้ทู ่ีมคี วามประพฤติดีและไมดีรวมถึงการ

32 สร้างปัญหาให้กบั ผ้ใู ชอ้ ่นื อยูเสมอ หลายเครือขายจึงไดอ้ อกกฏเกณฑ์การใช้งานภายใน เครือขาย เพอื่ ให้สมาชกิ ในเครือขายของตนยดึ ถือ ปฏบิ ัติตามกฏเกณฑแ์ ละไดร้ ับ ประโยชนส์ ูงสุด ผ้ใู ชอ้ นิ เทอร์เนต็ ทกุ คนเข้าใจกฏเกณฑข์ อ้ บงั คบั ของ เครอื ขายน้นั มี ความรับผดิ ชอบตอตนเองและผ้รู วมใชบ้ ริการคนอน่ื และจะตอ้ งรับผิดชอบตอการ กระทาของตนเองท่ีเขา้ ไปขอใชบ้ ริการตางๆ บนเครือขายบนระบบคอมพิวเตอร์ เครอื ขายคอมพิวเตอรท์ ่ีผู้ใชอ้ นิ เทอร์เน็ตเรยี กเข้ามิได้เปน็ เพียงเครือขายขององคก์ ารที่ ผู้ใชส้ ังกดั แตเป็นการเชอ่ื มโยงของเครอื ขายตางๆ เขา้ หากันหลายพันหลายหมื่น เครือขายมีขอ้ มูลขาวสารอยูระหวาง เครอื ขายเป็นจานวนมาก การสงขาวสารใน เครอื ขายน้นั อาจทาให้ขาวสารกระจายเดนิ ทางไปยัง เครือขายอืน่ ๆ อีกเป็นจานวนมาก หรือแม้แตการสงไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกสฉ์ บับหน่ึงก็อาจจะต้อง เดินทางผานเครอื ขาย อีกหลายเครือขายกวาจะถึงปลายทาง ดังนน้ั ผู้ใชบ้ รกิ ารต้องใหค้ วามสาคัญและตระหนกั ถึงปญั หาการบนเครือขายการใช้งาน อยางสรา้ งสรรค์และเกดิ ประโยชนจ์ ะทาให้สังคมอินเทอร์เนต็ ดาเนินไปอยางสรา้ งสรรค์ และเปน็ ประโยชนร์ วมกันอยางดี กิจกรรมบางอยางทไี่ มควรปฏบิ ตั ิจะตอ้ งหลีกเลี่ยงเชน การสงกระจายขาวไปเป็นจานวนมากบนเครอื ขาย การสงเอกสารจดหมายลกู โซ ฯลฯ ส่ิงเหลานี้จะเป็นผลเสียโดยรวมตอผู้ใช้และไมเกิดประโยชน์ใดๆ ตอสังคมอินเทอร์เน็ต ด้วยเหตดุ งั กลาวผใู้ ช้บรกิ ารควรมีความเขา้ ใจและทราบถึงการใช้สังคมออนไลน์ในดา้ น ตางๆ อยางสรา้ งสรรค์ โดยมีคุณธรรม จรยิ ธรรมการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สื่อสาร จะเห็นไดว้ าปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เขา้ มามีบทบาทตอ การดารงชีวติ ประจาวนั ของมนษุ ย์มากข้ึน ซ่งึ เราจะพบวาย่ิงมปี ระโยชน์เพยี งไร เทคโนโลยีสารสนเทศกอาจเป็นภัยมากเทากันหากผู้ใช้ไมมคี วามรู้ความรบั ผดิ ชอบและ นาไปใช้ในทางทไี่ มถกู ตอ้ ง ดังนน้ั ในแตละประเทศจงึ ได้มีการกาหนดระเบียบ กฎเกณฑ์ รวมถึง กฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั เิ พื่อใหเ้ กดิ คุณธรรมและจริยธรรมในการ ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เม่อื พิจารณาถงึ คุณธรรมจรยิ ธรรมเกย่ี วกับการใช้เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์และ สารสนเทศแล้ว

33 ยงั สามารถแยกเป็นอกี 4 ประเด็นซงึ่ จะประกอบดว้ ย 1) ความเป็นสวนตัว (Information Privacy) หมายถึง สิทธทิ ่จี ะอยูตามลาพงั และเปน็ สิทธิท่ีเจา้ ของสามารถทจี่ ะควบคุมขอ้ มลู ของตนเองในการเปดิ เผยให้กับผู้อ่ืน สิทธิน้ี ใชไ้ ด้ครอบคลุมทัง้ ปัจเจกบุคคล กลุมบคุ คล และองค์การตางๆ ปจั จบุ นั มีประเดน็ เกย่ี วกบั ความเป็นสวนตัวท่เี ป็นขอ้ นาสังเกตดงั น้ี (1) การเข้าไปดขู อ้ ความในจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์และการบนั ทึกขอ้ มูลในเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ รวมท้ังการบันทึก-แลกเปลย่ี นขอ้ มูลทีบ่ ุคคลเข้าไปใช้บริการเวบ็ ไซต์ และกลมุ ขาวสาร (2) การใชเ้ ทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤตกิ รรมของบุคคลซ่ึงทาให้ สูญเสยี ความเป็นสวนตัว ซึ่งการกระทาเชนนีถ้ ือเปน็ การผดิ จริยธรรม (3) การใชข้ อ้ มูลของลกู ค้าจากแหลงตางๆ เพือ่ ผลประโยชน์ในการขยายตลาด (4) การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยอู ีเมล หมายเลขบัตรเครดติ และขอ้ มูลสวนตัว อน่ื ๆ เพอื่ นาไปสร้างฐานข้อมลู ประวัตลิ ูกคา้ ขึน้ มาใหม แลว้ นาไปขายให้กบั บุคคลอื่น (5) ดังนั้น เพือ่ เปน็ การปอ้ งกนั การละเมดิ สทิ ธิความเปน็ สวนตัวของข้อมูลและ สารสนเทศ จงึ ควร จะตอ้ งระวงั การใหข้ ้อมลู โดยเฉพาะการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ท่ีมีการใช้ โปรโมช่ัน หรือระบุใหม้ กี าร ลงทะเบยี นกอนเขา้ ใช้บริการ เชน ข้อมลู บัตรเครดิต หรอื ทีอ่ ยอู เี มล 2) ความถูกต้อง (Information Accuracy) ในการจัดทาข้อมูลและสารสนเทศใหม้ คี วาม ถกู ต้องและนาเชื่อถือนัน้ ขอ้ มลู ควรได้รบั การตรวจสอบความถกู ต้องกอนทจ่ี ะนาเข้า ฐานขอ้ มูล รวมถงึ การปรับปรงุ ข้อมูลใหม ความทันสมยั อยเู สมอ นอกจากนี้ ควรให้สิทธิ แกบุคคลในการเข้าไปตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมลู ตนเองดว้ ย 3) ความเป็นเจ้าของ (Information Property) สิทธคิ วามเปน็ เจา้ ของ หมายถงึ กรรมสิทธิใ์ นการ ถอื ครองทรพั ยส์ นิ ซ่ึงอาจเป็นทรัพย์สินทัว่ ไปท่จี ับตอ้ งได้ เชน คอมพวิ เตอร์ รถยนต์ หรืออาจเปน็ ทรพั ยส์ ินทางปัญญา (ความคิด) ที่จับตอ้ งไมได้ เชน บทเพลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แตสามารถถายทอดและบันทกึ ลงในสอื่ ตางๆ ได้ เชน สง่ิ พิมพ์ เทป ซดี ีรอม เปน็ ตน้ โดยในการคัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหก้ ับเพอ่ื น เป็น

34 การกระทาทจี่ ะตอ้ งพจิ ารณาใหร้ อบคอบกอนวาโปรแกรมทีจ่ ะทาการคัดลอกนั้น เป็น โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่ที านมีสทิ ธใ์ นระดับใด 4) การเข้าถึงขอ้ มูล (Data Accessibility) ปจั จบุ นั การเข้าใชง้ านโปรแกรม หรือระบบ คอมพิวเตอร์ มักจะมีการกาหนดสิทธติ ามระดับของผูใ้ ช้งาน ทง้ั นี้ เพ่อื เป็นการป้องกัน การเขา้ ไปดาเนินการตางๆ กบั ขอ้ มลู ของผู้ใชท้ ี่ไมมีสวนเกยี่ วข้องและเปน็ การธารงไว้ซ่งึ ความลับของขอ้ มูล การเข้าถงึ ขอ้ มูลของผู้อ่นื โดยไมได้รับความยนิ ยอมนน้ั ก็ถอื เปน็ การ ผิดจริยธรรมเชนเดียวกับการละเมิดข้อมูลสวนตวั (กิดานนั ท์ มลิทอง, 2540) 3.2 คุณลกั ษณะจรรยาบรรณทางเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารท่พี งึ ประสงค์ จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ เปน็ ส่งิ ท่ีผ้ปู ระกอบการ นกั คอมพิวเตอรแ์ ละผู้ใช้ ตอ้ งตระหนกั ถงึ รวมกนั เพอื่ ความสงบสุขในสงั คมสารสนเทศ สารสนเทศสวนบคุ คล (Personal Information) ปัจจบุ ันน้ีทงั้ องคก์ ารของรฐั และเอกชน ล้วนแลว้ แตได้รบั ความสะดวกในการเกบ็ ข้อมูลสวนบุคคลของลกู ค้า เชน ในงาน ทะเบียนราษฎร โรงพยาบาล สานกั งานทนายความ บรษิ ัทประกันภัย ระบบธนาคาร เป็นต้น ซง่ึ เป็นส่ิงท่ีบคุ คลมีสทิ ธิในขอ้ มลู ของตน องคก์ ารหรอื หนวยงานมบิ งั ควร เผยแพรข้อมลู สวนบคุ คลสูสาธารณะชน รวมท้งั การสงข้อความหรอื เอกสารทาง อนิ เทอร์เนต็ ระหวางบุคคล ปจั จุบันนมี้ ีความเส่ียงในเรือ่ งของความปลอดภัย เพราะอาจ มีผู้แอบเปดิ จดหมาย หรือขอ้ ความสวนตวั บนระบบเครือขายได้ บางกรณอี าจเป็นการ ใช้สารสนเทศในการทาลายช่อื เสียงหรอื หาผลประโยชน์ในทางมชิ อบ บางกรณี หนวยงานของรัฐอาจใชข้ ้อมลู สวนบุคคลในการตรวจสอบภาษรี ายได้ กรณีทไี่ มจาย ภาษีตามที่เป็นจริง บางกรณกี เ็ ปน็ ประโยชนใ์ นการตรวจสอบสนิ คา้ หนภี าษี หรอื สินคา้ ต้องหา้ มในผ้โู ดยสารเทีย่ วบินตางๆ จะเห็นไดว้ าเร่ืองของสารสนเทศ สวนบุคคล สามารถนาไปใชไ้ ด้ทัง้ ในทางทีด่ แี ละไมดี ดังนัน้ ผ้เู กยี่ วขอ้ งจะต้องตระหนกั ถงึ บทบาท และจรรยาบรรณ ในการประกอบอาชีพของตนทเี่ กีย่ วขอ้ งกับขอ้ มลู สวนบคุ คลของผู้อ่ืน อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เกดิ ขึ้นไดใ้ นหลายรปู แบบ เชน การลักลอบทาสาเนาซอฟต์แวร์เพ่อื จาหนาย การขโมย ขอ้ มูลสารสนเทศในขณะทสี่ งข้อมลู ผานระบบเครอื ขาย การแอบใช้รหสั ผานของผมู้ ี

35 อานาจเพอื่ เข้าถึงและเรยี กใชข้ ้อมูลท่ีเปน็ ความลับของหนวยงาน การแอบใช้อปุ กรณ์ เชน CPU ของระบบเมนเฟรมเพื่องานสวนตวั การขโมยฮาร์ดแวร์ การทาลายระบบ ข้อมูล รวมท้ังการปฏบิ ัตกิ ารของกลมุ ที่เรยี กวา hacker ซ่งึ สวนใหญจะเปน็ การพยายาม เขา้ ใชร้ ะบบสารสนเทศของผู้อ่นื โดยไมได้รับ อนญุ าต โดยเฉพาะการเขา้ สูระบบ เครือขายสารสนเทศของผ้อู นื่ โดยใช้รหสั ปลอม เป็นตน้ โดยสามารถสรุปประเด็นตางๆ ในการทาความผดิ ทางจริยธรรมและผิดกฎหมายได้ดังน้ี การกระทาความผิดจรยิ ธรรมและผดิ กฎหมาย 1) การขโมยข้อมลู ทางอนิ เทอร์เน็ต ซ่ึงรวมถึงการขโมยประโยชนใ์ นการลกั ลอบใช้ บรกิ าร 2) อาชญากรรมนาเอาระบบการสอ่ื สารมาปกปดิ ความรับผดิ ของตนเอง 3) การละเมิดลขิ สทิ ธิ์ปลอมแปลง เลยี นแบบระบบซอฟต์แวร์ โดยมิชอบ 4) ใช้คอมพวิ เตอรฟ์ อกเงิน 5) ไปกอกวน ระบายสาธารณปู โภค เชน ระบบจายนา้ จายไฟ ระบบการจราจร 6) ใชค้ อมพวิ เตอร์แพรภาพ เสยี ง ลามกอนาจาร และขอ้ มลู ที่ไมเหมาะสม 7) หลอกลวงใหร้ วมคา้ ขายหรือลงทุนปลอม 8) แทรกแซงข้อมลู แล้วนาข้อมลู นนั้ มาเป็นประโยชน์ตอตนโดยมิชอบ 9) ใชค้ อมพวิ เตอรแ์ อบโอนเงนิ ในบญั ชีผู้อื่น เข้าบัญชตี ัวเอง Netiquette เป็นคาท่มี าจาก “Network Etiquette” หมายถงึ จรรยาบรรณของการ อยูรวมกนั ในสงั คมอินเทอร์เน็ต หรือ Cyberspace ซงึ่ เป็นพ้ืนที่ที่เปิดโอกาสให้ผคู้ นเขา้ มาแลกเปล่ยี น สื่อสาร และทากจิ กรรมรวมกนั ชมุ ชนใหญบา้ งเล็กบ้างบนอินเทอร์เน็ต น้นั กไ็ มตางจากสงั คมบนโลกแหงความเปน็ จรงิ ซ่งึ จาเป็นตอ้ งมกี ฎกติกา (Codes of Conduct) เพอื่ ใช้เป็นกลไกสาหรบั การกากบั ดูแลพฤติกรรมและการปฏิสัมพนั ธ์ของ สมาชกิ จรรยาบรรณการใช้อินเทอรเ์ นต็ (Netiquette) คอื กริ ยิ าอาการทพ่ี ึงประพฤติปฏิบัตใิ น

36 การอยรู วมกนั อยางสันติในสังคม กลาวอกี นัยหนึ่ง คอื มารยาทอินเทอรเ์ นต็ คอื วิธี ประพฤติตนทเ่ี หมาะสมเมอ่ื ใช้อนิ เทอร์เนต็ Netiquette มดี งั ตอไปน้ี 1) อยาลมื วาเรากาลงั ติดตอกับคนท่ีมีตัวตนอยูจรงิ กอนสงอีเมลหรือโพสต์ข้อความ อะไรบนอนิ เทอร์เน็ต ต้องถามตวั เองกอนวา ถา้ เจอกันตอหนา้ คณุ จะพูดแบบนกี้ บั เขา หรือไม ถา้ คาตอบคือไมก็จงแก้ไขข้อความนน้ั แลว้ อานใหมอีกคร้ัง ทาแบบน้ซี ้าๆ จน รู้สกึ วาไมลาบากใจทจี่ ะพูดแบบน้ีกบั ใครแล้วจึงคอยสง 2) การสอื่ สารออนไลนใ์ ห้ยึดมาตรฐานความประพฤตเิ ดียวกบั การส่ือสารในชีวติ จรงิ คนสวนใหญมกั จะเคารพกฎหมายเพราะกลวั โดนจับ แตในโลกอินเทอรเ์ น็ตโอกาสถกู จบั มีนอ้ ย กจ็ ะปฏบิ ัตติ อกันโดยมมี าตรฐานทางศีลธรรมตา่ กวาในโลกแหงความเปน็ จริง ถ้าอยากทาอะไรผิดกฎหมายใน Cyberspace สิ่งท่คี ุณกาลังจะทานน้ั กน็ าจะผดิ ดว้ ย 3) รู้วาคณุ อยูท่ไี หนใน Cyberspace การกระทาอะไรกต็ ามอาจเปน็ เรือ่ งยอมรบั ได้ในท่ี แหงหน่ึง แตถา้ เป็นทแี่ หงอนื่ ๆ อาจจะไมใช ลองใชเ้ วลาสกั พกั สงั เกตการณก์ อนวา ที่นัน่ เขาคยุ อะไรกนั ปฏิบัติตอกันอยางไร หรือเข้าไปอานขอ้ ความเกาๆ จากน้ันคอยเขา้ ไปมี สวนรวมกบั เขา 4) เคารพเวลาและการใช้ Bandwidth ปัจจุบนั ดเู หมือนคนจะมเี วลาน้อยลงกวาที่เคย เป็นมามากนกั เมือ่ คณุ สงอเี มลหรือโพสต์ขอ้ ความลงอินเทอร์เน็ต รไู้ ว้วาคุณกาลงั ให้คน อ่ืนเสยี เวลามาอาน ดังนั้นเปน็ ความรับผิดชอบทค่ี ณุ ควรแนใจกอนสงวา ข้อความหรอื อเี มลนัน้ ไมทาใหผ้ ู้รบั เสียเวลา 5) การสอื่ สารบนโลกออนไลน์ โลกอินเทอรเ์ น็ตก็เหมือนโลกแหงความเป็นจริง คนที่ สื่อสารกนั ในนัน้ อยากให้คนอนื่ ชอบ แตคุณไมต้องถูกตัดสินด้วย สผี ิว สตี า สีผม น้าหนกั อายุ หรือการแตงตัวของคณุ คณุ จะถกู ตดั สินผานคุณภาพของสง่ิ ท่ีคณุ เขยี น ดังนน้ั การสะกดคาให้ถูกและเขียนใหต้ รงตามหลกั ไวยากรณจ์ ึงเป็นเรือ่ งสาคัญ ควรรู้วา ตัวเองกาลงั พูดอะไรอยู และพูดอยางมเี หตุมผี ล 6) แบงปนั ความรูข้ องผเู้ ชี่ยวชาญ จดุ แข็งของ Cyberspace คอื มีผ้เู ช่ยี วชาญมากมาย ท่ีอานคาถามบนอินเทอร์เนต็ และถงึ แมว้ าจะมสี วนนอ้ ยมากในจานวนนัน้ ทต่ี อบคาถาม ความรู้โดยรวมของโลกก็เพม่ิ ขนึ้ อยูดี แม้วามารยาทการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ จะมขี ้อห้ามยาว

37 เหยียด คุณก็มีความรทู้ ่เี ป็นประโยชน์กับคนอื่น อยากลัวท่จี ะแบงปันในสง่ิ ที่คณุ รู้ 7) เวลาที่ตอ้ งการแสดงความคดิ เห็นอยางรุนแรง ควรรู้จกั ยับยั้งชัง่ ใจ หรือพยายาม ควบคมุ อารมณข์ องตนใหม้ าก 8) เคารพความเปน็ สวนตัวของผอู้ ่นื คณุ ไมควรไปเปดิ อานอเี มลของคนอน่ื การไม เคารพความเปน็ สวนตวั ของผอู้ นื่ เปน็ มารยาทการใชอ้ ินเทอร์เน็ตท่ีไมดี 9) อยาใชอ้ านาจในทางไมสร้างสรรค์ การรมู้ ากกวาคนอืน่ หรอื มอี านาจมากกวาไมได้ แปลวา คุณมีสทิ ธทิ ่ีจะเอาเปรียบคนอ่นื ได้ เชน ผู้ดูแลระบบไมควรอานอีเมลสวนตวั ของ คนอ่นื ใหอ้ ภยั ในความผดิ พลาดของผอู้ นื่ ทุกคนเคยเปน็ มอื ใหมมากอน บางคนจงึ ทา ผิดพลาดในแงมารยาทการใช้อนิ เทอร์เนต็ จงใจเย็นเข้าไว้ ถ้าคุณตดั สนิ ใจจะบอกคนที่ ทาผิดมารยาทการใช้อินเทอรเ์ น็ต ก็จงบอกอยางสุภาพและเปน็ สวนตวั ดกี วาไปป่าว ประกาศใหค้ นอ่นื รับรดู้ ว้ ย จงให้โอกาสในความไมรขู้ องคนอืน่ การประณามวาผู้อ่นื ไมมี มารยาทตรงๆ ก็มกั จะเป็นตัวอยางของมารยาททไี่ มดเี ชนกนั 3.3 แนวทางป้องกันและแกไ้ ขปัญหาสังคมทเ่ี กดิ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3.1 ปญั หาทเี่ กิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ในยคุ ของเทคโนโลยีสารสนเทศนี้ มนุษย์ได้รบั ประโยชนม์ หาศาล ในขณะเดียวกัน เทคโนโลยีกไ็ ดเ้ ข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีของชีวติ มนุษย์ และไดก้ อใหเ้ กดิ ปัญหาสงั คมขึน้ อยางมากมาย การเรียนรู้เพ่ือสรา้ งความเข้าใจในปัญหาสงั คมที่เกดิ จากเทคโนโลยี สารสนเทศ ทัง้ นก้ี ็เพอ่ื ที่มนษุ ยจ์ ะสามารถดารงอยรู วมกบั เทคโนโลยีใหมนไ้ี ดอ้ ยาง ชาญ ฉลาด การศกึ ษาหาแนวทางในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาสังคมทเ่ี กดิ จากเทคโนโลยี สารสนเทศเปน็ สิ่งท่จี ะต้องทาควบคกู ันไปกบั การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยี ประเดน็ เรอื่ งจรยิ ธรรมเป็นส่ิงสาคญั ในการนาไปสูปญั หาและวธิ ีการแก้ปัญหา การสรา้ ง วฒั นธรรมทดี่ ใี นสังคมจะชวยแกป้ ัญหาสังคมเหลานี้ได้ในระดบั หนึ่ง และเม่ือปญั หามี ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นก็มีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งใช้กฎหมายมา ใช้บังคับ เราสามารถ พิจารณาปัญหาสงั คมท่เี กดิ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จากการวเิ คราะหท์ ัศนคตติ อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในมมุ มองท่แี ตกตางกัน ไดด้ ังน้ี 1) มมุ มองวาเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ เครอ่ื งมอื ท่ีมีไว้เพอ่ื ให้มนษุ ย์บรรลวุ ัตถุประสงค์

38 เม่ือ มองวาเทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ เครือ่ งมือ เครื่องมือบางอยางก็มปี ระโยชน์มาก บางอยางก็มีประโยชนน์ ้อย และบางอยางกไ็ มมีประโยชน์ การเลือกใชเ้ ครอ่ื งมอื จะ สงผลตอวธิ กี ารทางานของมนษุ ย์ เชน พฤติกรรมในการเขยี นของผูใ้ ชโ้ ปรแกรมประมวล คา จะแตกตางไปจากผใู้ ช้กระดาษและปากกา เป็นตน้ ภายใต้มมุ มองในลกั ษณะนี้ เรา จะตอ้ งวิเคราะหแ์ ละทาความเข้าใจถึงผลกระทบทางสงั คมที่จะเกดิ ข้ึน จากการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ เคร่ืองมือในชีวิตประจาวัน ยกตัวอยางเชนเราอาจตอ้ งการหา คาตอบวา การทมี่ นษุ ย์ใช้โทรศพั ทม์ ือถอื ไดท้ าใหค้ วามสมั พนั ธ์ระหวางบคุ คล เปล่ยี นแปลงไปอยางไร ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือไมมคี วามจาเป็นจะต้องทาการจดจา หมายเลขโทรศัพท์ของผู้ ท่ตี อ้ งการติดตอดว้ ยอีกตอไป หรอื เราอาจตอ้ งการหาคาตอบ วา อนิ เทอรเ์ น็ตมีผลอยางไรตอการศกึ ษา หรอื คาตอบจากคาถามที่วา โทรทัศนว์ งจรปิด กระทบกับสิทธิสวนบคุ คลหรือไม ในมุมมองที่วาเทคโนโลยี เป็นเครือ่ งมือท่ีมไี ว้เพอ่ื ให้ มนษุ ยบ์ รรลวุ ัตถปุ ระสงคน์ ี้ ได้ถูกวพิ ากษว์ า เทคโนโลยจี ะเปน็ ตวั กาหนดการคิดและการ กระทาของมนุษย์ เชน การใช้แป้นพมิ พค์ อมพิวเตอร์ จะสงผลตอความสามารถในการ เขยี นตวั หนงั สือของมนุษย์ เปน็ ต้น 2) มมุ มองวาเทคโนโลยสี ารสนเทศและสังคมตางกม็ ีผลกระทบซ่งึ กันและกนั ภายใต้ มมุ มองแบบนีม้ คี วามเห็นวาสงั คมสงผลกระทบตอเทคโนโลยี ทั้งนโ้ี ดยอาศยั แรง ขับเคล่อื นทางวัฒนธรรม การเมอื ง และเศรษฐกจิ เป็นเหตุปจั จัยในการออกแบบ เทคโนโลยี ยกตวั อยางเชน การออกแบบให้คอมพิวเตอรส์ ามารถทางานหลายๆ งานได้ ในขณะเดียวกนั เป็นผลมาจากประเดน็ ทางเศรษฐกิจ เพ่ือให้ประหยัดทรพั ยากรของ หนวยประมวลผลกลาง หรอื อกี ตัวอยางหน่งึ ได้แกกระแสความตอ้ งการการส่ือสารท่ี รวดเร็วท่ัวถงึ ได้ ผลักดันให้เกดิ อนิ เทอร์เน็ตขน้ึ ในขณะเดียวกนั เทคโนโลยีสารสนเทศก็ได้ สงผลกระทบตอสงั คมเชนกนั การพฒั นาอยางรวดเรว็ ของเทคโนโลยี เชนระบบ อนิ เทอร์เน็ต ทาใหร้ ปู แบบการติดตอสือ่ สารของสังคมเปลยี่ นแปลงไป ผ้คู นจานวนมาก จะติดตอกนั ด้วยอีเมล แทนการเขียนจดหมาย มกี ารติดตอซอื้ ขายผานระบบ อนิ เทอร์เน็ตมากขึน้ มกี ารใชล้ อลวงกนั โดยใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเป็นสอ่ื มากขนึ้ ภายใตม้ ุมมอง ในลกั ษณะนท้ี ง้ั เทคโนโลยีสารสนเทศและสงั คม ตางก็มอี ทิ ธพิ ลซง่ึ กนั และกนั

39 โดยเฉพาะอยางยงิ่ การพัฒนาเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีก็เปน็ ผลมาจากกระบวนการ ทซ่ี บั ซอ้ นและลกึ ซง้ึ ทางสังคมเชนกนั 3) มุมมองวาเทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นกลไกในการดารงชวี ติ ของมนุษยภ์ ายใต้มมุ มอง ในลักษณะน้จี ะมองวาเทคโนโลยสี ารสนเทศจะเป็นกลไกสาคัญในการกาหนด ชวี ิต ความเป็นอยูของมนุษย์ ยกตัวอยางเชน การตดิ ตอสื่อสารของมนษุ ย์ จะถูกกาหนดวา เปน็ สิง่ ทตี่ อ้ งพึง่ พาเทคโนโลยี ซึง่ ในโลกน้กี ็มีเทคโนโลยีการสื่อสารอยหู ลายรูปแบบ แต เทคโนโลยีทีม่ คี วามเสถยี รจะเปน็ ทางเลอื กและมนุษยจ์ ะใช้เปน็ กลไกในการดารง ชีวติ ดงั เชน คนทีม่ ีและใช้โทรศพั ท์มือถอื จะแตกตางไปจากคนทไี่ มมโี ทรศัพท์มือถือตดิ ตวั การทม่ี โี ทรศพั ทม์ ือถอื แสดงใหเ้ หน็ วาเปน็ คนท่ีสามารถตดิ ตอไดส้ ะดวก และเขา้ ถงึ ได้ งายกวาคนที่ไมมีโทรศพั ท์มือถอื ตดิ ตวั จะเหน็ ได้วากลไกการดารงชีวติ ของคนที่ใช้ โทรศพั ทม์ ือถือ และไมใช้โทรศพั ท์มือถือน้ันแตกตางกนั เชนเดยี วกัน กลไกในการ ดารงชีวิตของสังคมที่ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ก็จะแตกตางจากสงั คมอนื่ ทไ่ี มใชอ้ ินเทอร์เน็ต เป็น ตน้ จากมมุ มองตาง ๆ ทง้ั สามท่ีกลาวมาแล้วข้างต้น เราสามารถนามาพิจารณาปญั หา สังคมท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ กับเทคโนโลยสี ารสนเทศได้ ตลอดจนใช้สงั เคราะหส์ ร้างความ เขา้ ใจตอปญั หาทางสงั คมตางๆ ท่ีเกิดขนึ้ แลว้ ในสงั คม ท้ังนก้ี ็เพื่อประโยชนใ์ นการ หาทางปอ้ งกัน แกไ้ ข หรอื บรรเทาปญั หาสังคมทเ่ี กิดจากการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ตอไปอยางไรกต็ ามการที่ตดั สินวากรณีใด เป็นสาเหตขุ องปญั หาสงั คมนัน้ ไมใชเรอื่ งงาย เชนเดียวกันกับวธิ ีการแก้ปญั หาเหลาน้ัน ในแตละกรณนี ั้นจะมคี วามซับซอ้ นทแี่ ตกตาง กันไป ยกตัวอยางเชน การแก้ปญั หาเดก็ ติดเกม ซ่งึ เปน็ ปญั หาสาคญั ปัญหาหนึง่ ใน ปัจจบุ นั วิธกี ารแก้ปญั หาอาจจะมีหลากหลาย แตวิธีการที่ยง่ั ยนื กวากค็ ือการสรา้ งความ เข้มแขง็ ให้กบั สมาชกิ ของสังคมที่ จะไมลมุ หลงกบั เร่ืองหนึง่ เรอ่ื งใดมากเกนิ ไป นอกจากนั้นปัญหาของสังคมเหลานี้ ยงั มีความสัมพันธ์กบั เรอื่ งของจริยธรรม วัฒนธรรม และการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย หรือมาตรฐานปฏบิ ตั ิแหงสังคมนัน้ ๆ อกี ดว้ ยในที่นจ้ี ะขอ ยกตัวอยางการวเิ คราะห์ปญั หาสังคม การลอลวงกันทางอนิ เทอรเ์ น็ต โดยผานทาง โปรแกรมทีส่ ามารถโต้ตอบกันทันทผี านทางอนิ เทอรเ์ นต็ ซงึ่ โดยปกตโิ ปรแกรมนี้มไี ว้ สาหรับใหผ้ ูใ้ ชต้ ดิ ตอสงขอ้ มลู ขาวสารระหวางกัน ซง่ึ บุคคลทเี่ ราตดิ ตอดว้ ยน้นั พงึ เป็น

40 บุคคลท่เี รารูจ้ ัก เร่ืองราวทต่ี ดิ ตอกันนาจะตอ้ งเป็นเรอื่ งท่ีดมี ปี ระโยชน์ การวเิ คราะห์ ขอ้ มูลขาวสารกเ็ ปน็ หนา้ ท่ีของผรู้ ับขอ้ มลู ขาวสาร ผู้ใช้พงึ กล่นั กรองข้อมลู ขาวสารทีไ่ ด้รับ ใหด้ ี การเข้าไปมีความรสู้ ึกลมุ หลงโดยปราศจากการไตรตรอง อาจเป็นสาเหตทุ ่ที าให้ ถกู ลอลวงได้ ในกรณีท่ผี ู้ใช้เปน็ เด็ก ผเู้ กีย่ วข้องจะตอ้ งพจิ ารณาวาถงึ วัยอันควรแลว้ หรือ ยังทเี่ ดก็ จะได้รับ อนุญาตใหใ้ ชโ้ ปรแกรมเหลานี้ได้ การสรา้ งภูมิคมุ้ กนั ในตวั เด็กให้ แขง็ แรง ดว้ ยการให้ความรกั ความเอาใจใส จะชวยบรรเทาปญั หาในลกั ษณะนี้ได้ใน บางคร้งั อาจมกี ารเสนอให้ยกเลิกการใชเ้ ทคโนโลยีทก่ี อให้เกดิ ปัญหา ขอ้ เสนอนอ้ี าจใช้ ไมได้กบั กรณีของเทคโนโลยสี ารสนเทศ มนษุ ย์ได้ใช้เทคโนโลยีนีเ้ ป็นกลไกสวนหนึ่งของ ชีวิตไปแล้ว การหยุดหรือ ถอยกลับเป็นส่ิงทีท่ าได้ยาก เพราะเทคโนโลยสี ารสนเทศเอง ก็มปี ระโยชนม์ หาศาล ดงั นัน้ จึงไมมีทางเลอื กอ่นื อีกตอไปแล้ว นอกจากจะสร้าง ภมู ิค้มุ กนั ใหส้ มาชิกในสงั คมของเราใหส้ ามารถดารงอยูกับ เทคโนโลยีสารสนเทศอยาง ชาญฉลาดและร้เู ทาทนั ภัยจากเทคโนโลยเี หลาน้ีเทานน้ั 3.3.2 บัญญตั ิ 10 ประการในการใช้อินเทอร์เน็ต และเครอื ขายทางสังคม บญั ญัติ 10 ประการ เปน็ จรรยาบรรณทผ่ี ใู้ ช้อินเทอร์เนต็ ยดึ ถอื ไว้เสมือนเปน็ แมบทของ การปฏบิ ตั ิ ผูใ้ ช้พึงระลกึ และเตือนความจาเสมอ มีดงั น้ี 1) ต้องไมใช้คอมพวิ เตอรท์ าร้าย หรือละเมิดผู้อ่นื 2) ตอ้ งไมรบกวนการทางานของผูอ้ ื่น 3) ต้องไมสอดแนม แก้ไข หรอื เปิดดแู ฟม้ ขอ้ มูลของผอู้ ่นื 4) ตอ้ งไมใชค้ อมพวิ เตอร์เพอื่ การโจรกรรมข้อมลู ขาวสาร 5) ต้องไมใช้คอมพิวเตอร์สรา้ งหลกั ฐานท่เี ป็นเท็จ 6) ตอ้ งไมคัดลอกโปรแกรมของผ้อู น่ื ที่มลี ขิ สิทธิ์ 7) ต้องไมละเมดิ การใช้ทรพั ยากรคอมพิวเตอร์โดยท่ีตนเองไมมสี ทิ ธ์ิ 8) ตอ้ งไมนาเอาผลงานของผอู้ ่ืนมาเป็นของตน 9) ตอ้ งคานึงถงึ สงิ่ ที่จะเกิดข้นึ กบั สังคมอันตดิ ตามมาจากการกระทาของทาน 10) ต้องใชค้ อมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบยี บ กติกา และมมี ารยาท จรรยาบรรณเป็นสง่ิ ที่ทาใหส้ ังคมอนิ เทอร์เน็ตเปน็ ระเบียบ ความรับผดิ ชอบตอสังคมเป็น

41 เรอ่ื งทีจ่ ะต้องปลูกฝงั กฎเกณฑ์ ของแตละเครอื ขาย จะตอ้ งมีการวางระเบยี บ เพอ่ื ให้การ ดาเนินงานเป็นไปอยางมีระบบ และเออ้ื ประโยชน์ซ่ึงกันและกัน บางเครือขายมี บทลงโทษที่ชดั เจน เชน การปฏิบตั ผิ ดิ กฎเกณฑ์ของเครอื ขาย จะต้องตัดสิทธกิ์ ารเปน็ ผใู้ ช้ของเครือขาย ในอนาคตจะมกี ารใชเ้ ครอื ขายคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ จานวนมาก จรรยาบรรณจึงเปน็ สง่ิ ท่ี ชวยใหส้ ังคมอินเทอรเ์ น็ตสงบสุข หากมกี ารละเมดิ อยางรนุ แรง กฎหมายจะเข้ามามี บทบาทตอไป (โครงการเครือขายคอมพวิ เตอร์เพอ่ื โรงเรยี นไทย : http://www.school.net.th/) 3.3.3 การกระต้นุ ให้เกิดคุณธรรม จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่ือสาร สงั คมปัจจุบนั กาลังเปล่ยี นแปลงอยางรวดเร็ว ทศิ ทางการเปล่ียนแปลงสงั คมอาจเปน็ ไป ได้ท้ังในเชิงบวก หรอื เชิงก้าวหนา้ สงผลท่ีพงึ ปรารถนาแกผอู้ ยภู ายใต้กระแสการ เปล่ียนแปลง และเปน็ ไปได้ ในทางตรงกันขา้ ม คอื เชงิ ลบหรอื เชิงถดถอย ซ่งึ สงผลเปน็ ความเส่ือมโทรมและความไมพึงปราถนาตางๆ แกบคุ คลในสังคม โดยการใช้ ยุทธศาสตรเ์ พอ่ื เป็นการกระต้นุ และมงุ พัฒนาบุคคลให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ มีวินัย ระเบยี บกฎเกณฑใ์ นสงั คม และปรับตวั อยรู วมกบั บุคคลอน่ื ไดอ้ ยางมีความสงบสุข และ ให้บุคคลมีจติ ใจหนักแนนในการทาความดี ดว้ ย ความขยนั และไมหว่ันไหวกับอารมณ์ ตางๆ ทมี่ า กระทบ โดยมีความมุงมนั่ เพ่ือให้จติ ใจมีความสวาง สงบ สะอาด ด้วยวธิ ีการ ถกู ตอ้ งในหลกั การปฏบิ ัติ เพื่อใหบ้ รรลุถงึ คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ จงึ มีการประมวลเปน็ ยทุ ธศาสตร์การกระตนุ้ ดงั นี้ 1) สรา้ งแรงจูงใจให้เกิดการกระตุน้ พัฒนาตนเอง (Motivation for development) หมายถึง ความกระตือรือร้นในการสรา้ งสรรคส์ ิง่ ทีด่ งี ามและมคี ณุ ประโยชน์ตอตนเอง และตอสงั คม รวมทัง้ ตอ สิ่งแวดล้อม ความรกั ในการสรา้ งสรรคท์ ีด่ งี ามจะตอ้ ง ปลกู ฝงั ให้เกดิ ขนึ้ อยางยง่ั ยืน 2) สร้างแรงกระตนุ้ ใหบ้ คุ คลเกดิ ความกระตือรือร้น ยุทธศาสตร์ในการกระตนุ้ ใหบ้ ุคคล

42 อ่นื ต่ืนตัวมีกาลังท่จี ะพัฒนาตัวเองให้กา้ วหนา้ ไปตามลาดบั มหี ลายขึ้นตอน เชน (1) กระตุ้นใหม้ คี วามเช่อื มัน่ (2) กระตนุ้ ใหป้ ฏิบตั ิตนตามระเบียบแบบแผน (3) กระตนุ้ ใหม้ คี วามขยันและพยายามอยางตอเนอ่ื ง (4) การกระตนุ้ ให้เหน็ แกประโยชน์สวนรวม (5) การกระตุ้นให้แสวงหาและพฒั นาสตปิ ัญญา อ้างองิ จาก http://www.cyberscout.in.th สรุป 13 ข้อ สาระสาคญั จาง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพ์ 60 มผี ลบังคับใชแ้ ลว้ May 26, 2017 pigabyte 1,033,948 17.3K ถา้ ยังจากันไดถ้ ึงการผลักดน้ พระราชบัญญตั ิ (พ.ร.บ.) วาดว้ ยการกระทาความผดิ เก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 ท่ีสภานติ บิ ัญญตั ิแหงชาตใิ หค้ วามเหน็ ชอบเม่ือ เดอื นธนั วาคม เมอ่ื ปีที่ผานมา (2559) และไดป้ ระกาศลงราชกิจจานเุ บกษาเมื่อ วันท่ี 24 มกราคม ลาสดุ มีผลบงั คับใช้แล้วในวันที่ 24 พ.ค.น้ี เตอื นความจากันสักหนอย เพือ่ การใชอ้ อนไลน์อยางถกู กฎหมาย สาหรับ สาระสาคัญที่หลายคนควรพึงระวังใน พ.ร.บ.วาดว้ ยกระทาความผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบับ 2มสี าระสาคัญจางายๆ ดงั นี้

43 พรบไซเบอร์ พรบ คอมพิวเตอร์ สรุป 13 ขอ้ สาระสาคัญจางายๆ พ.ร.บ.คอมพ์ 60 มผี ลบงั คบั ใช้แลว้ 1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถอื เป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 2. สง SMS โฆษณา โดยไมรบั ความยนิ ยอม ให้ผู้รบั สามารถปฏเิ สธข้อมูลนน้ั ได้ ไมเชนน้ันถอื เปน็ สแปม ปรบั 200,000 บาท 3. สง Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรบั 200,000 บาท 4. กด Like ได้ไมผดิ พ.ร.บ.คอมพฯ์ ยกเว้นการกดไลค์ เป็นเรอื่ งเกยี่ วกบั สถาบนั เสี่ยงเข้าขายความผดิ มาตรา 112 หรอื มีความผิดรวม 5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร หากข้อมูลทีแ่ ชรม์ ผี ลกระทบตอผู้อ่นื อาจเขา้ ขายความผดิ ตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ โดยเฉพาะท่กี ระทบตอบคุ คลที่ 3 6. พบข้อมูลผิดกฎหมายอยใู นระบบคอมพวิ เตอรข์ องเรา แตไมใชสิ่งทีเ่ จา้ ของ คอมพิวเตอร์กระทาเอง สามารถแจ้งไปยังหนวยงานทร่ี บั ผดิ ชอบได้ หากแจ้งแลว้ ลบข้อมลู ออกเจา้ ของกจ็ ะไมมคี วามผดิ ตามกฎหมาย เชน ความเห็นในเวบ็ ไซตต์ าง ๆ รวมไปถงึ เฟซบกุ๊ ที่ให้แสดงความคดิ เห็น หากพบวาการแสดงความเห็นผดิ กฎหมาย เมอื่ แจ้งไปทห่ี นวยงานทีร่ บั ผิดชอบเพ่ือลบไดท้ นั ที เจา้ ของระบบเว็บไซต์ จะไมมีความผดิ 7.สาหรบั แอดมินเพจ ทเี่ ปิดให้มกี ารแสดงความเห็น เม่อื พบขอ้ ความท่ีผิด พ.ร.บ. คอมพ์ฯ เมือ่ ลบออกจากพ้นื ทท่ี ต่ี นดแู ลแล้ว จะถือเป็นผู้พน้ ผดิ

44 8. ไมโพสต์สิ่งลามกอนาจาร ทที่ าให้เกิดการเผยแพรสูประชาชนได้ 9. การโพสเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน ตอ้ งปดิ บังใบหนา้ ยกเว้นเม่ือเป็นการเชิดชู ช่ืน ชม อยางใหเ้ กยี รติ 10. การให้ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ผู้เสียชวี ติ ต้องไมทาให้เกดิ ความเสื่อมเสียเช่อื เสยี ง หรือ ถูกดหู มน่ิ เกลยี ดชัง ญาตสิ ามารถฟอ้ งร้องได้ตามกฎหมาย 11. การโพสต์ดาวาผ้อู ่ืน มกี ฏหมายอาญาอยแู ลว้ ไมมขี ้อมลู จรงิ หรอื ถูกตัดตอ ผู้ ถกู กลาวหา เอาผิดผู้โพสตไ์ ด้ และมโี ทษจาคุกไมเกิน 3 ปี ปรับไมเกิน 200,000 บาท 12. ไมทาการละเมิดลขิ สิทธผ์ิ ใู้ ด ไมวาขอ้ ความ เพลง รูปภาพ หรือวิดีโอ 13. สงรปู ภาพแชรข์ องผู้อื่น เชน สวัสดี อวยพร ไมผิด ถ้าไมเอาภาพไปใชใ้ นเชงิ พาณชิ ย์ หารายได้ นเ่ี ปน็ เพยี งสวนหนึ่งของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ท่มี ีผลบังคับใชแ้ ล้ว ซึ่งยังมีอกี หลาย ประเด็นท่สี งผลกระทบตอการใช้งานส่ือสังคมออนไลน์ ดงั น้นั จงึ ควรรกู้ ฎกติกาการ ใช้งานไวก้ อน กจ็ ะชวยปอ้ งกันไมให้เราเสีย่ งตอการทาผิดกฎหมายไดส้ ามารถคลิก ดาวนโ์ หลดและอานฉบับเต็มได้ ที่นี่ พรบ.คอมพิวเตอร์ ฉบับ 2560 พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ กค็ ือพระราชบัญญตั ิท่วี าด้วยการกระทาผดิ เกย่ี วกับ คอมพิวเตอร์คะ ซ่ึงคอมพิวเตอร์ที่วานก้ี เ็ ป็นได้ท้ังคอมพวิ เตอรต์ ้ังโตะ๊ คอมพวิ เตอร์

45 โนต้ บุค๊ สมาร์ตโฟน รวมถงึ ระบบตางๆ ทถี่ กู ควบคุมดว้ ยระบบคอมพวิ เตอรด์ ว้ ย ซ่ึง เป็นพ.ร.บ.ทีต่ ัง้ ขน้ึ มาเพื่อปอ้ งกนั ควบคุมการกระทาผิดทีจ่ ะเกิดขน้ึ ได้จากการใช้ คอมพิวเตอร์ หากใครกระทาความผิดตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอรน์ ้ี ก็จะตอ้ งได้รับการ ลงโทษตามที่พ.ร.บ.กาหนดไว้ ปจั จุบนั มีคนใชค้ อมพวิ เตอร์ รวมถงึ สมารต์ โฟนเปน็ จานวนมาก บางคนกอ็ าจจะใช้ ในทางท่เี ป็นประโยชน์ แตบางคนก็อาจใช้สง่ิ น้ีทาร้ายคนอนื่ ในทางออ้ มด้วยกไ็ ด้ เราอาจจะได้ยนิ ขาวเรอื่ งการกระทาความผดิ ทางคอมพวิ เตอร์อยูบ้าง ซึ่งบาง เหตุการณ์ก็สร้างความเสียหายไมนอ้ ยเลย เพือ่ จัดการกบั เรือ่ งพวกนี้ เลยตอ้ งมี พ.ร.บ.ออกมาควบคมุ ในเมอื่ การใช้คอมพิวเตอร์เปน็ เร่อื งใกล้ตวั เรา พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ก็เป็นเร่ืองใกลต้ วั เราเชนกนั คะ หากเราไมรู้เอาไว้ เราอาจจะเผลอไป ทาผิด โดยที่เราไมไดต้ ง้ั ใจก็ได้ กรณศี กึ ษา: การทาผดิ ตาม พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ หลงั จากมีการประกาศใชพ้ .ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ฉบับที่ 2 ก็มีเคสทเ่ี ข้าขายกระทา ความผดิ พ.ร.บ.ออกมาใหเ้ หน็ กันบ้างคะ เพื่อสร้างความเข้าใจมากขึน้ เราเลยขอ ยกตัวอยางเคสอาจผิดตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอรม์ าให้อานกันคะ 8 เรื่องท่ีห้ามทา ผิดกฎหมาย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เรามาดกู ันตอกันคะวา แลว้ ข้อห้ามสาคญั ที่ชาวเน็ต หรือคนทางานออนไลนอ์ ยาง พวกเราไมควรทาจะมอี ะไรบา้ ง 1. เข้าถึงระบบ หรอื ขอ้ มูลของผอู้ นื่ โดยไมชอบ (มาตรา 5-8)

46 หากเขา้ ไปเจาะข้อมูลทางคอมพิวเตอรข์ องคนอื่น โดยท่ีเจ้าของข้อมลู ไมได้อนญุ าต (ละเมดิ Privacy) หรือในเคสทเ่ี รารจู้ กั กนั ดกี ็คือ การปลอยไวรัส มัลแวร์เขา้ คอมพิวเตอรค์ นอน่ื เพอื่ เจาะขอ้ มลู บางอยาง หรือพวกแฮคเกอร์ ท่ีเข้าไปขโมย ขอ้ มลู ของคนอน่ื ก็มีความผดิ ตามพ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์คะ บทลงโทษ เขา้ ถงึ ระบบคอมพวิ เตอร์: จาคกุ ไมเกิน 6 เดือน ปรับไมเกิน 1 หมนื่ บาท หรอื ทง้ั จา ทง้ั ปรับ เข้าถงึ ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร:์ จาคุกไมเกิน 2 ปี ปรบั ไมเกนิ 4 หมน่ื บาท หรอื ทั้งจาท้ัง ปรับ ลวงรมู้ าตรการปอ้ งกนั การเขา้ ถงึ ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละนาไปเปดิ เผย: จาคุกไมเกนิ 1 ปี ปรบั ไมเกิน 2 หมื่นบาท หรอื ทั้งจาทั้งปรับ ดักรบั ข้อมลู คอมพิวเตอร:์ จาคกุ ไมเกนิ 2 ปี ปรับไมเกิน 4 หม่นื บาท หรอื ทง้ั จาท้ัง ปรบั 2. แกไ้ ข ดัดแปลง หรอื ทาใหข้ อ้ มลู ผู้อน่ื เสียหาย (มาตรา 9-10) ในขอ้ น้จี ะรวมหมายถึงการทาให้ขอ้ มลู เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพ่มิ เตมิ ข้อมลู ของผู้อ่นื โดยมิชอบ หรอื จะเป็นในกรณที ่ีทาให้ระบบคอมพิวเตอรข์ อง ผู้อน่ื ไมสามารถทางานได้ตามปกติ อยางเชน กรณขี องกลุมคนที่ไมชอบใจกับการ กระทาของอีกฝา่ ย แลว้ ตอตา้ นด้วยการเขา้ ไปขัดขวาง ทารา้ ยระบบเว็บไซตข์ อง ฝา่ ยตรงข้าม ให้บุคคลอ่ืนๆ ใชง้ านไมได้ กม็ ีความผิดคะ

47 บทลงโทษ ต้องระวางโทษจาคุกไมเกิน 5 ปี ปรบั ไมเกนิ 1 แสนบาท หรือทั้งจาท้ัง ปรบั Shifu แนะนา แตถ้าเปน็ กรณีกระทาตอระบบหรอื ข้อมลู คอมพิวเตอร์ตามมาตร 12 หรอื เข้าถึง ระบบ ข้อมูลดา้ นความม่ันคงโดยมชิ อบ จะตอ้ งได้รับโทษจาคกุ 3-15 ปี และปรบั 6 หมน่ื – 3 แสนบาท และถ้าเปน็ เหตุใหเ้ กดิ อนั ตรายตอบุคคลอื่น ต้องได้รับโทษ จาคกุ ไมเกิน 10 ปี และปรับ 2 แสนบาท และถา้ เปน็ เหตุใหบ้ คุ คลอื่นถึงแกความ ตาย ต้องจาคกุ 5-20 ปี และปรบั 1-2 แสนบาท 3. สงข้อมูลหรอื อีเมลกอกวนผ้อู ่ืน หรอื สงอเี มลสแปม (มาตรา 11) พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ขอ้ น้ีกเ็ ข้ากับประเดน็ พอค้า แมค้าออนไลน์ หรอื นกั การตลาดทสี่ งอเี มลขายของที่ ลกู คา้ ไมยินดีทจ่ี ะรบั หรือที่รู้จักกนั วา อเี มลสแปม หรือแม้แตการฝากรา้ นตาม Facebook กบั IG ก็เป็นสง่ิ ทไี่ มควรทาและยังรวมถงึ คนท่ขี โมย Database ลกู ค้าจากคนอ่ืน แล้วสงอีเมลขายของตวั เองคะ บทลงโทษ ถ้าสงโดยปกปดิ หรอื ปลอมแปลงแหลงทมี่ า ปรับไมเกิน 1 แสนบาท และถ้าสงโดย ไมเปดิ โอกาสให้ปฏิเสธตอบรับได้โดยงาน ตอ้ งไดร้ บั โทษจาคุกไมเกนิ 2 ปี ปรบั ไม เกิน 4 หมืน่ บาท หรอื ท้งั จาทง้ั ปรับ

48 Shifu แนะนา การทาการตลาดออนไลน์ทด่ี ี ควรนึกถงึ จติ ใจของผู้บรโิ ภคเป็นสาคัญคะ หากอยาก สงอเี มล กค็ วรที่จะถามความยินยอมจากลูกค้ากอนวาเขาต้องการรับขาวสารจาก เราไหม หรือไมกห็ นั มาทาคอนเทนตด์ ๆี อยาง Inbound Marketing ที่ สามารถดงึ ดดู ลูกคา้ ให้เข้ามาหาคณุ ไดด้ ้วยความเตม็ ใจคะ หรอื หากอยากทราบเทคนคิ การขายบนโลกออนไลน์ทีแ่ ตกตางและไดผ้ ล ลองดู บทความทง้ิ เทคนิคการขายแบบเดมิ ๆ เร่มิ ตน้ วิธีใหมๆ และทากาไร 1 ลา้ นใน 24 ช่วั โมง 4. เข้าถึงระบบ หรือขอ้ มูลทางด้านความมัน่ คงโดยมชิ อบ (มาตรา 12) โพสต์เก่ียวกบั เรือ่ งการเมอื งที่สงผลใหเ้ กดิ ความเสียหายหรอื ความม่นั คงตอ ประเทศ หรอื โพสตท์ เี่ ป็นการกอกวน หรือการกอการรา้ ยข้ึน ก็มคี วามผิดคะ เพราะ มาตรา 12 ได้บอกไว้วาการเขา้ ถึงระบบหรือข้อมลู ทางดา้ นความมง่ั คงโดยมิชอบ หรอื การโพสต์ข้อความในโลกออนไลนท์ ่เี ขาขายขอ้ มลู เทจ็ ท่นี าจะเกิดความ เสียหายตอความม่ันคงของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ หรอื ทาให้ประชาชน เกดิ อาการตน่ื ตระหนก และลวงร้ถู ึงมาตรการการป้องกันการเขา้ ถึงระบบ คอมพวิ เตอรแ์ ละนาไปเปิดเผย บทลงโทษ กรณีไมเกดิ ความเสยี หาย: จาคกุ 1-7 ปี และปรับ 2 หมนื่ – 1.4 แสนบาท กรณีเกิดความเสยี หาย: จาคกุ 1-10 ปี และปรับ 2 หมืน่ – 2 แสนบาท

49 กรณเี ป็นเหตใุ ห้ผอู้ ่นื ถึงแกความตาย: จาคุก 5-20 ปี และปรับ 1 แสน – 4 แสน บาท 5. จาหนายหรือเผยแพรชุดคาส่ังเพ่ือนาไปใช้กระทาความผดิ (มาตรา 13) กรณีทาเพอ่ื เปน็ เครอ่ื งมือในการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ตามมาตรา 5-11 (หรอื ขอ้ 1-3 ในบทความนี)้ ต้องจาคุกไมเกนิ 1 ปี ปรับไมเกนิ 2 หมน่ื บาท หรือทงั้ จาทัง้ ปรบั หากมีผ้นู าไปใชก้ ระทาความผิด ผ้จู าหนายหรอื ผูเ้ ผยแพรต้องรับผิดชอบ รวมดว้ ย กรณีทาเพ่ือเป็นเครือ่ งมือในการกระทาความผิดทางคอมพวิ เตอร์ มาตรา 12 ตอ้ ง จาคกุ ไมเกนิ 2 ปี ปรับไมเกนิ 4 หมน่ื บาท หรอื ทง้ั จาทง้ั ปรบั หากมีผู้นาไปใชก้ ระทา ความผดิ ผจู้ าหนายหรอื ผ้เู ผยแพรตอ้ งรบั ผิดชอบรวมด้วย 6. นาขอ้ มูลท่ผี ิดพ.ร.บ.เขา้ สรู ะบบคอมพิวเตอร์ (มาตรา 14) พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ในความผดิ มาตรา 14 จะระบุโทษการนาขอ้ มลู ทเ่ี ปดิ พ.ร.บ.เขา้ สูระบบ คอมพิวเตอร์ ซึ่งแบงออกเปน็ 5 ขอ้ ความผดิ ด้วยกนั คอื โพสตข์ ้อมลู ปลอม ทุจริต หลอกลวง (อยางเชน ขาวปลอม โฆษณาธรุ กิจลูกโซท่ี หลอกลวงเอาเงินลูกคา้ และไมมีการสงมอบของให้จรงิ ๆ เป็นต้น) โพสต์ข้อมลู ความผดิ เก่ียวกับความมง่ั คงปลอดภยั โพสต์ข้อมูลความผดิ เก่ียวกับความมัน่ คง กอการร้าย

50 โพสตข์ ้อมูลลามก ท่ีประชาชนเข้าถงึ ได้ เผยแพร สงตอข้อมลู ที่รูแ้ ลว้ วาผดิ (อยางเชน กด Share ข้อมลู ท่มี เี นอื้ หาเข้า ขายความผิดพ.ร.บ.คอมพวิ เตอรก์ ็มคี วามผดิ คะ ) บทลงโทษ หากเป็นการกระทาท่สี งผลถงึ ประชาชน ตอ้ งไดร้ ับโทษจาคุกไมเกิน 5 ปี ปรบั ไม เกนิ 1 แสนบาท หรือทง้ั จาทง้ั ปรับ และหากเป็นกรณที ่ีเปน็ การกระทาท่ีสงผลตอบุ คลใดบุคคลหนึ่ง ต้องได้รบั โทษจาคุกไมเกนิ 3 ปี ปรบั ไมเกิน 6 แสนบาท หรอื ทัง้ จา ท้งั ปรบั (แตในกรณอี ยางหลังนส้ี ามารถยอมความกนั ได)้ 7. ใหค้ วามรวมมือ ยินยอม รเู้ หน็ เป็นใจกับผู้รวมกระทาความผิด (มาตรา 15) กรณีนถี้ า้ เทียบใหเ้ หน็ ภาพชดั ๆ กเ็ ชน เพจตางๆ ทเี่ ปดิ ให้มกี ารแสดงความคดิ เห็น แล้วมคี วามคดิ เห็นที่มีเนือ้ หาผดิ กฎหมายกม็ ีความผิดคะ แตถ้าหากแอดมินเพจ ตรวจสอบแลว้ พบเจอ และลบออก จะถือวาเปน็ ผู้ทพ่ี ้นความผดิ บทลงโทษ แตถา้ ไมยอมลบออกตอ้ งได้รบั โทษ ถือวาเป็นผู้กระทาความผดิ ตามมาตร 14 ต้อง ได้รบั โทษเชนเดียวกนั ผู้โพสต์ หรอื แสดงความคิดเห็นทางออนไลน์ แตถ้าผู้ดแู ล ระบบพิสูจนไ์ ด้วา ตนได้ปฏิบตั ติ ามขั้นตอนการแจ้งเตือนแล้วไมตอ้ งรบั โทษ Shifu แนะนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook