Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4. การส่งเสริมการเกษตรในยุคไร้พรมแดน

4. การส่งเสริมการเกษตรในยุคไร้พรมแดน

Published by ปัญญา ภู่ขวัญ, 2021-07-04 02:04:16

Description: 4. การส่งเสริมการเกษตรในยุคไร้พรมแดน

Search

Read the Text Version

1 การส่งเสรมิ การเกษตรในยคุ ไร้พรมแดน โดย ศาสตราจารย์ ดร. ดิเรก ฤกษห์ รา่ ย (อบรมเข้มเสริมประสบการณ์มหาบัณฑิต วชิ าเอกส่งเสรมิ การเกษตร สาขาวิชาสง่ เสริมการเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมธิราช 4 กรกฏาคม 2555) โจทย์สาคัญทก่ี าหนดอนาคตการสง่ เสรมิ การเกษตรในประเทศไทย ภาพรวมอนาคต (scenario) ของประเทศไทยอาจจะกลา่ วไดว้ า่ เกย่ี วข้องกบั ประเดน็ ท่สี าคัญได้แก่ 1.การตอบสนองแกว่ ิกฤติโลก ทร่ี อบนีถ้ อื วา่ ลกึ มากและกินเวลานานในการปฏริ ปู เศรษฐกิจ โดย เศรษฐกิจสหรฐั 4-5 ปีทผี่ ่านมา นอกจากอุ้มสถาบนั ทางการเงินแล้วก็แทบไม่แกป้ ญั หาจริงจงั ตวั เลขฟ้องว่าทกุ อย่างกาลงั ถดถอย และยโุ รปหลายประเทศยังต้องใชเ้ วลานานในการปฏริ ูปเศรษฐกิจ ทางดา้ นเศรษฐกิจ ประเทศอน่ื ก็พง่ึ ได้ยากเพราะตา่ งมปี ัญหาของตนเอง ในจีน ญี่ป่นุ อินเดยี บราซิล จะไดร้ บั ผลกระทบเปน็ โดมโิ นและจะเห็นได้ชัดเจนจากถดถอยของการสง่ ออก เป็นเหตใุ ห้ประเทศไทยจาเปน็ ต้องเพิม่ การลงทุนการใช้ จา่ ยภาครฐั ที่ไม่ตอ้ งกลัววา่ ทาใหเ้ กดิ ปัญหาหนีส้ าธารณะแมม้ ีการขาดดุลงบประมาณไปอกี หา้ ปีข้างหนา้ เพราะถา้ เศรษฐกจิ โตไดร้ ้อยละ5 หนส้ี าธารณะต่อจีดีพีจะอย่เู พียง47% แต่ถ้าเศรษฐกจิ โตรอ้ ยละสามหนี้ สาธารณะจะอยทู่ ี่ 52% ประเด็นสำคัญจึงอยทู่ วี่ ำ่ จะทำอยำ่ งไรเพ่ือกำรลงทนุ น้ันเพือ่ เพม่ิ ศักยภำพในกำร แขง่ ขนั ของประเทศและทำให้จดี พี โี ตได้ คอื รายได้ตอ่ จดี ีพีโตเรว็ กวา่ คา่ ใชจ้ ่ายต่อจีดีพี ด้วยการปฏิรูปการคลงั เพื่อเพ่ิมรายได้ จัดลาดับความสาคัญของการใชจ้ ่ายตัดทิง้ เรื่องท่ีไม่จาเปน็ และต้องเลกิ จดั งบประมาณตามราย กระทรวงท่ีเกิดความเหลอ่ื มล้าตลอดมา (สมคิด จาตุศรีพิทักษ,์ 2555:19) 2.การตอบสนองการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น AEC (ASEAN Economic Community) โดย ยดึ สหภาพยโุ รปเป็นตัวอย่างวา่ ประเทศทไี่ ดร้ ับประโยชนส์ ูงสุดคอื เยอรมนีที่มีศักยภาพสูง เป็น “ฮบั ”ของกล่มุ ได้ ทาใหเ้ งินทุนต่างๆไหลเข้าไปลงทนุ แตป่ ระเทศไทยในด้านศักยภาพถอื ว่าถอยหลังเม่ือเทียบกับประเทศอ่ืน ในระดบั เดียวกันของกลมุ่ ทม่ี ีแตก่ ้าวหน้า ที่ World Economic Forum : จัดอนั ดับความสามารถในการ แขง่ ขนั เปรยี บเทยี บปี 2548 กับปี2554 ไทยเดมิ อันดับ33 เป็น39 มาเลเซยี จากอันดบั 25เป็น 21 อนิ โดนีเซยี จากอนั ดบั 69 เป็น 46 และเวียตนามจากอันดบั 74 มาเปน็ 65 (โดยทีป่ ัญหาของไทยอยทู่ ี่ (ก)คอรัปชั่นและ ไม่มเี สถยี รภาพทางการเมือง (ข)สถาบันสาธารณะทีเ่ ก่ยี วข้องกับเศรษฐกจิ และการเมือง (ค)คะแนนความ นา่ เชอ่ื ถือของนักการเมือง (ง)ความโปร่งใสของนโยบาย ขณะที่ความพร้อมระดบั ต่าในดา้ นการวจิ ัย สถาบันการศึกษา(คุณคำ่ ของเดก็ สงิ คโปร์ท่ใี ห้มำกทส่ี ดุ คือควำมซ่อื สัตย์สจุ ริต) และนวตั กรรม) ในประเทศเรา น้ันการตอบสนองต่อเออซี ีคนทวั่ ไปมองที่ความพร้อมของเอกชน แตจ่ ริงแลว้ ต้องเริม่ ท่ีภาครัฐดา้ นกฎ ระเบียบ เกณฑ์ต่างๆพืน้ ฐานท่ีต้องบ่งชัดวา่ ไทยต้องเป็น “ฮับ” ของภูมิภาคน้ใี หไ้ ด้ (สมคดิ จาตุศรีพทิ กั ษ์,2555:19) การเปิดประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนป2ี 558 จะทาใหเ้ ป็นกลุ่มเศรษฐกจิ ขนาดใหญ่ที่มีการร่วมมอื ทาง การคา้ ระหวา่ งกัน แต่ไม่ใชแ่ ค่มกี ารคา้ เสรีเทา่ นน้ั แต่ยังมีสิทธพิ ิเศษหลายด้านทบั ซ้อนอยู่ เช่น การได้สิทธิ พิเศษสง่ สินคา้ (จเี อสพี)ไปยงั กลุ่มประเทศยุโรปบริษทั ใหญ่ของไทยที่มศี ักยภาพต้องช่วยเหลอื บรษิ ทั เล็กทอี่ ยู่ใน หว่ งโซค่ ณุ ภาพ ปรับแนวคิดทงั้ ของรัฐ/เอกชนทีต่ ้องเดินไปด้วยกันในการสร้างแลเขยายโอกาส ทางการค้า เช่ือมโยงกับประเทศคูค่ า้ ท่มี ศี ักยภาพโดยเฉพาะจนี ญปี่ ุ่น เกาหลีใต้ สหรัฐฯ ยุโรป อินเดยี ฯลฯ เพือ่ ทีก่ ระทา การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดเิ รก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

2 การควบรวมของข้อตกลงตา่ งๆในการสรา้ งความเข้มแข็งในการตอ่ รองมากขึ้น มีการเคล่ือนย้ายปัจจยั การผลิต อยา่ งเสรี เกษตรกรและผปู้ ระกอบการต้องมีการปรับเปลี่ยนต่อการเปลยี่ นแปลง โดยเฉพาะถวั่ เหลือง กาแฟ ปาลม์ น้ามันฯลฯ เพราะจะมีการเคล่ือนย้ายเงินทนุ เข้ามา มกี ารออกกฎหมายร่วมกัน และมีการเนน้ การพัฒนา วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม :SMEs และการลดชอ่ งว่างการพฒั นาเศรษฐกจิ ของสบิ ประเทศสมาชกิ (โพสต์ทูเดย์, 20 มิถุนายน 2555:B11, ประชาชาติธุรกิจ28-30 พฤษภาคม 2555:2 ) 3.ลักษณะโครงสร้างพ้นื ฐานท่ีสาคัญบางอย่างของการเกษตรในประเทศไทย 3.1 สนิ้ ปี2554แรงงานในภาคเกษตรกรรม 16.798ล้านคน (42.53% ของผมู้ งี ำนทำ ,และ25.6%ของประชำกร65.5ล้ำนคนของไทย ที่เกษตรกรมีรายไดเ้ ฉล่ยี ต่อหัวตอ่ เดือน 4,812.6บาท)จำกผู้มี งำนทำ 39.4937ล้ำนคน (รำยได้เฉล่ยี ต่อเดือน 9,927.2บำทมี นอกภำคเกษตร 22.6957 ลำ้ นคน (รำยไดเ้ ฉล่ีย ตอ่ หัวต่อเดือน10,689.4 บำท)แบง่ เป็นภำคอตุ สำหกรรม 5.207ล้ำนคน ภำคก่อสร้ำง 1.821ลำ้ นคน ภำค กำรคำ้ 5.933 ลำ้ นคน ภำคบริกำร 9.657ล้ำนคน วำ่ งงำน 1.04182 ล้ำนคน) และสนง.คณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติระบวุ า่ ปี2554 รายไดเ้ ฉลย่ี ต่อหัวต่อเดือนของคนไทย 12,070บาทซึ่ง หมายความวา่ ลกู จ้าง/เกษตรกร มรี ายไดต้ า่ มากและไม่เพียงพอต่อการดารงชีพทาใหเ้ กิดหนี้สนิ ตามมาใน ระดบั สงู (ธนาคารแห่งประเทศไทย ,ไทยรฐั 5 มนี าคม 2555:9) การกระจายรายได้ของไทยจากการวัดความยากจนแบบสัมพันธ์ (relative poverty) พบว่าการ กระจายรายได้ของไทยไมม่ ีการเปลีย่ นแปลงดขี ้ึนต้ังแตป่ ี2537-52 กล่าวคอื เมื่อเปรยี บเทยี บคนไทยกลุ่มที่มี รายได้สูงสดุ ร้อยละยีส่ บิ แรกในปี2537 มสี ่วนแบ่งรายได้ถึงร้อยละ57.23มาเป็นรอ้ ยละ54.19 ในปี 2552 (แม้ แลดูดขี ้ึนตอ่ การกระจายรายไดฯ้ ) แต่กลุ่มที่รายได้ร้อยละยีส่ บิ ต่าสุด สว่ นแบง่ รายไดจ้ ะดขี ้นึ แต่น้อยมาก คือ จากร้อยละ 4.07 (ปี2537) มาเปน็ รอ้ ยละ4.79 ในปี2552 แตค่ วามแตกตา่ งท้งั สองกลุ่มนี้ยงั คงมสี ูงมากคือ 11.3เท่า(หำกดูข้อมลู ของชนชน้ั กลำงแม้จะเปลี่ยนทำงบวกแต่กไ็ มช่ ดั เจน เชน่ กลุ่มยสี่ ิบที่สำมและส่ี เปล่ยี น จำกร้อยละ 11.67 และ19.68 ในปี2537 มำเปน็ ร้อยละ12.57 และ 20.08 ในปี 2552 ก็ตำม) และถึงแม้จะดู ข้อมลู ของสานักงานพฒั นาการเศรษฐกิจสังคมแหง่ ชาติ จากคา่ ที่เป็นตัวชว้ี ัดเส้นแหง่ ความยากจน (poverty line) ท่เี ปลีย่ นไปตามค่าครองชีพจาก 838 บาทต่อคนต่อเดือน(ปี2537)ไปเป็น 1,678 บาท (ปี2553) มี สดั ส่วนคนทอ่ี ย่ใู ต้เส้นแห่งความยากจนลดลงจาก ร้อยละ18.98 เหลอื เป็น7.75 กต็ าม(โชติ สุวรรณาภรณ์ ,2555 :18) ตามความเป็นจริงความศลี ธรรม (moral) ไมใ่ ชต่ ัวช้ีวัดของความยากจน ไม่ควรเอามาอา้ งในการปลด เปลือ้ งความยากจนดว้ ยการมีศีลธรรม เพราะความแตกตา่ งกนั ของทางเลอื กในการบริโภคและกลไกของธรุ กิจ ทแ่ี ตกตา่ งกนั สาเหตุของความยากจนไม่ไดอ้ ยู่ทค่ี วามโงเ่ ขลา อยา่ งที่ระบุไว้ในวงจรแห่งความยากจน (poverty cycle) แตเ่ ปน็ เพราะต้องเช่าท่ีดนิ ทากนิ ท่ีกลุ่มนายทนุ ซ้ือตนุ ไวห้ มดและยงั เป็นผู้กาหนดกลไกของ ราคาสินคา้ อกี ด้วย เกษตรกรจะขายของได้แพงผูบ้ รโิ ภคในเมืองใหญ่กบ็ อกว่าขา้ วแพงไข่แพงทุกอย่างแพงไป หมดทั้งท่เี ปน็ ผู้เอาไปขายแพงในต่างประเทศ พอเพิ่มรายไดใ้ หแ้ รงงาน 300บาทกบ็ อกวา่ รับไมไ่ ดต้ น้ ทนุ เพ่ิม แทนทีจ่ ะเขา้ ใจถงึ การยกระดับโรงงานคณุ ภาพ พอจานาราคาข้าวเกวยี นละ15,000 บาท (ชาวนาญปี่ นุ่ เขา รายไดเ้ หลอื เทย่ี วต่างประเทศได้) ก็บอกวา่ ผิดตามหลักอุปสงคอ์ ปุ ทานทค่ี นรวยคุมดา้ นการตลาดอยู่ดว้ ยการต้ัง ราคาเองไม่ต่างกบั สมยั ท่กี ารคมนาคมเขา้ ไม่ถึงชาวบา้ นนักแมม่ ีการแข่งขันกันซื้อมากขน้ึ เชน่ ราคายางพาราที่ สมัยหนึง่ ยางแผ่นไม่เกิน 27บาท แตพ่ อเปลยี่ นยคุ กลายเป็น60และ80บาทในหกเดือนและกลายเปน็ 120 บาท ตอ่ มาและกลุ่มนายทนุ ดงั้ เดิมนนั้ ยังควบคุมชวี ิตคนยากจนในชนบทไดม้ ากกวา่ ทุนใหม่ แนวทำงหนงึ่ ของกำรตอบโจทยจ์ ึงเป็นกำรรวมเปน็ เครือข่ำยในรูปแบบตำ่ งเช่นเครือข่ำยวิสำหกจิ ชุมชน และมำรวมกนั คลสั เตอร์ จงึ เป็นคำตอบหนึง่ ของโจทยค์ วำมยำกจนเพื่อเพม่ิ พลังกำรต่อรองทเี่ หน็ ผล การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

3 ระยะสัน้ เพรำะมีผลโดยตรงต่อกำรตอบสนองด้ำนกำรตลำดทีเ่ ป็นผลตำมมำคอื กำรมีนวัตกรรม/เทคโนโลยีที่ เหมำะสม 3.2 กระแส ทศิ ทางและแนวโนม้ ด้านการพฒั นาการเกษตรของประเทศไทย 3.2.1 มีการทา R&D มากข้ึน แม้มงี บประมาณนอ้ ย แตร่ ว่ มมอื กนั ระหวา่ งรฐั และ เอกชนมากขนึ้ และในสถาบนั การศึกษาทางด้านเกย่ี วข้องกับการเกษตรท่วั ไปเน้นการคน้ พบนวตั กรรมที่ ตอบสนองตลาดแล้วขายสิทธิให้เอกชนเปน็ ผผู้ ลติ และจาหน่ายเพือ่ มหาวทิ ยาลัยฯมีทนุ การวจิ ยั เพ่มิ ตอ่ เนื่อง และสามารถขยายงานวิจัยและพฒั นามากกว่าเดมิ แต่ความงดงามอยูท่ ่ีเกษตรกรรายย่อยทเ่ี กง่ ทา R&D กันเองเช่น (ก)ฟารม์ กลว้ ยไม้หลากหลายฟาร์ม (ข)“โกลัก /ศักด์ ลาจวน เชยี งใหม่”(อินทผลมั พันธ์ุลกู ผสมKL 1/แม่โจ้36เกบ็ เก่ียวปีละสองครงั้ ) (ค)ดารงศักดิ์ วริ ิยศิริ เพชรบูรณ์(ฝร่งั ไม่มเี มล็ดและฝรงั่ แดง มะนำวแป้นจรยิ ำ ขนุนเพชรดำรงและแดงสุรยิ ำ พุทธรกั ษา หลากหลายสคี นแรก ฯลฯ) (ง)ววั บรามนั ส์ให้สายเลือดสงู (ชมรมววั บรามนั สน์ ครสวรรค)์ ขึน้ หรือ (จ)ชมรมตา่ งๆ ท่ีพยายามผสมพันธ์ุวัวเนือ้ “หวากิว/ทาจมิ ะ (Tajima)” เชน่ ชมรมโคเนือ้ พันธ์โุ คราช โดยสงั่ สายพนั ธ์จุ ากออ๊ี ส เตเลยี ขายสมาชีกเพ่ือการเพ่ิมให้มเี ลอื ดพนั ธแื ท้ให้สงู ขน้ึ (สำยพนั ธญุ์ ี่ปุน่ แท้หำ้ มนำออก โคเนอื้ ทำจิมะใน ประเทศไทยได้รบั พระรำชทำนจำก “ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสดุ ำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ได้รบั นอ้ มเกลำ้ ถวำย ฯจำกรฐั บำลประเทศญปี่ ุน่ เป็นโคพอ่ พนั ธุ์ ช่วงปี 2532) และ (ฉ)การเปิดตลาดรา้ นแฟรนด์ไชส์ของ “โพนยาง คา” ตัวอย่างของนวตั กรรมทเี่ ก่ียวกบั ขา้ วและพชื สาคัญท่รี ฐั ทาและเปน็ กระแสใหม่ เชน่ (ก) พนั ธุ์ข้าวใหมๆ่ ทเ่ี กีย่ วกับการผสมข้าวหอมมะลแิ ละหอมนลิ เพ่ือเนน้ ข้าวสุขภาพและหอม ข้าวลูกผสม(เช่น กขผ.1ทเี่ รม่ิ เขา้ ใกล้ข้าวลกู ผสมจนี อนิ เดีย เวียตนามแตย่ ังหลายช่วงตวั ) ฯลฯ (ข) เทคโนโลยเี กี่ยวกับข้าว เช่น เทคโนโลยีชีวภาพด้านการเล้ยี งเช้อื และ ใหเ้ กษตรกรตอ่ เช้ือเองได้ง่ายๆ ไม่วา่ ไตรโคเดอมา บิวเวอเรยี หรือการเล้ยี งแมลงช้างปีกใส ฯลฯ หรอื การใชน้ าโนซิงก์ออกไซด์ (ZnO) ผงละเอยี ด 15กรมั (กก.ละสามพันบาท) ผสมน้า50 ลติ รฉดี นา ขา้ วได1้ -2 ไร่ฉดี ร่นุ ละ5 ครัง้ ทโ่ี ครงการหมบู่ ้านเทคโนโลยฯี นาบอ่ คา กาแพงเพชร นอกจากเพิ่มผลิตข้าวใน การชว่ ยการเจรญิ เตบิ โต ยังช่วยต้านทางโรคในการยับยั้งเชือ้ ราและแบคทีเรียที่ก่อใหเ้ กิดโรคพชื ทวี่ ิทยาลัยนา โนเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เจา้ คุณทหารลาดกระบัง ซ่ึงไดร้ างวัลที่ 2ของนวัตกรรมนาโนระดบั ประเทศปี 2553 (ประชาชาติธุรกจิ ,21-24มถิ ุนายน 2555:9) 3.2.2 มีการบูรณาการอยา่ งมีระบบระหวา่ งหน่วยงานของรัฐเพ่ิมมากขน้ึ และมีระบบ มากข้นึ ในการสนบั สนนุ เกษตรกรเป้าหมาย เช่น การบรู ณาการ (integration) รว่ มกันระหวา่ งกรมพฒั นาท่ีดนิ กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรน้า จัดทาแบบจาลองพลวตั รดนิ และนา้ เพื่อการอนรุ กั ษ์ดินและน้าดว้ ยการประเมนิ การชะล้างพังทลายของดินและ การเคล่ือนที่ของตะกอนดนิ ฯลฯ และกรมพัฒนาท่ีดินเองมีการวจิ ยั และพัฒนาการใช้ประโยชน์จากการ คัดเลือกจลุ ินทรยี ์ เช่นจลุ ินทรีทนกรด การใชป้ ุย๋ เคมีเพมิ่ ธาตอุ าหารพืชและสง่ ผลให้ปรมิ าณจุลินทรยี ์ในดิน เพม่ิ ขน้ึ การเปลี่ยนแปลงกลุม่ จลุ ินทรียต์ อ่ การหมนุ เวียนธาตุอาหารในดนิ (โพสต์ทูเดย์18 มิถนุ ายน 2555: B6) 3.2.3 ด้านการรักษ์ส่งิ แวดล้อมด้วยการใช้ทรัพยากรให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ เชน่ กรมปศสุ ตั วท์ าโครงการนาร่องฟารม์ หมู 20 แหง่ 268,000 ตัวทล่ี ดกา๊ ซเรือนกระจกได้98,000 ตัน คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ต่อปี ท่ีอาเภอเมอื งฉะเชงิ เทราในการจดั การของเสียในฟารม์ (zero waste)มาใชป้ ระโยชน์ การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดเิ รก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

4 เตม็ รูปแบบของฟารม์ สุกรท่ีเป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม (Code of Practice)ดว้ ยการใชร้ ะบบบาบดั นา้ เสียทีไ่ ด้ ก๊าซชวี ภาพชนิดบอ่ หมักรางพิเศษเพ่ือเป็นไปตามมาตรฐานสขุ อนามัยตามหลักสากล (มติชนรายวนั มถิ ุนายน 2555:12) 3.3 สภาพการปรับตวั บางอย่างท่เี กีย่ วข้อง เช่น 3.3.1 การจัดระเบียบการใชท้ ี่ดนิ ท่ัวประเทศอนั เน่ืองมาจากปัญหาน้าท่วมท่ีมหี ลักการ สาคัญคือการกาหนดทีท่ ีน่ ้าอยู่ ที่ทค่ี นอยู่ ท่ที ี่ใหน้ า้ ไป โดยองค์กรส่วนท้องถิ่นมีแนวทางในการจัดวางผัง เพื่อ การจัดการอทุ กภัยทป่ี รบั ตามสภาพปัญหาแต่ละพื้นท่ี รวมถึงการกาหนดพ้ืนทีส่ ีเขยี ว เพื่อใช้เป็นพน้ื ทชี่ ะลอนา้ รบั นา้ ผนั นา้ เพอ่ื ป้องกันการขยายตวั ของเมืองไปในพน้ื ท่ตี า่ พื้นที่เสี่ยงภยั นา้ ทว่ ม พืน้ ท่ีอนุรกั ษช์ นบทและ เกษตรกรรม พ้ืนทแ่ี หลง่ เกบ็ กักนา้ พน้ื ท่ีระบายน้า หรือแก้มลงิ และหนองน้าตามธรรมชาติ ฯลฯ (โพสต์ทเู ดย์ 25มถิ ุนายน 2555;B1) 3.4สภาพปญั หาบางอย่างที่อาจคุกคาม ไดแ้ ก่ 3.4.1ทุนต่างชาตอิ าศยั ชอ่ งทางนอมินี เข้ามาธรุ กจิ ในการถือครองท่ีดินราวพันรายที่ กรมพัฒนาธุรกจิ การค้า ร่วมกับกรมที่ดนิ และดีไอ เอส ตรวจสอบพบโดยเฉพาะเป็นกล่มุ ตะวนั ออกกลางที่ พืน้ ที่สว่ นใหญเ่ ปน็ ทะเลทรายสนใจเข้ากว้านซื้อทด่ี นิ ปลูกนาขา้ ว ฯลฯเพ่ือความม่นั คงทางอาหารเป็นหลัก ทจ่ี ะ มีผลทาใหส้ ดั สว่ นทีด่ นิ ปลกู ขา้ วลดลงไปเร่ือยๆ นอกจากนี้ยังมามาเลเซยี และจนี ไดใ้ ช้รูปแบบการเข้าซื้อข้าว ร่วมทุนกบั โรงสีบางรายในพ้นื ทภ่ี าคกลางเช่น เพชรบรุ ี ฉะเชงิ เทรา ซอื้ ขา้ วโดยตรงจากโรงสี ส่งออกไปประเทศ ตนเองอาศยั โลจิสตกิ สท์ างบกโดยรถยนต์ (ประชาชาตธิ ุรกจิ 25-27 มิถุนายน 2555:50) 3.4.2 การมผี ลผลิตเฉล่ียต่อไร่ต่า เชน่ ข้าวประเทศอื่นเฉลี่ยตอ่ ไร่(ไร่ไทย)อินเดีย จนี เกิน เกวียนกวา่ เวียตนามเกิน 860 กก.ไทยแค่ 420กก. เวียตนามพนื้ ทปี่ ลูกแค่35 ลา้ นไร่ ไทย60 ลา้ นไร่เวียตนามมี คนเกินแปดสิบลา้ น ไทยแค่ไม่ถึงเจ็ดสบิ กนิ ใชใ้ นประเทศเวียตนามสง่ ออกจะชงิ อนั ดับหนงึ่ ไทยแลว้ (มีข้าวหอม มะลิ85ด้วย) เวียตนามมีพน้ื ที่ปลูกยางพาราในลาวผนื และในประเทศอาฟรกิ าหลายประเทศผนื ใหญ่ สภาพพืน้ ฐานทางการส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย อาจสรุปใหเ้ หน็ ภาพกวา้ งของลกั ษณะพ้นื ฐานของโครงสร้างการสง่ เสรมิ การเกษตรในประเทศไทย ท่ี เก่ยี วข้องกับการเปน็ กระแสของการพฒั นาเกษตรในอนาคต ให้เหน็ ในการออกแบบโครงสร้างบางอย่าง (ในปี 2555) ทไี่ ด้มกี ารปฏิบัติอย่ใู นระดับหน่ึง ในภาพของ 4 มมุ มอง (perspectives) ของการพฒั นา/สง่ เสรมิ การเกษตรในประเดน็ ทส่ี าคัญทีเ่ นน้ กำรมีกล่มุ เกษตรกรเป้ำหมำยเป็นศนู ยก์ ลำงและเจำ้ หน้ำที่รฐั /เอกชน สนบั สนนุ คือ มมุ มองที่ 1. การเพ่ิมสมรรถนะในการควบคมุ จดั การระบบยอ่ ยทส่ี ัมพนั ธ์กนั ในการพฒั นา/ส่งเสรมิ การเกษตร สมรรถนะ (competency) หมำยถึงระบบย่อยของ(ก)ควำมรู้ (ข)ควำมสำมำรถ: ability (ค) พฤติกรรม (ง) ทักษะ : skills ทป่ี ระกอบดว้ ยควำมคดิ และกำรฝกึ ฝนกำรปฏบิ ัติ การเพิ่มสมรรถนะด้วยการดงึ ศักยภาพมาใช้ใหเ้ ตม็ ที่ในประเด็นทีส่ าคัญท่เี ก่ยี วข้อง้ได้แก่ 1.ความเข้าใจทถ่ี ูกต้องของการพัฒนา และการสง่ เสรมิ การเกษตรทาใหเ้ จา้ หน้ารฐั /เอกชนท่ี สนับสนนุ สามารถถ่ายโอนอานาจ (empower) แก่กลุม่ เกษตรกร/เครอื ข่ายวสิ าหกิจ/คลสั เตอร์ ได้ การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดเิ รก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

5 ความหมายของการพัฒนา (development) ของนักวิชาการท่ัวไปไม่ค่อยขัดแยง้ กนั มากคือ “เป็น กระบวนการของการกาหนดภาพรวมอนาคต (scenario) ของกลุ่มเป้าหมาย (target group) เอาไวเ้ พื่อให้มี การควบคุมจัดการ (manipulate) ทศิ ทางและแนวโนม้ (ดว้ ยยทุ ธศาสตร์/กลยุทธท์ ี่เหมาะสม) ใหบ้ รรลุ เปา้ หมายดว้ ยการส่งผลให้เกิดการกระจายความเสมอภาค (equity in distribution)ในเรื่องของ (ก)รายได้ (ข) คุณภาพชีวติ (quality of life) (ค)การสรา้ งโอกาสของอสิ รภาพภาพ (opportunity for freedom) ดา้ นการมี การเปน็ การอยู่ การทาตามกรอบของสงั คมโลกของความเป็นมนษุ ย์)(ง)การรักษาความสมดุลของสิ่งแวดลอ้ ม และทรัพยากรธรรมชาติ” ส่วนที่มกั แตกตำ่ งกันในกำรกำหนดควำมหมำยและกำรตีควำม คือควำมหมำยกำรสง่ เสรมิ กำรเกษตร “agricultural extension” ท่ีกำรส่งเสริมกำรเกษตรไม่ใชแ่ ค่กำรถำ่ ยทอดนวตั กรรม (dissemination of innovations) เพรำะกำรถ่ำยทอดแค่เปน็ กระบวนกำรของกำรกระทำผสมผสำนกันระหว่ำง(ก)กำรส่งผ่ำน/ กำรถำ่ ยโอน (transfer) และกำรสำธติ (demonstration) ทีเ่ ป็นกำรสำธิตวธิ ี (method demonstration) หรอื สำธิตผล (resulted demonstration) อย่ำงใดอยำ่ งหนึง่ หรือท้ังสองอยำ่ งเพ่อื ให้เกิดกำรรับรู้ (perception) จำกประสำทสัมผสั ท้ังหำ้ มำกทส่ี ุดเท่ำน้นั แตต่ อ้ งเปน็ ควำมหมำยท่ีมองแบบแนวทำงองคร์ วม (Holistic Approach) เป็นระบบท่ีมีองค์ประกอบ เกยี่ วข้องทส่ี ำคญั คือ “การสง่ เสรมิ การเกษตรเป็นระบบท่ปี ระกอบดว้ ยระบบย่อยทเ่ี กี่ยวข้องสมั พนั ธแ์ ละทาปฏิสมั พนั ธ์ท่ี เกิดภาวะสมดลุ (balanced) คอื (ก)ระบบการศกึ ษานอกระบบ (out of school system) (ทีก่ ำรถ่ำยทอด : dissemination เป็น แคก่ ระบวนกำรเสีย้ วเดยี วของกำรศึกษำนอกระบบ)ทมี่ เี กษตรกร/กลมุ่ เกษตรกร/เครือข่าย/วิสาหกิจชมุ ชน เปา้ หมายแบบเปน็ ศนู ย์กลางเพ่ือช่วยใหเ้ ขาเกิดการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมเชงิ บวกที่เนน้ ดา้ นการตลาดและ นวัตกรรม (กำรตลำดนำทำงนวตั กรรม) เปน็ รากฐานของการตอบโจทยข์ องเกษตรกรรม (ข)ระบบของการพัฒนาการพ่ึงตนเอง ดว้ ยกระบวนการ(1) “ทาไปเรยี นรู้ไป” (learning by doing) (มีจุดเน้นของกำรเพ่ิมทักษะเชิงบวก)และกระบวนการ (2) “ช่วยเขาใหช้ ว่ ยตนเองได้” (help them to help themselves) ด้วยการสนับสนนุ ของเจา้ หนา้ ทหี่ รือแกนนาชาวบา้ น (core persons) ทอ่ี าจจะเรมิ่ จากบคุ คลแต่ละคน (individual ทมี่ แี ววการเป็นผู้นาในกลุ่มร้อยละ20 แรก) ให้เกดิ การพัฒนา ตนเอง (self-help : คิดเองเป็น ทำเองเปน็ แกป้ ัญหำเองเปน็ ทแ่ี ต่ละคนสำมำรถจัดกำรตนเองได้ : self manage หรอื เริ่มตน้ ที่กระบวนกำรกลมุ่ เพ่ือเกิดพลังรว่ ม: synergy จึงเกดิ เป็นกำรพฒั นำกำรพ่งึ ตนเองได้ (self-reliance development”) ท่กี ลุ่มเปน็ ศูนยก์ ลางการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมทางบวก (ค)ระบบการเปลีย่ นพฤติกรรมทย่ี ั่งยืนที่มแี นวทาง (approach) เนน้ การเพม่ิ โอกาส เพิม่ ทางเลือก เพ่อื เพม่ิ สมรรถนะ (ไม่ใช่แค่เพยี งกำรยอมรับเทคโนโลย/ี นวตั กรรมทเี่ หมำะสม) ทต่ี ้องมีทิศทางและแนวโนม้ เข้า สกู่ ารบรรลเุ ป้าหมายสดุ ทา้ ยคือการเพ่ิมรายไดแ้ ละคณุ ภาพชวี ิต (ทีอ่ ยำ่ งน้อยบรรลุควำมจำเป็นพ้นื ฐำนข้ันตำ่ : basic minimum needs: จปฐ.) การสง่ เสรมิ การเกษตรจึงเป็นระบบทปี่ ระกอบดว้ ยระบบย่อย (sub systems)ทเี่ ร่ิมจากระบบการศกึ า นอกโรงเรียนและอนื่ ๆกระทาการต่อกันและปฏิสัมพันธ์กัน เพอ่ื เกดิ ความสมดุลย์ (balance) ท่ีมองจากปัจจยั นาเข้าที่สาคัญเช่น (ก)การตลาดทีเ่ ปน็ ปัจจัยนาเข้า (inputs ท่เี ปน็ “demand chain”) (ข)นวตั กรรมหรือ เทคโนโลยีที่เหมาะสม (appropriate innovation/ technology) และระบบอ่นื ๆท่ีก่อใหเ้ กิดผลของ “หว่ งโซ่ แหง่ คุณภาพ” (value chain) การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดเิ รก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

6 ไมเ่ พยี งแคน่ ี้ ยงั มีระบบย่อยภำยในตัวคนแตล่ ะคนท่มี ปี ฏิสมั พนั ธ์ต่อกนั ต้องกระทำกำรตอ่ กันด้วยกำร มีพฤติกรรมท่ีเหมำะสมท่ีอำจจะเปลย่ี นจำกพฤติกรรมเลยแล้วจงึ เปลีย่ นคำ่ นิยม ควำมเชือ่ ทัศนคติ ควำมร้ใู น เชงิ บวกตำมมำ เชน่ เมอ่ื เข้ำไปอยู่ในระบบกำรตำมฟำรม์ ตำมพันธะสัญญำ (contracted farming system) หรอื กำรเข้ำรว่ มเครือข่ำย(network)ในรูปแบบอืน่ เพรำะอิทธิพลของภำพรวมอนำคตของกลมุ่ ซง่ึ ตำ่ งจำกกำร เปล่ียนแปลงของแต่ละบุคคลทีเ่ ริม่ จำกกำรเปลย่ี นแปลงควำมรู้ ไปสทู่ ัศนคติบวก ควำมเชอื่ ทำงบวก คำ่ นยิ ม/ คณุ คำ่ (values)และพฤติกรรมในทสี่ ุด กำรทจี่ ะเกดิ “self –reliance development” น้นั ตวั ชี้วดั (indicators) อยูท่ ่ี (ก)กำรมี “solidarity” คอื มปี ญั หำรว่ ม ควำมต้องกำรร่วม ควำมสนใจรว่ ม) (ข)กำรมกี ำรร่วมมือกันทำงำน(cooperate) งำนตำมควำมถนดั (ค)กำรแบง่ ผลประโยชน์ยตุ ธิ รรม(ไมใ่ ช่เทำ่ เทียมกนั )ตำมควำมถนัดและควำมสำคัญของกำร มีส่วนรว่ ม เม่ือมีการรวมเปน็ เครือข่ายของวสิ าหกจิ ชุมชน ทห่ี ลายๆพนื้ ท่ีเข้าร่วม ตวั ชี้วัด KSF จะตอ้ งเก่ยี วข้อง กบั การท่ีเป็นเครือข่าย (ของวิสาหกิจฯ)ท่ีจัดการตนเอง(Self Manage Network)ไดน้ ั้นตอ้ งมีตวั ชี้วดั ในเร่ือง ของ (ก) การชว่ ยตนเองไดใ้ นการจดั การวิสาหกิจของตน และเครอื ข่ายวิสาหกจิ (ดูตัวชี้วดั ทง้ั ‘self-help”, “ self- reliance developmentประกอบ) (ข)มีการแลกเปล่ยี นเทคโนโลยี (Technical Corporate among Developing Organization) ระหว่างวสิ าหกจิ (3) มีกองทนุ กลางทเ่ี กิดจากผลกาหรของเครือข่ายวสิ าหกิจมา ใช้ในการซ้ือปจั จัยนาเขา้ ที่จาเปน็ ต่อการเพิม่ คณุ ค่าตาม “values chain” อยา่ งไรก็ตาม ในขณะทีบ่ างหนว่ ยงานใช้ความหมายการส่งเสริมวา่ “promotion” เหมือนกบั ท่ี กระทรวงสาธารณะสขุ ใช้ ส่วนกำรเพ่มิ สมรรถนะ (competence) น้ัน เป้นกำรเพิ่มขดี ควำมสำมำรถใน (ก)เนอื้ งำน (performance) และเมด็ งำน (task) ผลผลติ และกำรเพม่ิ คุณลกั ษณะประจำตนในเร่ืองของควำมรู้ควำม เขำ้ ใจ ควำมคิดและทศั นคตเิ ชิงบวก และคุณลักษณะที่เหมำะสมในกำรเป็นเจ้ำของธรุ กจิ 2. การบูรณาการ เพื่อความเข้มแข็งขององค์กรและการเพมิ่ โอกาสในการรองรับการสนับสนนุ ด้วยการจัดการเชิงบูรณาการ กำรบรู ณำกำร (integration) คอื กำรรวมตัวสนับสนนุ กันดว้ ยหลกั ควำมเสมอภำคและเกิดประโยชน์ ร่วมในสถำนกำรณช์ นะ ชนะ (ดูข้อ2.1) และเม่ือรวมตัวแล้วรองรับกำรสนับสนนุ กำรจดั กำรเชิงบูรณำกำรจำกหน่วยงำนรัฐ/เอกชนเรียกวำ่ กำรบูรณำกำรทำงกำรพัฒนำและกำรสง่ เสรมิ กำรเกษตร (integrated development/extension work”) (ดู2.2) 2.1 การรวมตวั เพ่อื สร้างพลังการต่อรองด้านการตลาดและนวตั กรรม ฯลฯ 2.1.1 กลุ่มเศรษฐกจิ พน้ื ฐานขนาดเล็ก-กลาง ทเ่ี ป็นเครือข่ายธรรมดา/ วสิ าหกจิ ชมุ ชน แลว้ ผนกึ กาลังกนั เป็น เครอื ข่ายวสิ าหกจิ ชมุ ชน (เฉพาะดา้ นหรือครบวงจรตามกระบวนการ “หว่ งโซ่คุณค่า”) และเข้าไปรวมกนั อีกเปน็ คลสั เตอร์ ที่ต้องมีการใช้แนวคิดพ้นื ฐานในเรอื่ งของ (ก)เกษตรกรกาหนดชวี ติ เองได้ เลอื กและตดั สินใจทจ่ี ะกระทาการในเรอื่ งท่ี ก่อให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ครอบครวั และร่วมรับผดิ ชอบตอ่ ชมุ ชน สงั คม (ข)เกษตรกรเปน็ “ผูก้ ระทา”(ทำตำมปัญหำรว่ ม ควำมตอ้ งกำรร่วม ควำมสนใจรว่ ม ของกลุ่ม) ไม่ใชผ่ ถู้ ูกกระทา”(ท่ีทำตำมโครงกำรท่เี จำ้ หน้ำท่ีกำหนดโดยคดิ เองวำ่ เปน็ ควำมต้องกำรของ เกษตรกรเป้ำหมำย) การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

7 เพราะปัญหาของตวั เกษตรกรเอง/กลุม่ เกษตรกรเปา้ หมาย ก็ต้องแกป้ ัญหาเองเปน็ คิดเองเป็นทาเอง เป็น ท่อี ำจจะคดิ เองหรอื รว่ มกันคิดเพือ่ แยกกันทำ เพรำะเจ้ำหน้ำท่รี ับ/เอกชนแคเ่ ปน็ ตัวสนบั สนนุ ตำมบทบำท เทำ่ น้นั (ดรู ำยละเอยี ดของบทบำทในมมุ มอง 2 , ขอ้ 3 ถัดจำกนี้) 2.1.2 การจัดระบบคลัสเตอรเ์ ข้าสนบั สนุน คอื สนับสนนุ ให้วิสาหกิจชมุ ชนรวมตัวกนั เครอื ข่ายแล้วมาเปน็ คลัสเตอร์ ทเี่ ครือข่ายฯเหล่านแี้ บง่ ปัน เอือ้ เฟื้อเอืออาทรกนั และกัน ในการจดั การเชิง บูรณาการระหวา่ งกนั (integration ดูรายละเอยี ดหวั ข้อ2.2 ถดั ไป) ดว้ ยความเท่าเทยี มกนั เพ่ือจะรองรบั การบูรณาการจากหน่วยงานรัฐ/เอกชน (Integrated Developmentดรู ายละเอยี ดหัวข้อ2.2 ถัดไป) ท่ี เนน้ หนักดา้ นการตลาดทีน่ าไปส่นู วตั กรรม/เทคโนโลยที เี่ หมาะสมในการมีองค์กรทีเ่ ขม้ แขง็ ท่ีจะเขา้ สูก่ ารเปิด AEC (ASEAN Economic Community) : ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนในปี 2558 2.2 ในกำรเปลีย่ นแปลงทำงบวกด้วยกำรเพ่มิ อำนำจกำรตอ่ รอง ทเ่ี กิดจากแนวคิดพื้นฐานของการมีพลงั รว่ ม (synergy) เพอื่ ผลที่ตามมาในเร่ืองของ “ผลทวคี ูณ (multiple effect) ของระบบเครือข่าย (network system)”ทวี่ ิสาหกิจชมุ ชน มารวมตัวกันเปน็ เครือขา่ ย วิสาหกจิ ชมุ ชน และหลายเครือข่ายวิสาหกจิ ชมุ ชนมารวมตัวกันเปน็ คลัสเตอร์ (cluster) คอื จะรวมกนั แบบบูรณาการ (integration) เสมอื นการรวมตวั ของ AEC (เนน้ 1.กำรเป็นฐำนเดียวกัน ของกำรผลิตและ2.เป็นตลำดเดียวกนั ทมี่ ำตรฐำนเดียวกนั ท่ีผู้ซอ้ื ส่ังเขำ้ มำซ้อื ได้จำกแหล่งเดยี ว 3.ควำมเสมอ ภำค : equity ในกำรพัฒนำเศรษฐกิจ 4. เพ่มิ ศกั ยภำพในกำรแข่งขันของเครือข่ำยวสิ ำหกิจชมุ ชน/คลสั เตอร์ กับตลำดส่งขำยภำยนอก) ทมี่ คี วามเท่าเทียมกนั สนับสนนุ กนั และกนั เพือ่ รับประโยชนร์ ่วมทีเ่ กดิ นอกเหนือจากการทีต่ ่างคนตา่ งทา โดยเฉพาะในเรื่องการรองรบั การสนบั สนนุ จากหน่วยงานของรัฐในการพัฒนาการจดั การเกษตรกรเชงิ บูรณาการ (integrated agricultural & development) โดยหลายหน่วยงานทีเ่ กย่ี วข้องในเร่อื ง “ห่วงโซ่ คณุ ภาพ (values chain)” ตง้ั แต่ตน้ น้ากลางนา้ ปลายน้าคือท้ังระบบครบวงจร การรวมตัวกนั ของหนว่ ยงานรัฐต่างกระทรวงรวมท้ังภาคแอกชน เรียกวา่ “การพัฒนาแบบบูรณาการ ของหน่วยงานหลายกระทรวงและรว่ มภาคเอกชน” (Inter- sectoral Integrated Development” ที่เนน้ การสนบั สนนุ การจัดการแบบบูรณาการจากกระทรวงที่เก่ียวข้องนอกจากกระทรวงเกษตรเช่นกระทรวง อตุ สาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ และภาคเอกชน มีกลมุ่ เกษตรกรเป้ำหมำย/เครือข่ำยวิสำหกิจชุมชนหรือคลัส เตอรเ์ ปน็ ศูนย์กลำง ในเร่ืองทีเ่ น้น “การตลาด” ทีทาให้เป็นตัวชีท้ างเพื่อกาหนด “นวตั กรรม”ท่ีเหมาะสม ท่ี สนองต้องตลาดและกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายโดยยดึ ถือหลักกำรพน้ื ฐำนของ “demand chain” คอื ยดึ กำรสนอง ควำมคำดหวงั ต่อควำมต้องกำร ควำมพงึ พอใจ กำรเพมิ่ คณุ ค่ำ (values) ของกำรตลำดและกลุ่มลูกคำ้ เป้ำหมำย ทมี่ ผี ลสะท้อนกลับ (feedback) ท่ีสำคัญของกระบวนกำร (process) นต้ี อ้ งเกิดผลในดำ้ นของ ขบวนกำร (movement) ของกำรส่งั สมทรัพยำกรในเรื่องของ ทุน มนุษย์ นวตั กรรม/เทคโนโลยที ีเ่ หมำะสมฯ (ดรู ำยละเอียดเรอ่ื งนีใ้ นมุมมองท่ี 4ขอ้ 1)ท่เี กดิ จำกงำนวจิ ัยและพฒั นำ คือหนว่ ยงำนรัฐจำกตำ่ งกระทรวง/เอกชนที่เข้ำมำสนบั สนนุ กำรจัดกำรเชิงบรู ณำกำร (Integrated development) น้ี กจิ กรรมต้องทำประสำนกันคือกำรสนับสนุนด้ำนกำรจัดกำรระบบกำรเกษตรตำมแนวทำง ของ “values chain” ตัง้ แต่ตน้ นำ้ กลำงน้ำปลำยนำ้ ในกำรสนองควำมคำดหวังของตลำดในเรอื่ งควำมต้องกำร ควำมพึงพอใจและกำรเพม่ิ คุณค่ำ ตำมรำกฐำนในดำ้ น“demand chain” ตำมทกี่ ลำ่ วมำแล้ว ส่วนการจัดการเชงิ บรู ณาการ (Intra-sectoral Integrated Development/ Extension) ระหวา่ ง สาขาของพฒั นา/สง่ เสริมเกษตรภายในกระทรวงเดียวกนั ที่มกี ารดาเนนิ การมากขึน้ ในการเขา้ ไปสนบั สนนุ กลมุ่ เกษตรกร/วสิ าหกจิ ชุมชนเป้าหมายโดยท่ีทกุ ฝ่ายเท่าเทยี มกันและเพ่ิมคณุ คา่ แกก่ นั และกันในกระทรวงเกษตร การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดเิ รก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

8 และสหกรณ์ เพราะมีเป้าหมายทม่ี ุ่งให้ความรู้ถงึ มือเกษตรกรเป้าหมายใหเ้ กิดผลทางการปฏบิ ตั ใิ นการรบั “know how”มากที่สดุ ท่ีมเี กษตรกรกลุ่มเกษตรกรเปา้ หมาย/วสิ าหกิจชุมชนเปน็ ศูนย์กลาง ซึ่งการดาเนินการรว่ มกันโดยเฉพาะหนว่ งงานในกระทรวงเดยี วกัน (กรมปศสุ ัตว์ กรมประมง กรมกำร ขำ้ ว กรมวชิ ำกำรเกษตร กรมพัฒนำท่ดี ินฯลฯท่มี หี นว่ ยงำนวจิ ยั และพฒั นำ) และแม้ตา่ งกระทรวงท่เี ก่ยี วข้อง จาเปน็ ตอ้ งเขา้ ใจความหมายของ “การสง่ เสริมการเกษตร” ร่วมกนั ด้วยความถูกต้อง และชดั แจ้ง เพอ่ื สนบั สนุนกันและกนั และผลสะท้อนกลับมาแก่คลัสเตอร/์ เครอื ขา่ ยวิสาหกจิ คือการส่ังสมทรัพยากรด้านมนษุ ย์ กองทนุ กลาง ทุนทางสังคม ฯลฯ มมุ มองที่ 2 วธิ ีการในการคดิ (thinking method) ของการพัฒนา/ส่งเสริมการเกษตรเพ่อื ลด การตอ่ ต้านการเปลยี่ นแปลง ประกอบดว้ ยแนวคดิ ทส่ี าคญั ได้แก่ 1.ความร่วมมอื ร่วมใจ (participation) ในการกาหนดอนาคตของตนเองดว้ ยการสนับสนนุ ของ เจ้าหนา้ ที่รัฐ/เอกชน ร่วมมือร่วมใจในเร่ืองต่อไปนี่ 1.1การกาหนดภาพรวมอนาคตของตนเอง (scenario) เพ่ือมากาหนดว่าอะไรเปน็ ปัญหารว่ ม ความต้องการร่วม ความสนใจรว่ มของอนาคตทค่ี าดหวงั เพราะการกาหนดอนาคตแค่ดูขอ้ มลู ปัจจุบนั ไม่ใช่เร่ืองท่ีเป็นการทางานเชงิ รุก (proactive) แต่เปน็ การทางานเชงิ รับ (reactive) ท่ีมัวแตแ่ ก้ปัญหา หรือรอรับคาสง่ั ในการน้ีกลมุ่ เกษตรกรเป้าหมาย/เครอื ขา่ ย วิสาหกิจชุมชนเป้าหมาย เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน เปา้ หมายและ คลสั เตอร์เม่ือร่วมกาหนดภาพรวมอนาคตแล้ว จะเป็น (ก)ผู้วิเคราะหป์ ัญหาความตอ้ งการเองดว้ ย SWOT analysis แล้วจัดลาดบั ความสาคญั ของ ปญั หาตามผังก้างปลา และระบบ 20:80 โดยทค่ี วามหมายของ “ปญั หา” (ข)วเิ คราะหใ์ ห้รูว้ ่าจะใช้แนวโนม้ ทิศทางอะไร(คอื ยุทธศาตร/์ กลยุทธ์)ทีชาญฉลาดเพื่อบรรลุ เป้าหมายกใ็ ช้ TOWS matrix ทเ่ี นน้ จุดแข็งกบั โอกาส เปน็ พื้นฐาน (ค)การคัดสรรนวัตกรรม/เทคโนโลยีที่เหมาะสมเร่ิมต้นจากการเรยี นรทู้ ศิ ทาง แนวโน้มของ ตลาดเปา้ หมายวา่ คาดหวงั การตอบสนองความต้องการ ความพงึ พอใจ การเพิ่มคุณค่าในเรื่องใดแล้วจงึ มา กาหนดเทคดนโลย/ี นวัตกรรมทเ่ี หมาะสม ในลักษณะการออกแบบโครงสร้างแบบน้ี จะมีการกาหนด “โมเดล/แบบจาลอง/ตัวแบบ (model) เพ่อื นาไปส่กู ารรว่ มมือกันของพลังกลุ่ม โมเดลกาหนดงา่ ยๆเหมอื นกบั การทีเ่ ราจะสร้างบา้ น เราอยากไดบ้ า้ นท่ีมโี ครงสรา้ งอะไรที่สาคัญ มี ปจั จัยท่ีสาคญั ต่อความสาเร็จ (KSF: key success factors) อะไรมาใช้วดั ผลไดว้ ่าโครงสรา้ งครบตามมาตรฐาน กาหนด เราจะบรรลุความสาเร็จของโมเดลนี้ ซง่ึ ต้องควบคุมจดั การ(manipulate)ต้งั แต่กาหนดกรอบ ความสาเร็จ ว่าตอ้ งครอบคลมุ สี่มุมมองของ “ BSC : Balanced Score Card คอื (ก)การเรียนรแู้ ละการ เจริญเตบิ โต (ถำ้ เปน็ ภำษำนักพฒั นำ คำว่ำกำรเจรญิ เติบโต:growth) ควรเปน็ การพฒั นา) (ข) การเปล่ียนแปลง กระบวนการภายในขององค์กร (ค)การเงนิ และผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี (ง)กลุม่ ลูกค้าเป้าหมายในการตอบสนองความ คาดหวัง ด้านความต้องการ ความพึงพอใจ การเพ่ิมคุณคา่ การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดเิ รก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

9 เพือ่ ที่เราจะไดม้ าการประเมนิ ในการทาการควบคุมตดิ ตามไดช้ ัดเจนท้ัง “KSF & KPI” จงึ ตอ้ งรวู้ ่ามีกระบวนการอะไรบ้างทจี่ ะเป็นตัวช้ีวดั งานทส่ี าคัญ (KPI:key performance indicators) เราก็ต้องต้องมาร่วมวเิ คราะห์วา่ แตล่ ะระบบการทางาน (work systems)มีประเดน็ ยุทธศาสตร์ (strategic issue) อะไร และมีกลยุทธ์ (strategy; เน้นทิศทางและแนวโน้มท่ชี าญฉลาดในการบรรลเุ ป้า) อะไร จงึ สามารถ มากาหนดกระบวนการของงาน (performance) และเมด็ งาน (task) ท่ีเช่ือมโยงสมั พันธ์ เอื้อและสนับสนุนกัน และกันเพอ่ื เอามาวัดวา่ ถา้ ทาให้ครบตามตัวชวี้ ัดงานท่ีสาคัญ และเมื่อทดสอบโมเดลเชิงกลยุทธ์ (strategic model) ไดผ้ ล กส็ ามารถนาไปเป็นตน้ แบบ (prototype) ได้คล้ายกับทสี่ มยั กอ่ นมี “หมบู่ า้ นแกนนา” (แตไ่ ม่มกี ำรทดสอบกลยทุ ธ์) และโมเดลทเ่ี ปน็ ตน้ แบบนี้ จะมภี าพรวมให้เห็นชดั เจนกว่า เพราะทา “แผนท่ที างยุทธศาสตร์” (strategy map) ท่ีแสดงถึง KPI ในแต่ละขั้นตอนของBSC เช่ือมโยงกันอย่างไร 1.2 การดาเนินการท่ีใหไ้ ดม้ าซง่ึ ฉันทามติ (consensus) จะก่อต้ังการรวมตัวท่เี ข้มแข็ง (consolidationในรูปแบบของ integration) ของกลุ่ม/เครือขา่ ยน้ัน เปน็ พน้ื ฐานท่ีต้องอาศัยผปู้ ระสานงานทีม่ ี ความร้แู ละประสบการณด์ าเนินการสนับสนนุ ใหว้ สิ าหกจิ ชมุ ชน/เครือข่ายวสิ าหกจิ ชุมชน และคลัสเตอรท์ า เพือ่ ใหไ้ ด้มาท่ีคาตอบท่มี คี วามเป็นไปได้ในการปฏบิ ัติ ท่สี นองตอบความคาดหวงั ของความต้องการ ความพึง พอใจและการเพ่ิมคุณคา่ อยา่ งแท้จรงิ กระบวนการเพ่ือได้มาซงึ่ ฉันทามตนิ ้ัน จะเร่มิ ในลกั ษณะกระบวนการแบบ “PERT/CPM network” เพื่อให้เกิดตามขนั้ ตอนของขั้นตอน (1)และ(2)พร้อมกนั คือ(1)กาหนดระเบยี บวาระการประชมุ (agenda) (2) ใชห้ ลักการแสวงจุดรว่ ม สงวนจุดตา่ งเพื่อไปสู่ขนั้ ตอนท่ี(3) และ(4)คือข้ันตอนท่ี (3)เปน็ ข้ันตอนการระดมพลัง สมอง (brain storming) และขนั้ ตอนท่ี (4)คือการกาหนดตารางปฏิบตั กิ าร (schedule) ทีค่ วบคุมจัดการ (manipulate) ทิศทางและแนวโน้มการปฏบิ ตั ใิ ห้เป็นไปไดต้ ่อการบรรลุผลได้ ท่นี าไปสขู่ นั้ ตอนที่ (5)และ ขัน้ ตอนท่ี (6) โดยทขี่ ้นั ตอนที่(5)การมีผปู้ ระสานงาน (coordinators) ท่ีมสี มรรถนะในการปฏิสัมพนั ธท์ างบวก และการจงู ใจท่ชี านาญการเจรจาต่อรอง (6)การมผี ลประโยชน์รว่ มตามสถานการณ์ชนะ ชนะ คอื ทุกฝา่ ยท่ีรว่ ม กระบวนการไดป้ ระโยชน์ จึงนาไปสกู่ ารมีฉันทามติได้ (อมร นนทสุต และดเิ รก ฤกษห์ รา่ ย 2526อา้ งจากดเิ รก ฤกษห์ ร่าย,2553:57-9) 2.การเนน้ การมสี ว่ นร่วมของเกษตรกรเป้าหมายด้วยการมีเกษตรกรอาสาสมัครในบางสาขา เพราะ ตอ้ งการผลของการมแี กนนาทเี่ พ่ิมความชานาญเฉพาะอยา่ ง (specialization) ที่มีการสงั่ สมทกั ษะ (skills = แนวความคดิ +ความชานาญที่เกิดจากการฝกึ ฝน) ทเ่ี ขา้ มามสี ว่ นร่วมดว้ ย “จิตอาสา” เพราะการกาหนดการแบ่งกลุ่มเปา้ หมายเกษตรพ้นื ฐานสาหรับแตล่ ะคน ที่ใช้ “normal distribution curve” ท่มี ี “innovators, early adopter, early majority, late majority, laggard” มีจดุ พื้นฐานว่า การ ถ่ายโอน/การสง่ ผา่ น ทม่ี ีการสง่ ผ่านนวตั กรรม/เทคโนโลยที ่เี หมาะสมนน้ั เจา้ หน้าท่รี ฐั /เอกชนควรมีการติดต่อ ผา่ นแกนนาทีเ่ ปน็ “บัวประเภททีห่ น่ึงหรือบวั พน้ นา้ : innovators, early adopter” ทีมีประมาณร้อยละย่สี บิ ให้สง่ ผา่ น/ถา่ ยโอนไปยังบวั ประเภททส่ี องและสามคือ “บัวปรม่ิ น้า” early majority, late majority และบัว ใตน้ ้า : laggard จงึ ต้องมอี าสาสมัครแตล่ ะสาขาเพราะจรงิ ๆแลว้ การจัดกลุ่มตาม“normal distribution curve” นั้นคดั เลอื กจากคนท่มี ีปญั หาความต้องการในแต่ละเรอ่ื ง ไมใ่ ช่ต้องเป็นแบบนั้นท้ังชาตทิ เี่ กดิ มาเพราะ มนษุ ยก์ าหนดชีวิตตนเองได้ มนุษยเ์ ปลีย่ นแปลงทางบวกและมีการพัฒนาได้เน่ืองจากมนษุ ยท์ ุกคนมีศกั ยภาพ (potential) ท่ีซ่อนเรน้ และดึงขน้ึ มาใช้ได้เมื่อไดร้ บั โอกาส 3.การใหก้ ารฝกึ อบรมแกผ่ ทู้ ี่จะเป็นผู้ฝกึ อนาคต (Training for trainer) ด้วยการปรบั กรอบของ บทบาทเจา้ หนา้ ทรี่ ฐั /เอกชนมาใช้ การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

10 บทบาทท่ีถูกต้องของเจ้าหน้าทร่ี ฐั /เอกชนด้านการพฒั นา/การสง่ เสริมการเกษตร ต่อกลุ่มเกษตรกร เปา้ หมาย(ปรบั เพิม่ เติมจากแนวคดิ พื้นฐานของ ดเิ รก ฤกษ์หรา่ ย,2515:12)มที ่ีสาคัญคอื 3.1ผ้กู ระตนุ้ (stimulator) คอื กระตุ้นให้เกิดการต่ืนตวั (awareness) ในการรับรู้และเขา้ ใจ (perception & understanding)วา่ 3.1.1การเรียนรู้การตอบสนองความคาดหวังของตลาดในเร่ืองความตอ้ งการ ความพึง พอใจ การเพ่ิมคุณคา่ โดยเฉพาะเร่ือง “ห่วงโซค่ ุณภาพ”ของระบบการผลิตพชื สตั ว์ตัง้ แตต่ ้นน้า กลางน้า ปลายนา้ ให้ เข้าเกณฑ์มาตรฐานของโลก รวมทง้ั โรงงานก็ต้องผ่านมาตรฐานสากลทกี่ าหนดไว้ทงั้ ในเร่ืองของคุณภาพอาหาร ท่ีมสี งิ่ เจอื ปนต้องต่ากวา่ มาตรฐานเพ่ือคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคในตลาดต่างประเทศท่ีกาหนดเกณฑแ์ ละพฒั นาข้ึนไป มากขน้ึ แลเขยายไปดา้ นการรกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม ฯลฯ 3.1.2 รบั รู้กระแส ทศิ ทาง แนวโนม้ ของการพัฒนาเกษตรกรไทย เชน่ การเพิ่มคณุ ภาพพชื -สัตว์อาหารทีต่ อ้ งหล่อเล้ียงการเป็นครัวโลกของไทย และพืชด้านพลังงานที่ทา จากอ้อย มันสาปะหลัง ฯและขยายไปสูก่ ารใชส้ าหร่ายทะเลในทส่ี ดุ รวมท้ังการปลูกยางพาราทจ่ี ะดงึ แรงงานโรงงานจากเมืองสู่ชนบทเพรำะกำรรับส่วนแบ่งร้อยละส่ีสบิ (ประมำณเดือนละ 33,000 บำท) จำกสิบห้ำไร่ทำเงินต่อเดือน 83,000 บำท ท่เี จ้ำของสวนยำงได้แบ่ง60% คอื 53,000 บำทตอ่ เดือน จำกกำรทำยำงถว้ ย 3.1.3 ความเร่งด่วนในการวิจยั และพฒั นาเพ่ือแก้ปัญหาผลผลิตตอ่ ไรต่ ่าและตน้ ทนุ สูงใน ดา้ น ขา้ ว ออ้ ยทีแ่ ม้ทาเงนิ ใหป้ ระเทศมาก แตด่ ้อยในเรอ่ื งของพนั ธทุ์ ่ีขาดงานวจิ ัยและพัฒนาแม้ประสบ ความสาเรจ็ บา้ งในดา้ นชวี ภาพในหลายเร่ือง ชาวบา้ นเองสามารถที่จะทาการวจิ ัยและพัฒนาอยา่ งง่ายๆ มีระบบทีต่ อบสนองความตอ้ งการของ ชมุ ชนตนเองได้ตามทย่ี กตวั อยา่ งมาแลว้ 3.1.4 เพิม่ ความพร้อมในการประกอบการเพราะโลกไรพ้ รมแดน ตอ้ งแขง่ ขนั กันแต่ เออ้ื เฟ้ือเอื้ออาทรกันและกันตามสถานการณ์ชนะ ชนะ โดยเฉพาะความพร้อมดา้ น การตลาดทน่ี ามาสู่การคัด สรรนวตั กรรม/เทคโนโลยที ่เี หมาะสม 3.2ผู้เร่งปฏกิ รยิ า (catalyst) คอื เขา้ รว่ มกระทาการดว้ ยแตส่ ถานะเป็นผปู้ ระสานงาน ผุ้สนบั สนุน เพื่อเร่งปฏิกริ ิยาให้เกิดข้ึนมากกว่าทีจ่ ะเกิดข้นึ เองในตัวมนุษย์ คอื แมจ้ ะมีคณุ ค่าความเปน็ มนุษยเ์ ทา่ เทยี มกนั้ แตแ่ ตกตา่ งกั้นทั้งคุณวฒุ ิ และวุฒภิ าวะ จึงต้องเร่ง ปฏิกิรยิ าด้วยการใหม้ นุษยท์ ีเ่ ปน็ กล่มุ เป้าหมายกระทาการร่วมกันเพ่ือสลายปัญหาร่วม สนองความต้องการรว่ ม ความสนใจร่วมและการเพ่ิมพูน/สง่ั สมความชานาญเฉพาะอยา่ งท่ีจะต่อยอดเทคโนโลยไี ดด้ กี วา่ และเกิดการ “แบง่ ปนั ” และ “เอื้อเฟื้อเอื้ออาทร”กันและกนั (ตำม “พรหมวหิ ำรสี่) เพราะต้องการสถานการณ์ท่ีชนะ-ชนะ (win-win situation) ที่นามาซึง่ การเกดิ “พลงั ร่วม” และ “ผลทวคี ณู ” (multiple effect) ทเ่ี กดิ จากการ ทางานเชิงรกุ (proactive) 3.3ผู้สนับสนุนการก่อต้งั องค์กร (organizer) โดยพาะการเนน้ ทีร่ ปู แบบของเครอื ข่ายตั้งแตท่ ่ีไม่ สลับซบั ซอ้ น ทีเ่ ปน็ เครือขา่ ยย่อยๆมีคน4-8 คน จนถึงระดับสลับซบั ซอ้ นท่เี ป็นเครอื ขา่ ยของวสิ าหกิจชุมชน ที่ รวมตัวจากวสิ าหกจิ ชุมชนต้ังแตส่ องแหง่ ข้ึนไปร่วมกันเพอื่ ประโยชนร์ ่วมโดยเฉพาะทางการตลาดและนวัตกรรม ท่ีสง่ ผลให้เกดิ การส่งั สมทรัพยากร (ก)มนุษย์ (ข) ทุนทางการเงนิ และทนุ ทางสังคม ฯลฯ การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดเิ รก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

11 3.4ผ้สู ง่ ผ่าน/ถ่ายโอนขอ้ มูล (Information transfer) โดยเฉพาะข้อมลู สารสนเทศทาง คอมพิวเตอร์ ศูนย์การถ่ายทอดนวัตกรรม ศูนยก์ ารเรียนรู้ ฯลฯ คือไม่ใช่แค่เพียงปากต่อปาก (person to person) หรอื ทางส่ือสารมวลชน (mass media) แบบดงั้ เดิมทท่ี ากัน มมุ มองที่ 3 ฐานความรูแ้ ละการปฏบิ ตั ติ ามแนวคดิ ทฤษฎีและแนวความคดิ ทีเ่ กิดการสั่งสมทกั ษะ 1.การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมท่ีมีผลมาจากการถา่ ยทอดนวัตกรรม/เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม 1.1ยดึ กลยทุ ธพน้ื ฐานคือ (ก)“ประชาชน/กลุม่ เกษตรกรเป้าหมาย เปน็ ปัจจยั ช้ีขาด”และ “คาตอบอยทู่ หี่ มบู่ ้าน” รวมท้ัง (ข)“การเร่ิมตน้ จากสิ่งทม่ี ีอยู่ในชุมชนโดยเฉพาะวิถชี วี ิต วิถชี ีวติ น้ี เป็นภำพรวมอนำคตท่พี งึ ปรำรถนำ ไมใ่ ช่วถิ ชี วี ิตดัง้ เดิมท่ีมกั ถูกครอบงำทำงควำมคิด แลว้ ย่ำ อยู่กับท่ี ยกเวน้ ควำมยง่ั ยนื ของกำรดำเนินกำรวิถีแห่งพุทธะตำมปรชั ญำพุทธศำสนำทตี่ อ้ งพึงเข้ำใจหลกั คำสอน ที่สนับสนนุ กำรพฒั นำ (ไม่ใชต่ ีควำมผิดเพ่ือเอำมำครอบงำผู้คน) คำสอนท่ปี ระเสรฐิ ยงิ่ ทำงพทุ ธศำสนำทตี่ ้องตคี วำมใหถ้ ูกต้องไม่บิดเบือนเพื่อครอบงำผุ้คน จึงไมข่ ัดกับ กำรพฒั นำเชน่ อริยสัจจ์สี่ พรหมวิหำรส่ี มนษุ ย์กำหนดชวี ิตตนเองได้ กำรไมส่ นั โดษในกุศลกรรมแต่สนั โดษใน อกุศลกรรม เงนิ เป็นเหตปุ จั จัยทีท่ ำให้ชีวิตดขี ึ้นโดยเฉพำะในกำรเอื้อเฟื้อเอ้อื อำทรและกำรแบ่งปันกำรใหโ้ อกำส และทำงเลือกที่ดใี นกำรชว่ ยเขำใหช้ ว่ ยตนเองได้ โดยเฉพำะแก่ผู้คนทยี่ งั ตดิ ในวงั วนของกำรหำเลีย้ งชีพฯลฯ เพ่อื ใหโ้ ลก สังคมของเรำชนะชนะท่ีมมี ีคณุ ค่ำควำมเปน็ มนุษยท์ ี่เทำ่ เทียมกัน แข่งขันกันทำควำมดีเพ่ือพอกพูน ม่งั คง่ั ของทรพั ย์ทมี่ ำจำกสมั มำอำชีวะด้วยรำกฐำนของจติ ท่ีสะอำดทำควำมดีละเว้นควำมชัว่ (ดูรำยละเอียด เพ่มิ เติมทมี่ ุมมองที่ 4ขอ้ 2) 1.2การเปลยี่ นพฤติกรรมตามแนวทางความร่วมมือกันแบบพบกันครงึ่ ทาง (Interactive Participatory Approach ตามการถ่ายทอดท่เี หมาะสม เนน้ ; ดรู ายละเอยี ดในดิเรก ฤกษ์หรา่ ย 2525:35) คือเจ้าหนา้ ที่รัฐ/เอกชนทางด้านการพฒั นา/การสง่ เสรมิ การเกษตร กระทาตามบทบาทส่ปี ระการซง่ึ ถา้ เปน็ เร่ืองใหม่ทีเ่ กษตรกรไม่รูม้ ากอ่ น (เช่นด้านการตลาดและนวัตกรรม) แต่มคี วามสนใจร่วม การเพิ่มคณุ คา่ (values) อาจจะพบกนั ครงึ่ ทางที่ 50:50 หรอื 40:60 คอื เจ้าหนา้ ที่ตอ้ งเข้ามามสี ว่ นด้านการ “เรง่ ปฏิกรยิ า”ให้ มากทีส่ ดุ แต่ถา้ เป็นปัญหาร่วม ความต้องการรว่ มอย่แู ลว้ ก็พบกันครง่ึ ทางท่ี 10:90 หรือ10;80เป็นตน้ 1.3 การเปลีย่ นพฤติกรรมเลยไม่ต้องผ่านการเปลย่ี นความรู้ ทศั นคติ ความเชื่อ ค่านิยม คือใช้พลังกลุม่ สรำ้ งกฎ ระเบียบให้ทำตำม เชน่ สหกรณ์โพนยำงคำรับซื้อเนือ้ ววั ตำมเกรด โรงพยำบำล อภัยภเู บศรบั ซื้อขม้นิ ชนั ตำมสำรเคอร์คูมนิ ทีม่ สี ำรนนี้ ้อยกไ๊ ม่ซ้อื บรษิ ัมเอกชนท่ที ำฟำรม์ ตำมข้อตกลง ก็ กำหนดระบบและหกระบวนกำรให้สมำชกิ ปฏิบตั ิ ซึ่งถำ้ เปน็ กระบวนกำรพนื้ ฐำน จะเป็นกำรเปล่ยี นทีละขั้นที่เริ่มจำกควำมรู้และควำมเข้ำใจเป็น ควำมคิดเชิงและทศั นคตบิ วก ควำมเชอ่ื ที่ไม่งมงำย คำ่ นยิ ม และพฟติกรรม กำรสร้ำงควำมคิดเชงิ บวก (บวกปญั ญาดว้ ยเพ่อื ละเวน้ การไมร่ ู้เท่าทนั โลกท่ีนาไปส่กู ารมีทัศนคตเิ ชงิ บวก) ตอ่ กำรเพิ่มขดี ควำมสำมำรถในกำรประกอบกำรจากพ้ืนฐานวา่ “เกษตรกรกาหนดชวี ติ ของตนเองได้” ไม่ใชแ่ ค่เพียงตัง้ ตนอยู่แค่ข้ันตอนทีห่ น่งึ ของเกษตรทฤษฎีใหม่ เทา่ นนั้ ก็พอเพยี งแลว้ แต่สามารถยน่ ระยะเวลาการพฒั นาตนเองได้จากการทาร่วมกัน (รวมกันคดิ แยกกนั ทา) แลว้ เรียนร้รู ว่ มกันจากการถ่ายทอด ส่งผา่ น/ถา่ ยโอนนวตั กรรม/เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมภายในกลุ่มเลก็ ท่เี ปน็ การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

12 กลุ่มธรรมชาติหรอื กลุ่มเป็นทางการแต่ไมท่ าแบบทางการคืออยู่กนั แบบหลวมฟๆ แตจ่ ะเน้นวิสาหกจิ ชุมชน เป็นรากฐานเครือขา่ ย เครือข่ายวสิ าหกิจชมุ ชน และคลสั เตอร์ ความคิดเชงิ บวกนามาซง่ึ ทศั นคติเชงิ บวกท่ีนาไปสู่ความเชื่อทีม่ เี หตุผล (belief) ว่าเหตุปจั จัยหน่งึ หรือ มากกวา่ ทาให้เกดิ ผลที่พงึ ปรารถนา และความเชื่อทม่ี ีศรัทธา (myth & faith) ท่ีเชือ่ อย่างไม่มขี ้อสงสยั (อำจ นำส่คู วำมดีเช่นเชอื่ คำสอนพุทธศำสนำ หรอื ควำมงมงำยลมุ่ หลงกไ็ ดเ้ ช่นเช่อื พวกนักบุญจอมปลอม) แล้วเกดิ พันธะสญั ญา (commitment) ที่มรี ะดับของความปรารถนาแรงกลา้ ต้งั แต่ท่ีมีระดับความปรารถนาสูงสุดลงไป ตา่ คอื จาก (ก) “passion” : ความปรารถนาแบบหลงไหลทางบวกด้วยความกระตือรือรน้ ของตนเองว่าทาได้ แน่นอนและเกดิ จากแรงบนั ดาลใจท้ังแบบการดลใจ(inspiration)และแรงบันดาลใจทต่ี นเองมีความปรารถนา ก่อต้งั เปา้ หมายชีวติ เอง (aspiration), (ข) “desire” : ความปรารถนาที่ร่วมกบั คาอธิษฐานเพ่อื ขอแรงดลใจ” (ค)“need” : ความตอ้ งการท่ีแท้จริงที่จะกลายมาเป็นความปรารถนา” (ง) “want” ; ความต้องการทีร่ ะดบั ตา่ ท่ีกลายมาเป็นความต้องการแตอ่ าจกลายเป็นฝันกลางวันได้เพราะเปน็ ความปรารถนาระดับต่า จะลงมือ ประกอบการอย่างต่อเน่ืองดว้ ยจิตและใจท่ีมนั่ คงแนว่ แน่เพ่ือบรรลุสง่ิ ทพ่ี ึงปรารถนา มุมมองท่ี 4 มรดกทางวัฒนธรรม ด้านวถิ ีชีวิตคนไทย การส่มั สมทนุ ทางทรัพยากร ทงั้ นย้ี ดึ “ส่งิ ทีม่ ีอยู่ในชุมชนเป็นพ้นื ฐาน” ทีจ่ าเปน็ ตอ้ งเปน็ ความคิดในประเด็นท่ีสาคัญเชน่ 1.กำรไมต่ ิดยดึ วถิ ชี ีวิตปจั จุบัน (และอดตี ท่กี ลำยเปน็ วฒั นธรรม ประเพณเี ท่ำนั้น) ฯลฯ ด้วย เพราะโลก เคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ไม่มอี ะไรที่เป็นความเที่ยงแทแ้ น่นอน วถิ ชี วี ติ ท่ีพงึ ปรารถนาในรูปแบบ ของ “ภาพรวมอนาคต” (scenario) จงึ ต้องถูกกาหนด และตอ้ งอยใู่ นกรอบความคิดพนื้ ฐานของการสั่งสม ทรัพยากรทนุ ในเรื่องของ 1.1ทุนของกองทุนกลาง (ไมใ่ ชก่ องทุนหมู่บา้ น) ท่เี กิดจากการมเี ครือข่ายของวสิ าหกิจชุมชนแล้ว ทากาไรหกั เป็นกองทุนกลางเพอ่ื ซ้ือปัจจยั นาเขา้ ท่จี าเป็น 1.2 ทุนทางความรู้ ทักษะ และอุปนสิ ัยทีด่ ีในการทางานเพื่อความสาเรจ็ ระบบชนะชนะ ทค่ี วรมี แหล่งเวบ็ ไซต์ทเี่ ก่ียวข้องบรกิ ารสมาชิกและใหร้ ุ่นเดก็ ถ่ายทอดแก่พ่อแม่เพ่ือการยอมรับกันในครอบครัว 1.3 ทุนของการเปลีย่ นแปลง (change) พฤติกรรมเป็นการพัฒนา ที่เนน้ ในเรอื่ ง (ก) การปรบั เปลยี่ นวิธคี ดิ (ข) วิธีการปฏสิ ัมพันธ์ทางบวกที่เหมาะสม (ค)การบรกิ ารท่เี หมาะสมกับการเปลยี่ นแปลง ของปรากฏการณ์ (phenomena) (ง) การพัฒนาคนร่วมกันในชมุ ชน สงั คมด้วยการเปิดใจ (open minded) ในการแบง่ ปนั ความร้แู ละทกั ษะ 1.4 ทุนทางสังคมที่อยู่รว่ มกนั ดว้ ยการทาให้ชมุ ชนเข้มแข็งโดยเฉพาะการรบั ผดิ ชอบสาหรับกาไร ของสังคมในเร่ืองของการร่วมกนั รับผดิ ชอบต่อสงั คม (CSR :Corporate Social Responsibilty)เชน่ การที่ เครอื ปูนซีเมนต์ไทยทาโครงการสรา้ งฝายชะลอนา้ ห้าหมืน่ ฝายที่ชุมชนร่วมมอื (เสร็จแล้วเกิน25,000ฝายในปี 2555) หรือการที่ ปตท. ปลูกปา่ หรือเครือเจรญิ ดภคภณั ฑ์เร่มิ ดแู ลป่าชายเลน ฯลฯ 1.4.1การรว่ มมือกนั (collaborate) ของต่างกลุ่มหรือเครือข่ายที่คดิ เห็นต่างกนั เพื่อการ ดึงศกั ยภาพเพ่ิมขดี ความสามารถท้งั รปู แบบท่ีเป็นและไม่เป็นทางการ 1.4.2 กระบวนการเรยี นรรู้ ่วมกันทมี่ ีการแลกเปลย่ี นถ่ายโอนความรู้ กระบวนการ ตดั สินใจทต่ี อบโจทยืไดค้ รบถ้วน 1.4.3 การเปลย่ี นกระบวนทศั น์ (paradigm shift) ใหเ้ ปน็ การเกิดความรว่ มมอื กันแม้ แตกตา่ งกนั ดว้ ยคณุ คา่ และการสบื ทอดเจตนารมย์ ท่เี น้นการกระต้นุ ใหผ้ ูค้ นเข้ามาร่วมการพฒั นาศักยภาพ การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

13 1.4.4 กลุ่ม/เครือขา่ ยมีพลงั อานาจ และความรบั ผดิ ชอบในการนาการเปล่ียนแปลงท่ี ผนู้ าแต่ละคนสามารถกาหนดคาตอบแกโ่ จทยก์ ารเปลีย่ นแปลงไดด้ ี โดยแพะในเรื่องของการปลุกจิตสานึกของ การพฒั นาการพึ่งตนเอง เออ้ื เฟอื้ เอื้ออาทร ที่เม่ือมคี วามขัดแย้ง กลมุ่ ต้องเจรจาต่อรองให้ความขดั แย้ง กลายเปน็ การพฒั นาและการรับผิดชอบรว่ มกนั ตอ่ เป้าหมายร่วมทีก่ าหนดทเี่ ป้าหมายรว่ มนน้ั ต้องเชือ่ มโยง ผลประโยชน์สูช่ มุ ชน สงั คมดว้ ยการกาหนดเปน็ ภาพรวมอนาคต ซง่ึ จาเปน็ ต้องมีการระดมทรัพยากร การมกี าร เช่อื มโยง สรา้ งสายสมั พนั ธท์ ่ีดีตอ่ กนั และกนั ในระบบการจัดการและการปฏสิ มั พนั ธ์ 1.5 ทนุ ทางวถิ ีชีวติ ทเ่ี อ้ืออาทร แบง่ ปนั กันตามหลักศาสนาพทุ ธ (ในข้อถัดไปในประเด็นท่สี าคัญ) 2.คาสอนทางพุทธศาสนาเปน็ มรดกตกทอดทงี่ ดงามในการดาเนินชวี ิตของคนไทย ท่ีพงึ รักษาไว้เพราะ ทาใหช้ ีวิตมแี ต่ความเจริญ และมีความสุขในการอยู่ร่วมกนั ได้ ด้วยการตีความทางพุทธศาสนาใหถ้ ูกต้องท่ีมีการ แยกเมล็ดออกมาจากผลไม้แลว้ (อ่านรายละเอยี ดได้ในหนงั สือทกุ เล่มทเี่ อาคาสอนพระพุทธองค์มาอธิบายง่ายๆ ของพระพรหมคณุ าภรณ์ ป.อ. ปยุตโต) เช่น 2.1มนษุ ย์ทกุ คนกาหนดชีวิตตนเองได้ 2.1.1มนุษย์จงึ สามารถเปลย่ี นแปลง/พัฒนาตนเองได้ จากบวั เหลา่ สดุ ท้ายคือเหล่าที่สาม (พระพุทธองค์กำหนดว่ำมแี ค่สำมเหล่ำไมม่ ีบวั เหล่ำทีส่ ี่ทีเ่ ถระสงฆแ์ ต่งเติมเองว่ำ “กลุ่มบวั อยู่ในโคลนตมต้อง ปลอ่ ยใหเ้ ต่ำปปู ลำกินไป”) มาเปน็ “บัวปร่มิ น้า และบัวพน้ น้าตามลาดับได้ 2.1.2 มนุษย์มศี ักยภาพเมื่อได้รับโอกาสเพราะมนุษย์แมจ้ ะเป็นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีใหญ่ เลก็ ต่างกนั แต่คอมพิวเตอรเ์ ล็กถา้ ได้ “software” ท่ีมีคุณภาพกเ็ ปล่งประกายได้ดกี วา่ เครอื่ งใหญ่ท่ีขาด “software” ทด่ี ี ก็เปน้ แคเ่ ศษโลหะ 2.1.3มนษุ ย์ไมใ่ ช่ “หนอนในโถอุจจาระ” จงึ ไม่ใช่พอใจชีวิตแม้กระทง่ั การยอมรับไดก้ ับส่ิงท่ี เลวรา้ ยเพราะแค่มีอุจาระ มาใหก้ ินก็พอใจแล้ว หรือไม่ใช่แค่ “สนุ ัขนอนหน้าร้านเซเว่นมีความสขุ แค่เพียงรับแอรเ์ ยน็ จากร้าน หรือเป็นมนษุ ย์ที่ยอมรบั ว่ามีความสขุ แม้ชวี ิตอยู่ตา่ กวา่ ระดับคุณภาพชีวิตตามเกณฑค์ วามจาเป็น พ้ืนฐาน (Quality of Life as Basic Minimum needs : BMN Critria) ซง่ึ เกณฑค์ ุณภาพชีวติ เหลา่ นต้ี ้องเพิ่มข้ึนตลอด ตามแนวทาง “ทางสายกลางของพระพุทธองค์” เพราะการเป็นมนุษยค์ ุณค่าต้องเพ่ิมข้นึ สงั่ สมอยา่ งต่อเนื่อง เพราะการ “ไม่สันโดษในกุศลกรรม แต่ สนั โดษในอกุศลกรรม” 2.1.4ปญั หาทกุ อยา่ งแก้ได้ แต่เม่ือสาเร็จ ปญั หาใหม่ยิ่งมีมากกว่า สลบั ซับซ้อนกวา่ จงึ ต้อง ใช้หลักอริยสจั จส่คี ือ ทกุ ข์ (ปัญหา) สมุทยั (เหตปุ ญั หาท่ีต้องแก้ที่ตน้ ตอร้อยละ 20 แต่เกิดผลดับ/แกป้ ญั หาได้ รอ้ ยละ80 ทีเ่ หลือก็จะคลคี่ ลายเอง) นิโรธ (เปา้ ประสงคแ์ ละภาพรวมอนาคตที่ดีทีส่ ดุ ทีก่ าหนดไว้ลว่ งหน้าทง้ั เชงิ บวก(the best case scenario) และเชิงลบ : (the worst case scenario) มรรค (กลยุทธซ์ ่งึ เปน็ ทิศทาง แนวทางทีเ่ ปน็ ไปได้และมีความชาญฉลาดในการสลายเหตุปัญหาสนองความต้องการ)ฯลฯ ซ่ึงการวิเคราะห์แบบน้เี ป็นแบบองคร์ วม (holistic) ทต่ี ้องการทกั ษะเพราะเหตุปัจจยั มากมายท่เี รามอง ไมเ่ หน็ และขาดข้อมลู ทเ่ี ม่ือความพร้อมมากขึ้น กส็ ามารถรวบรวมเอาข้อผดิ พลาดมาพฒั นาแก้ไขในการ ตัดสนิ ใจไดม้ ากขน้ึ 2.1.5 เงนิ เปน็ เหตุปัจจัยที่ทาใหช้ วี ิตดีขึ้น (ดว้ ยการไม่เบยี ดเบียนใคร มจี ติ บริสุทธท์ าความ ดี ละเวน้ ความชัว่ ) การต้งั เป้าหมายชีวิตเปน็ “ฉนั ทะ” เพราะมีพรหมวิหารส่ี เออ้ื เฟ้ือเอ้อื อาทรและแบ่งปนั ไม่ใชเ่ ป็น “ตัณหา”ที่มงุ่ แตส่ นองตนเองเป็นหลัก การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดเิ รก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

14 เอกสารอา้ งองิ ดเิ รก ฤกษ์หรา่ ย,การสง่ เสริมการเกษตร โรงพิมพ์กรงุ สยาม, 2515:12 ดเิ รก ฤกษห์ ร่าย, การนาการเปลีย่ นแปลง, โรงพิมพก์ รุงสยาม , 2525:35 โชติ สุวรรณาภรณ,์ นสพ.มติชนรายวัน, ความเหลอื่ มล้าทางเศรษฐกจิ สงั คมของไทยฯ”, 30 เมษายน 2555 :18 ธนาคารแห่งประเทศไทย,ไทยรฐั , “ขา่ วเศรษฐกิจ” ,5 มนี าคม 2555:9ประชาชาตธิ ุรกจิ , “เศรษฐกจิ ภมู ิภาค”, “ข้าวนาโนกาแพงเพชรสโู้ รคผลผลิตเพิ่มเท่าตวั ”, 21-24 มิถุนายน 2555:9) ประชาชาติธุรกจิ , “AECเปลย่ี นประเทศไทย”, 28-30 พฤษภาคม2555:2 ประชาชาติธุรกจิ , “เศรษฐกจิ ในประเทศ”, 25-27 มิถนุ ายน 2555:50 โพสต์ทเู ดย์, “เศรษฐกจิ ภาครัฐ”, เปิดอาเซียน, 20 มถิ นุ ายน 2555:B11 โพสต์ทเู ดย,์ “การตลาด”, แผนปอ้ งกันอุทกภัย, 25มิถุนายน 2555;B1 สมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ์, ประชาชาติธรุ กิจ , การเงิน ,“สมคดิ ชี้ เงื่อนไขทางรอดของประเทศไทย ฯ”, 25-27 มิถนุ ายน 2555:19 อมร นนทสุต และดิเรก ฤกษ์หรา่ ย “การประชุมคณุ ภาพชวี ติ ตามเกณฑ์ “Basic minimum Needs :BMN” ของสนง.พัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 21พฤษภาคม 2526อา้ ง จากดิเรก ฤกษห์ รา่ ย,การวจิ ยั และพัฒนา ,เอกสารคาสอนสาหรับนักศึกษาปรญิ ญาเอก สาขา “ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา”, 2553:57-9 การสง่ เสริมการเกษตรยคุ ไร้พรมแดน ศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก ฤกษ์หร่าย ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook