Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 12(1)

Description: 12(1)

Search

Read the Text Version

หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2557) หามจําหนา ย หนงั สือเรียนเลมน้ี จัดพมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผน ดนิ เพ่อื การศึกษาตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธิ์เปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2557) เอกสารทางวิชาการลาํ ดบั ที 36/2557

คํานํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เมือ่ วันที่ 18 กนั ยายน พ.ศ.2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญา และความเชื่อพืน้ ฐานในการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและ สงั่ สมความรู และประสบการณอ ยางตอเนอ่ื ง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือน นโยบายทางการศึกษาเพ่ือเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพ ท่ีสามารถสรางรายไดท่ีม่ังคั่งและมั่นคง เปนบุคลากรท่ีมีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และเน้ือหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ใหม ีความสอดคลอง ตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและ สอดแทรกเนอื้ หาสาระเกี่ยวกบั อาชีพ คณุ ธรรม จริยธรรม และการเตรียมพรอมเพื่อเขาสูประชาคม อาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนา หนงั สือที่ใหผเู รยี นศกึ ษาคน ควา ความรดู วยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัดเพ่ือทดสอบความรู ความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกลุมหรือศึกษาเพิ่มเติมจากภูมิปญญาทองถิ่น แหลง การเรียนรูและสอื่ อื่น การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังนี้ ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ สาขาวชิ า และผเู กีย่ วขอ งในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจาก สอ่ื ตา ง ๆ มาเรียบเรยี งเนอ้ื หาใหครบถว นสอดคลอ งกบั มาตรฐาน ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง ตวั ช้ีวัดและ กรอบเนื้อหาสาระของรายวิชา สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวา หนงั สือเรียนชุดนีจ้ ะเปนประโยชนแ กผ ูเรียน ครู ผูสอนและผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมี ขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน. ขอนอ มรบั ดว ยความขอบคุณย่ิง

สารบญั คาํ นํา คําแนะนาํ โครงสรางรายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค21001) ขอบขา ยเน้อื หา บทท่ี 1 ภมู ศิ าสตรกายภาพทวปี เอเชีย .............................................................. 1 เรื่องที่ 1 ลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของประเทศ ในทวปี เอเชีย .............................................................................. 3 เรื่องท่ี 2 การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรกายภาพ................................10 เร่ืองที่ 3 วิธีใชเครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร ....................................................19 เร่อื งที่ 4 สภาพภมู ิศาสตรก ายภาพของไทย ทส่ี งผลตอทรพั ยากรตางๆ.........................................................25 เร่ืองท่ี 5 ความสาํ คัญของการดาํ รงชีวิตใหส อดคลอ ง กับทรัพยากรในประเทศ ...........................................................32 บทท่ี 2 ประวตั ิศาสตรท วปี เอเชยี ...................................................................44 เรื่องท่ี 1 ประวัตศิ าสตรส ังเขปของประเทศในทวปี เอเชยี .........................46 เร่ืองที่ 2 เหตุการณส ําคญั ทางประวัตศิ าสตรท่เี กดิ ข้ึนในประเทศไทย และประเทศในทวปี เอเชยี .........................................................66 เรอื่ งที่ 3 พระราชกรณียกจิ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและ สมเด็จพระนางเจา สิรกิ ิติ์ ทสี่ ง ผลตอ การเปลี่ยนแปลงของ ประเทศไทย.........................................................................87 บทที่ 3 เศรษฐศาสตร. ...................................................................................113 เรื่องท่ี 1 ความหมายความสําคญั ของเศรษฐศาสตรมหภาค และจุลภาค.............................................................................114 เรื่องท่ี 2 ระบบเศรษฐกิจในประเทศไทย................................................116 เร่อื งท่ี 3 คณุ ธรรมในการผลติ และการบริโภค........................................130 เรื่องท่ี 4 กฎหมายและขอ มูลการคุมครองผบู ริโภค................................136 เร่อื งท่ี 5 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตา งๆ ในเอเชีย ............................142 เรื่องที่ 6 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น...............................................153 บทที่ 4 การเมอื งการปกครอง ......................................................................153 เรือ่ งที่ 1 การเมอื งการปกครองทใ่ี ชอยูในปจ จบุ ัน ของประเทศไทย .....................................................................154 เรื่องที่ 2 เปรยี บเทียบรูปแบบทางการเมอื งการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยและระบบอ่นื ๆ ......................................166 แนวเฉลยกิจกรรม ……………………………………………………………………………………….175 บรรณานุกรม ……………………………………………………………………………………….185 คณะผจู ัดทํา ……………………………………………………………………………………….189

คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สอื เรยี น หนังสือสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เปนหนังสือเรียนท่ีจัดทําขึ้นสําหรับผูเ รียนที่เปน นักศึกษานอกระบบในการศึกษาหนังสือสาระ การพฒั นาสงั คม รายวิชาสงั คมศึกษา (สค21001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ผูเรยี นควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี ศกึ ษาโครงสรางรายวชิ าใหเ ขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง และขอบขา ย เนื้อหาของรายวิชานนั้ ๆ โดยละเอยี ด 1. ศึกษารายละเอียดเนอื้ หาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรมตามทีก่ ําหนด ถา ผเู รยี นตอบผดิ ควรกลบั ไปศึกษาและทาํ ความเขา ใจใน เนื้อหาน้นั ใหมใหเ ขาใจ กอ นท่ีจะศกึ ษาเรื่องตอๆไป 2. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทายเร่ืองของแตละเรอื่ ง เพือ่ เปน การสรปุ ความรู ความเขา ใจของเน้ือหาใน เรื่องน้ันๆ อีกคร้งั และการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของแตล ะเน้ือหา แตละเร่ือง ผเู รียนสามารถนาํ ไปตรวจสอบ กับครแู ละเพอ่ื นๆ ท่ีรว มเรยี นในรายวชิ าและระดับเดียวกันได 3. หนงั สอื เรียนเลม นม้ี ี 4 บท คือ บทท่ี 1 ภมู ิศาสตรกายภาพทวีปเอเชยี บทท่ี 2 ประวัติศาสตรทวีปเอเชยี บทที่ 3 เศรษฐศาสตร บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง

โครงสรา งรายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001) สาระสําคญั การศกึ ษาเรยี นรูเกยี่ วกับความเปลี่ยนแปลงของสง่ิ แวดลอ มทางกายภาพท้ังของประเทศไทย และทวปี เอเชยี วิวัฒนาการความสมั พันธของมนษุ ยกบั ส่ิงแวดลอม การจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยาง จาํ กัดเพื่อใหใชอยางเพยี งพอในการผลิตและบริโภค การใชขอมลู ทางประวัติศาสตรเ พื่อวิเคราะหเ หตุ การณใ นอนาคต การเรยี นรเู ร่อื งการเมืองการปกครอง สามารถนําไปใชประโยชนในการดําเนินชีวิต ประจําวนั ได ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง 1. อธิบายขอมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครองที่ เก่ียวของกับประเทศในทวีปเอเชยี 2. นาํ เสนอผลการเปรียบเทียบสภาพภูมศิ าสตร ประวตั ิศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการ ปกครองของประเทศในทวปี เอเชยี 3. ตระหนกั และวเิ คราะหถ ึงการเปลย่ี นแปลงทเี่ กิดขนึ้ กบั ประเทศในทวปี เอเชยี ทมี่ ีผลกระทบ ตอประเทศไทย ขอบขา ยเนอ้ื หา บทที่ 1 ภูมิศาสตรกายภาพทวีปเอเชีย เรอื่ งที่ 1 ลกั ษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของประเทศในทวีปเอเชยี เรอ่ื งที่ 2 การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิศาสตรกายภาพ เรอื่ งที่ 3 วิธีใชเ คร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร เรอ่ื งท่ี 4 สภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยท่ีสง ผลตอ ทรพั ยากรตา งๆ เรอื่ งท่ี 5 ความสําคัญของการดํารงชีวิตใหสอดคลอ งกับทรัพยากรใน ประเทศ บทท่ี 2 ประวัติศาสตรทวีปเอเชีย เรอ่ื งที่ 1 ประวัตศิ าสตรสังเขปของประเทศในทวปี เอเชยี เรอ่ื งที่ 2 เหตุการณส ําคัญทางประวัติศาสตรท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทยและ ประเทศในทวีปเอเชีย

เร่อื งท่ี 3 พระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวและสมเด็จพระนาง เจา สิริกิติ์ ท่สี ง ผลตอการเปลย่ี นแปลงของประเทศไทย บทที่ 3 เศรษฐศาสตร เรื่องท่ี 1 ความหมายความสําคญั ของเศรษฐศาสตรม หภาคและจลุ ภาค เรอ่ื งที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในประเทศไทย เรือ่ งท่ี 3 คุณธรรมในการผลิตและการบรโิ ภค เรอ่ื งที่ 4 กฎหมายและขอมูลการคุมครองผบู ริโภค เร่อื งที่ 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา งๆ ในเอเชีย เรอื่ งที่ 6 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง เรอื่ งท่ี 1 การเมอื งการปกครองท่ีใชอ ยใู นปจจบุ ันของประเทศไทย เรื่องท่ี 2 รูปแบบการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยและ ระบบอ่ืนๆ สื่อประกอบการเรยี นรู 1. หนังสือเรียนรายวิชาสังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบและระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 2. เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร เชน แผนท่ี ลูกโลก เข็มทิศ รูปถายทางอากาศและ ภาพถายจากดาวเทยี ม 3. เวบ็ ไซต 4. หนังสือพิมพ วารสาร เอกสารทางวชิ าการตามหอ งสมุดและแหลง เรียนรูในชุมชน และห องสมุดประชาชน หอ งสมดุ เฉลิมราชกุมารใี นทอ งถน่ิ

1 บทที่ 1 ภมู ิศาสตรก ายภาพทวปี เอเชีย สาระสาํ คัญ ภูมิศาสตรกายภาพ คือวิชาท่ีเกี่ยวของกับลักษณะการเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดลอมทาง กายภาพ (Physical Environment) ที่อยูรอบตัวมนุษย ท้ังสวนท่ีเปนธรณีภาค อุทกภาค บรรยากาศ ภาค และชวี ภาค ตลอดจนความสัมพันธทางพื้นที่ (Spatial Relation) ของส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ตาง ๆ ดงั กลา วขางตน การศึกษาภูมศิ าสตรท างกายภาพทวีปเอเชียทําใหส ามารถวเิ คราะหเ หตุผลประกอบกบั การสงั เกต พิจารณาสงิ่ ทผ่ี ันแปรเปล่ียนแปลงในภูมิภาคตาง ๆ ของทวีปเอเชียไดเปนอยางดี การศึกษาภูมิศาสตร กายภาพแผนใหมตองศึกษาอยางมีเหตุผล โดยอาศัยหลักเกณฑทางภูมิศาสตรหรือหลักเกณฑสถิติ ซง่ึ เปน ขอเท็จจริงจากวิชาในแขนงท่เี กีย่ วขอ งกนั มาพิจารณาโดยรอบคอบ ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวงั 1. อธิบายลักษณะทางภมู ิศาสตรก ายภาพของประเทศในทวปี เอเชยี ได 2. มคี วามรูทางดา นภูมศิ าสตรก ายภาพ สามารถเขา ใจสภาพกายภาพของโลกวามีองคป ระกอบ และมีการเปลีย่ นแปลงทม่ี ีผลตอสภาพความเปนอยูของมนษุ ยอ ยางไร 3. สามารถอธบิ ายการใชและประโยชนข องเครื่องมอื ทางภูมิศาสตรได 4. อธิบายความสมั พันธของสภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยท่ีสงผลตอทรัพยากรตาง ๆ และส่ิงแวดลอมได 5. อธิบายความสัมพันธของการดํารงชีวิตใหสอดคลองกับทรัพยากรในประเทศไทยและ ประเทศในทวีปเอเชยี ได ขอบขายเน้อื หา เร่ืองที่ 1 ลกั ษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของประเทศในทวปี เอเชีย 1.1 ท่ีตัง้ และอาณาเขต 1.2 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 1.3 สภาพภูมิอากาศ เรอ่ื งที่ 2 การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมศิ าสตรกายภาพ 2.1 การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมศิ าสตรก ายภาพทสี่ ง ผลกระทบตอ วถิ ีชวี ติ ความ เปน อยูข องคน

2 เรอื่ งท่ี 3 วธิ ใี ชเ คร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร 3.1 แผนท่ี 3.2 ลูกโลก 3.3 เขม็ ทศิ 3.4 รปู ถายทางอากาศและภาพถายจากดาวเทยี ม 3.5 เครื่องมือเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษาภูมศิ าสตร เรอ่ื งท่ี 4 สภาพภูมิศาสตรก ายภาพของไทยท่ีสงผลตอ ทรพั ยากรตาง ๆ และสิง่ แวดลอ ม เร่อื งท่ี 5 ความสําคญั ของการดํารงชีวิตใหสอดคลอ งกับทรพั ยากรในประเทศ 5.1 ประเทศไทย 5.2 ประเทศในเอเชีย สื่อประกอบการเรยี นรู 1. แบบเรียนรายวิชาสังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขึน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 2. เคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร เชน แผนท่ี ลูกโลก เขม็ ทศิ รูปถา ยทางอากาศและภาพถา ยจากดาวเทียม 3. เวบ็ ไซต

3 เรื่องท่ี 1 ลักษณะทางภูมิศาสตรก ายภาพของประเทศในทวีปเอเชยี 1.1 ท่ตี ั้งและอาณาเขต ทวปี เอเชยี เปนทวีปที่มขี นาดใหญท่ีสุดในโลก มีพ้ืนท่ีประมาณ 44,648,953 ลานตารางกิโลเมตร มีดนิ แดนท่ตี อเนื่องกับทวปี ยุโรปและทวีปแอฟริกา แผนดินของทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ท่ตี อเนอื่ งกัน เรยี กรวมวา ยูเรเชยี พ้นื ทสี่ ว นใหญอ ยเู หนอื เสน ศูนยส ูตรมที ําเลท่ีตัง้ ตามพิกัดภมู ศิ าสตร คือ จาก ละติจูด 11 องศาใต ถึงละติจูด 77 องศา 41 ลิปดาเหนือ บริเวณแหลมเชลยูสกิน (Chelyuskin) สหพันธรัฐ รัสเซีย และจากลองจิจูดที่ 26 องศา 04 ลิปดาตะวันออก บริเวณแหลมบาบา (Baba) ประเทศตุรกี ถึง ลองจิจดู 169 องศา 30 ลปิ ดาตะวนั ตก ที่บริเวณแหลมเดชเนฟ (Dezhnev) สหพนั ธรฐั รสั เซีย โดยมีอาณาเขต ติดตอ กบั ดนิ แดนตา ง ๆ ดังตอไปน้ี ทิศเหนือ จรดมหาสมุทรอารกติก มีแหลมเชลยูสกินของสหพันธรัฐรัสเซียเปนแผนดินอยูเหนือสุด ที่ละตจิ ดู 77 องศาเหนือ ทศิ ใต จรดมหาสมุทรอนิ เดยี มีเกาะโรติ (Roti) ของติมอร- เลสเต เปนดินแดนอยูใตที่สุดที่ละติจูด 11 องศาใต ทศิ ตะวันออก จรดมหาสมทุ รแปซิฟก มแี หลมเดชเนฟของสหพนั ธรัฐรสั เซียเปนแผนดนิ อยูตะวันออก ท่ีสุด ท่ลี องจจิ ดู 170 องศาตะวันตก ทศิ ตะวันตก จรดทะเลเมดเิ ตอรเรเนียนและทะเลดํา มีทวิ เขาอรู าลก้ันดินแดนกับทวีปยุโรป และมีทะเล แดงกบั คาบสมทุ รไซไน (Sinai) กนั้ ดินแดนกบั ทวปี แอฟริกา มีแหลมบาบาของตุรกีเปนแผนดินอยูตะวันตกสุด ท่ีลองจิจดู 26 องศาตะวนั ออก 1.2 ลักษณะภูมปิ ระเทศ ทวีปเอเชยี มีลักษณะภูมิประเทศแตกตา งกันหลายชนดิ ในสวนท่ีเปนภาคพ้ืน ทวีป แบงออกเปนเขตตา ง ๆ ได 5 เขต คอื 1) เขตที่ราบตํ่าตอนเหนือ เขตที่ราบตํ่าตอนเหนือ ไดแก ดินแดนที่อยูทางตอนเหนือของทวีป เอเชียในเขตไซบเี รยี สว นใหญอยูใ นเขตโครงสรางแบบหนิ เกา ทเี่ รียกวา แองการาชีลด มีลักษณะภูมิประเทศ เปน ที่ราบขนาดใหญ มแี มน้าํ ออบ แมน้าํ เยนิเซและแมน้ําลนี าไหลผาน บริเวณน้ีมอี าณาเขตกวางขวางมาก แตไมคอยมีผูคนอาศัยอยู ถึงแมวาจะเปนที่ราบ เพราะเน่ืองจากมีภูมิอากาศหนาวเย็นมากและทําการ เพาะปลกู ไมไ ด 2) เขตท่ีราบลุมแมน้ํา เขตที่ราบลุมแมนํ้า ไดแก ดินแดนแถบลุมแมนํ้าตาง ๆ ซ่ึงมีลักษณะภูมิ ประเทศเปนทร่ี าบและมกั มีดินอุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก สวนใหญอยูทางเอเชียตะวันออก เอเชียใต และเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ไดแ ก ที่ราบลมุ ฮวงโห ทีร่ าบลุมแมน ้าํ แยงซีเกียงในประเทศจีน ท่ีราบลมุ แมนาํ้ สินธุ ที่ราบลุมแมน้ําคงคาและที่ราบลุมแมนํ้าพรหมบุตรในประเทศปากีสถาน อินเดีย และบังกลาเทศ ที่ราบลุม แมนํ้าไทกริส ท่ีราบลุมแมนํ้ายูเฟรทีสในประเทศอิรัก ที่ราบลุมแมน้ําโขงตอนลางในประเทศกัมพูชาและ เวียดนาม ท่รี าบลมุ แมน้ําแดงในประเทศเวียดนาม ที่ราบลุมแมน ้ํา

4 เจา พระยาในประเทศไทย ทีร่ าบลุม แมน าํ้ สาละวนิ ตอนลาง ทีร่ าบลุมแมนํ้าอิระวดีในประเทศสาธารณรัฐแหง สหภาพพมา 3) เขตเทือกเขาสูง เปนเขตเทือกเขาหินใหมตอนกลาง ประกอบไปดวยท่ีราบสูงและเทือกเขา มากมาย เทือกเขาสูงเหลานี้สวนใหญเปนเทือกเขาท่ีแยกตัวไปจากจุดรวม ที่เรียกวา ปามีรนอต หรือภาษา พน้ื เมอื งเรยี กวา “ปามรี ดุนยา” แปลวา หลงั คาโลกจากปามีรนอต มีเทอื กเขาสูง ๆ ของทวีปเอเชียหลายแนว ซ่ึงอาจแยกออกไดด ังน้ี เทอื กเขาทแี่ ยกไปทางทิศตะวันออก ไดแก เทือกเขาหมิ าลัย เทอื กเขาอาระกันโยมาและเทือกเขา ท่ีมีแนวตอ เนอ่ื งลงมาทางใต มีบางสวนที่จมหายไปในทะเลและบางสว นโผลข ้นึ มาเปน เกาะในมหาสมุทรอนิ เดยี และมหาสมุทรแปซิฟก ถัดจากเทือกเขาหิมาลัยข้ึนไปทางเหนือมีเทือกเขาท่ีแยกไปทางตะวันออก ไดแก เทือกเขาคุนลุน เทือกเขาอัลตินตัก เทือกเขานานซานและแนวท่ีแยกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก เทือกเขาเทียนชาน เทอื กเขาอัลไต เทือกเขาคินแกน เทอื กเขายาโบลนอย เทือกเขาสตาโนวอยและเทือกเขาโกลี มา เทือกเขาท่ีแยกไปทางทิศตะวันตกแยกเปนแนวเหนือและแนวใต แนวเหนือ ไดแก เทือกเขาฮินดูกูช เทอื กเขาเอลบูชร สวนแนวทศิ ใต ไดแ ก เทือกเขาสุไลมาน เทือกเขาซากรอส ซึ่งเมอื่ เทือกเขาท้ัง 2 น้ี มาบรรจบกัน ที่อารเมเนียนนอตแลว ยังแยกออกอกี เปน 2 แนวในเขตประเทศตุรกี คือ แนวเหนือเปนเทือกเขาปอนติกและ แนวใตเ ปน เทอื กเขาเตารัส

5 4) เขตทรี่ าบสงู ตอนกลางทวปี เขตทร่ี าบสูงตอนกลางเปน ทร่ี าบสูงอยูระหวางเทือกเขาหินใหม ที่สําคัญ ๆ ไดแก ที่ราบสูงทิเบตซึ่งเปนท่ีราบสูงขนาดใหญและสูงท่ีสุดในโลก ที่ราบสูงยูนนาน ทางใตของ ประเทศจีนและที่ราบสูงที่มีลักษณะเหมือนแองชื่อ “ตากลามากัน” ซึ่งอยูระหวางเทือกเขาเทียนซานกับ เทอื กเขาคุนลุนแตอ ยสู ูงกวาระดบั น้ําทะเลมากและมีอากาศแหง แลงเปน เขตทะเลทราย 5) เขตท่ีราบสูงตอนใตและตะวันตกเฉียงใต เขตท่ีราบสูงตอนใตและตะวันตกเฉียงใต ไดแก ที่ราบสูงขนาดใหญท างตอนใตข องทวีปเอเชีย ซ่ึงมคี วามสูงไมมากเทา กบั ทร่ี าบสูงทางตอนกลางของทวปี ที่ราบ สงู ดงั กลา ว ไดแก ที่ราบสูงเดคคานในประเทศอินเดยี ที่ราบสูงอหิ รา นในประเทศอิหรานและอัฟกานิสถาน ที่ ราบสงู อนาโตเลยี ในประเทศตรุ กีและท่รี าบสูงอาหรับในประเทศซาอุดอี าระเบีย 1.3 สภาพภมู ิอากาศ สภาพภูมิศาสตรและพชื พรรณธรรมชาตใิ นทวปี เอเชีย แบง ไดด งั นี้ 1) ภูมิอากาศแบบปาดิบชื้น เขตภูมิอากาศแบบปาดิบช้ืน อยูระหวางละติจูดท่ี 10 องศาเหนือ ถึง 10 องศาใต ไดแก ภาคใตของประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส มีความแตกตางของอุณหภูมิ ระหวางกลางวันและกลางคืนไมมากนัก มีปริมาณน้ําฝนมากกวา 2,000 มิลลิเมตร (80 น้ิว) ตอป และมีฝนตก ตลอดป พืชพรรณธรรมชาตเิ ปน ปาดงดิบ ซงึ่ ไมมฤี ดทู ีผ่ ลัดใบและมีตนไมหนาแนน สวนบริเวณปากแมนํ้า และชายฝงทะเลมพี ืชพรรณธรรมชาตเิ ปน ปา ชายเลน 2) ภมู อิ ากาศแบบมรสมุ เขตรอ นหรอื รอ นช้นื แถบมรสมุ เปน ดนิ แดนทีอ่ ยูเ หนือละตจิ ูด 10 องศา เหนอื ขึ้นไป มฤี ดูแลงและฤดูฝนสลับกันประมาณปละเดือน ไดแ ก บริเวณคาบสมุทรอนิ เดีย และคาบสมุทรอิน โดจีน เขตนเ้ี ปน เขตท่ีไดร ับอิทธิพลของลมมรสุม ปรมิ าณนาํ้ ฝนจะสงู ในบริเวณดานตนลม (Winward side) และ มฝี นตกนอ ยในดานปลายลม (Leeward side) หรือเรยี กวา เขตเงาฝน (Rain shadow) พืชพรรณธรรมชาติเปน ปา มรสุมหรือปาไมผ ลดั ใบในเขตรอน พนั ธไุ มส ว นใหญเ ปน ไมใบกวางและเปน ไมเน้ือแข็งที่มีคาในทางเศรษฐกิจหรือปาเบญจพรรณ เชน ไมสัก ไมจันทน ไมประดู เปนตน ปามรสุม มีลกั ษณะเปนปาโปรงมากกวาปาไมใ นเขตรอนช้ืน บางแหงมีไมขนาดเล็กขึ้นปกคลมุ บรเิ วณดนิ ช้นั ลา งและบาง แหงเปนปาไผห รือหญา ปะปนอยู 3) ภูมิอากาศแบบทุงหญาเมืองรอน มีลักษณะอากาศคลายเขตมรสุม มีฤดูแลงกับฤดูฝน แต ปริมาณน้ําฝนนอยกวา คือ ประมาณ 1,000 - 1,500 มิลลิเมตร (40 - 60 น้ิว) ตอป อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป ประมาณ 21 องศาเซลเซยี ส (70 องศาฟาเรนไฮต) อุณหภมู กิ ลางคืนเย็นกวากลางวัน ไดแก บริเวณตอนกลาง ของอินเดีย สาธารณรัฐแหง สหภาพพมาและคาบสมุทรอนิ โดจนี พืชพรรณธรรมชาติเปนปาโปรงแบบเบญจพรรณ ถัดเขาไปตอนในจะเปนทุงหญาสูงตั้งแต 60 - 360 เซนติเมตร (2 - 12 ฟุต) ซึ่งจะงอกงามดใี นฤดฝู น แตแ หง เฉาตายในฤดหู นาวเพราะชว งนอี้ ากาศแหง แลง 4) ภมู อิ ากาศแบบมรสุมเขตอบอุน อยูใ นเขตอบอุนแตไดรับอิทธิพลของลมมรสุมมีฝนตกในฤดู รอ น ฤดูหนาวคอนขางหนาว ไดแก บริเวณภาคตะวันตกของจีน ภาคใตของญ่ีปุน คาบสมุทรเกาหลี ฮองกง ตอนเหนอื ของอินเดยี ในสาธารณรฐั ประชาชนลาวและตอนเหนือของเวยี ดนาม

6 พืชพรรณธรรมชาตเิ ปน ไมผ ลดั ใบหรอื ไมผ สม มที ัง้ ไมใบใหญท่ีผลดั ใบและไมสนทีไ่ มผ ลัดใบ ในเขต สาธารณรฐั ประชาชนจีน เกาหลี ทางใตข องเขตนี้เปนปา ไมผลดั ใบ สว นทางเหนอื มอี ากาศหนาวกวาปาไมผสม และปา ไมผ ลัดใบ เชน ตนโอก เมเปล ถาข้ึนไปทางเหนอื อากาศหนาวเยน็ จะเปน ปาสนที่มีใบเขียวตลอดป 5) ภูมิอากาศแบบอบอุนภาคพ้ืนทวีป ไดแก ทางเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน เกาหลีเหนือ ภาคเหนือของญ่ีปุนและตะวันออกเฉียงใตของไซบีเรีย มีฤดูรอน ที่อากาศรอ น กลางวันยาวกวากลางคืน นาน 5 - 6 เดือน เปนเขตปลูกขาวโพดไดดีเพราะมีฝนตกในฤดูรอน ประมาณ 750 - 1,000 มม. (30 - 40 นวิ้ ) ตอป ฤดูหนาวอณุ หภูมิเฉล่ียถึง 7 องศาเซลเซียส (18 องศาฟาเรน ไฮต) เปนเขตท่คี วามแตกตา งระหวา งอุณหภูมิมีมาก พืชพรรณธรรมชาติเปนปาผสมระหวางไมผลัดใบและปาสนลึกเขาไปเปนทุงหญา สามารถ เพาะปลกู ขา วโพด ขา วสาลีและเล้ยี งสตั วพวกโคนมได สว นแถบชายทะเลมกี ารทําปา ไมบา งเล็กนอย 6) ภมู ิอากาศแบบทุงหญากง่ึ ทะเลทรายแถบอบอนุ มอี ุณหภมู ิสูงมากในฤดูรอนและอุณหภูมิต่ํา มากในฤดหู นาว มฝี นตกบา งในฤดใู บไมผลิและฤดูรอน ไดแก ภาคตะวันตกของคาบสมุทรอาหรับ ตอนกลาง ของประเทศตุรกี ตอนเหนอื ของภาคกลางของอิหรา น ในมองโกเลยี ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนือของจีน พชื พรรณธรรมชาติเปนทงุ หญาสั้น (Steppe) ทุง หญาดังกลา วมกี ารชลประทานเขาถงึ ใชเ ล้ยี งสัตว และเพาะปลูกขาวสาลี ขา วฟาง ฝา ย ไดด ี 7) ภมู ิอากาศแบบทะเลทราย มคี วามแตกตางระหวา งอณุ หภูมิกลางวันกับกลางคืนและฤดูรอน กบั ฤดหู นาวมาก ไดแ ก ดนิ แดนทีอ่ ยูภายในทวีปทม่ี เี ทอื กเขาปดลอม ทําใหอิทธิพลจากมหาสมุทรเขาไปไมถึง ปริมาณฝนตกนอ ยกวาปล ะ 250 มม. (10 นว้ิ ) ไดแก บรเิ วณคาบสมทุ รอาหรบั ทะเลทรายโกบี ทะเลทรายธาร และที่ราบสงู ทิเบต ที่ราบสูงอิหราน บริเวณทม่ี นี ํา้ และตน ไมข ้นึ เรยี กวา โอเอซสิ (Oasis) พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน อินทผลมั ตะบองเพชรและไมป ระเภทมหี นาม ชายขอบทะเลทราย สวนใหญ เปนทุงหญาสลับปาโปรง มีการเลี้ยงสัตวประเภทที่เล้ียงไวใชเนื้อและทําการเพาะปลูกตองอาศัยการ ชลประทานชว ย 8) ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน อากาศในฤดูรอน รอนและแหงแลงในเลบานอน ซีเรีย อสิ ราเอลและตอนเหนอื ของอริ ัก พชื พรรณธรรมชาติเปนไมตนเต้ีย ไมพุมมีหนาม ตนไมเปลือกหนาที่ทนตอความแหงแลง ในฤดู รอ นไดด ี พชื ทเี่ พาะปลูก ไดแก สม องนุ และมะกอก 9) ภมู อิ ากาศแบบไทกา (ก่งึ ข้วั โลก) มีฤดูหนาวยาวนานและหนาวจัด ฤดูรอนสั้น มีนํ้าคางแข็งได ทุกเวลาและฝนตกในรปู ของหิมะ ไดแก ดินแดนทางภาคเหนอื ของทวีปบรเิ วณไซบีเรยี พืชพรรณธรรมชาติเปน ปาสน เปนแนวยาวทางเหนอื ของทวปี ท่เี รยี กวา ไทกา (Taiga) หรือปา สนของไซบีเรยี 10) ภูมอิ ากาศแบบทนุ ดรา (ขัว้ โลก) เขตนี้มีฤดูหนาวยาวนานมาก อากาศหนาวจัด มีหิมะปกคลุม ตลอดป ไมม ฤี ดรู อน พืชพรรณธรรมชาตเิ ปนพวกตะไครนํ้า และมอสส

7 11) ภูมิอากาศแบบที่สูง ในเขตที่สูงอุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงในอัตราความสูงเฉล่ีย ประมาณ 1 องศาเซลเซียสตอความสงู 10 เมตร จงึ ปรากฏวา ยอดเขาสูงบางแหงแมจะอยูในเขตรอน ก็มีหิมะ ปกคลมุ ท้ังป หรอื เกือบตลอดป ไดแ ก ท่ีราบสงู ทิเบต เทอื กเขาหมิ าลัย เทอื กเขาคนุ ลุน และเทอื กเขาเทียนชาน ซ่ึงมคี วามสูงประมาณ 5,000 - 8,000 เมตร จากระดบั นํา้ ทะเล มีหิมะปกคลุมและมีอากาศหนาวเย็นแบบข้ัว โลก พืชพรรณธรรมชาติเปน พวกตะไครนาํ้ และมอสส การแบงภูมิภาค ทวปี เอเชียนอกจากจะเปน อนุภมู ภิ าคของทวีปยเู รเชยี ยงั อาจแบงออกเปนสวนยอ ยดงั นี้ เอเชียเหนือ หมายถึง รัสเซีย เรียกอีกอยางวาไซบีเรีย บางคร้ังรวมถึงประเทศทางตอนเหนือของ เอเชยี ดว ย เชน คาซคั สถาน เอเชียกลาง ประเทศในเอเชียกลาง ไดแก - สาธารณรัฐในเอเชียกลาง 5 ประเทศ คือ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน ทาจิกิสถาน เติรก เมนิสถานและครี ก ีซสถาน - ประเทศแถบตะวันตกของทะเลสาบแคสเปยน 3 ประเทศ คือ จอรเจีย อารเมเนีย และอาเซอรไ บจานบางสวน เอเชยี ตะวนั ออก ประเทศในเอเชียตะวนั ออก ไดแก - เกาะไตหวนั และญ่ปี นุ ในมหาสมุทรแปซฟิ ก - เกาหลีเหนอื และเกาหลใี ตบ นคาบสมุทรเกาหลี - สาธารณรฐั ประชาชนจนี และมองโกเลีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ ประเทศบนคาบสมุทรมลายู คาบสมุทรอินโดจีน เกาะตาง ๆ ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟก เอเชียตะวันออกเฉียงใต ประกอบดวย - ประเทศตาง ๆ ในแผนดินใหญ ไดแก สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ไทย สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว กมั พชู าและเวียดนาม - ประเทศตาง ๆ ในทะเล ไดแก มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร อินโดนีเซีย บรูไนและติมอร ตะวันออก (ตมิ อร - เลสเต) ประเทศอนิ โดนีเซียแยกไดเ ปน 2 สว น โดยมที ะเลจนี ใตคัน่ กลาง ท้ังสองสว นมีท้ัง พ้ืนทท่ี ี่เปนแผนดนิ ใหญแ ละเกาะ เอเชียใต เอเชยี ใตอ าจเรียกอีกอยา งวา อนทุ วีปอนิ เดีย ประกอบดวย - บนเทือกเขาหมิ าลยั ไดแ ก อินเดยี ปากีสถาน เนปาล ภฏู านและบังกลาเทศ - ในมหาสมทุ รอินเดีย ไดแก ศรลี งั กาและมลั ดฟี ส เอเชยี ตะวันตกเฉียงใต (หรอื เอเชียตะวันตก) ประเทศตะวนั ตกโดยเฉพาะในสหรฐั อเมรกิ ามกั เรยี กอนุ ภูมิภาคน้ีวาตะวันออกกลางบางครั้ง “ตะวันออกกลาง” อาจหมายรวมถึงประเทศในแอฟริกาเหนือ เอเชีย ตะวนั ตกเฉียงใตแบง ยอ ยไดเ ปน

8 - อะนาโตเลีย (Anatolia) ซ่ึงกค็ อื เอเชียไมเนอร (Asia Minor) เปนพ้ืนที่สวนท่ีเปนเอเชียของ ตุรกี - ประเทศตุรกี 97 % ของตุรกี - ทเี่ ปนเกาะ คอื ไซปรัส ในทะเลเมดิเตอรเ รเนียน - กลุมเลแวนตหรือตะวันออกใกล ไดแ ก ซีเรีย อสิ ราเอล จอรแ ดน เลบานอนและอิรัก - ในคาบสมุทรอาหรับ ไดแก ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส บาหเรน กาตาร อมาน เยเมนและอาจรวมถงึ คเู วต - ท่ีราบสูงอหิ ราน ไดแก อิหรา นและพนื้ ทีบ่ างสว นของประเทศอน่ื ๆ - อัฟกานสิ ถาน

9 กิจกรรมท่ี 1.1 ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรกายภาพของประเทศในทวีปเอเชีย 1) ใหผ ูเ รียนอธิบายจดุ เดนของลกั ษณะภมู ิประเทศในทวปี เอเชีย ทั้ง 5 เขต .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2) ภูมอิ ากาศแบบใดท่ีมีหมิ ะปกคลมุ ตลอดปและพืชพรรณที่ปลูกเปน ประเภทใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

10 เรื่องท่ี 2 การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิศาสตรก ายภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิศาสตรกายภาพ หมายถึง ลักษณะการเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดลอมทาง กายภาพทอ่ี ยูร อบตวั มนษุ ย ท้ังสว นทเ่ี ปนธรณภี าค อทุ กภาค บรรยากาศภาคและชีวภาค ตลอดจนความสัมพันธ ทางพนื้ ท่ีของสิ่งแวดลอมทางกายภาพตา ง ๆ ดงั กลาวขา งตน การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตรกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ทั้งภูมิประเทศและ ภมู อิ ากาศในประเทศไทยและประเทศในทวปี เอเชยี สวนมากเกิดจากปรากฏการณตามธรรมชาติและเกิดผล กระทบตอประชาชนทีอ่ าศยั อยู รวมท้ังสงิ่ กอ สรางปรากฏการณต า ง ๆ ทีม่ ักจะเกดิ มดี ังตอไปนี้ 2.1 การเกิดแผนดินไหว แผนดินไหวเปนปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนท่ีของแผน เปลอื กโลก (แนวระหวางรอยตอธรณีภาค) ทําใหเกิดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญเลื่อนเคลื่อนท่ีหรือ แตกหกั และเกิดการโอนถา ยพลงั งานศกั ยผานในชั้นหินท่ีอยตู ดิ กัน พลังงานศักยน อี้ ยใู นรูปเคล่ือนไหวสะเทือน จุดศนู ยกลางการเกิดแผน ดินไหว (focus) มักเกิดตามรอยเลือ่ น อยูใ นระดบั ความลึกตาง ๆ ของผวิ โลก สว นจุด ท่ีอยูในระดับสูงกวา ณ ตําแหนงผิวโลก เรียกวา “จุดเหนือศูนยกลางแผนดินไหว” (epicenter) การสน่ั สะเทือนหรือแผนดินไหวนีจ้ ะถูกบนั ทึกดวยเครอ่ื งมอื ทเี่ รยี กวา ไซสโ มกราฟ 1) สาหตุการเกดิ แผนดนิ ไหว - แผนดินไหวจากธรรมชาติ เปนธรณีพิบัติภัยชนิดหนึ่ง สวนมากเปนปรากฏการณทาง ธรรมชาติทีเ่ กดิ จากการส่นั สะเทือนของพื้นดิน อันเนื่องมาจากการปลดปลอยพลังงานท่ีสะสมไว ภายในโลก ออกมาอยางฉับพลัน เพ่ือปรับสมดุลของเปลือกโลกใหคงท่ีโดยปกติเกิดจากการเคล่ือนไหวของรอยเลื่อน ภายในช้ันเปลือกโลกท่ีอยดู า นนอกสุดของโครงสรางของโลก มีการเคล่ือนที่หรือเปลี่ยนแปลงอยางชา ๆ อยู เสมอ แผน ดินไหวจะเกิดข้ึนเม่ือมกี ารเปลย่ี นแปลงมากเกินไป ภาวะนี้เกิดข้ึนบอยในบริเวณขอบเขตของแผน เปลอื กโลกที่แบงช้ันเปลือกโลกออกเปนธรณีภาค (lithosphere) เรียกแผนดินไหวท่ีเกิดขึ้นบริเวณขอบเขต ของแผน เปลือกโลกนว้ี า แผน ดินไหวระหวา งแผน (interpolate earthquake) ซึ่งเกิดไดบอยและรุนแรงกวา แผน ดินไหวภายในแผน (intraplate earthquake) - แผนดนิ ไหวจากการกระทําของมนุษย ซึ่งมีทงั้ ทางตรงและทางออ ม เชน การทดลองระเบิด ปรมาณู การทําเหมือง สรางอางเก็บน้ําหรือเขื่อนใกลรอยเล่ือน การทํางานของเคร่ืองจักรกล การจราจร เปนตน 2) การวัดระดับความรุนแรงของแผนดินไหว โดยปกติจะใชมาตราริคเตอร ซ่ึงเปนการวัดขนาด และความสมั พันธข องขนาดโดยประมาณกบั ความสัน่ สะเทือนใกลศ นู ยกลาง ระดบั ความรนุ แรงของแผน ดินไหว 1 - 2.9 เล็กนอ ย ผูค นเริม่ รสู ึกถงึ การมาของคล่ืน มอี าการวงิ เวยี นเพยี งเลก็ นอ ยในบางคน 3 - 3.9 เล็กนอ ย ผคู นท่ีอยูในอาคารรูสกึ เหมือนมีอะไรมาเขยาอาคารใหส ่นั สะเทือน

11 4 - 4.9 ปานกลาง ผูท่อี าศัยอยูทั้งภายในอาคารและนอกอาคาร รสู ึกถงึ การสัน่ สะเทอื น วตั ถหุ อย แขวนแกวง ไกว 5 - 5.9 รนุ แรงเปนบริเวณกวาง เครอ่ื งเรอื นและวัตถุมีการเคล่อื นท่ี 6.69 รนุ แรกมาก อาคารเรมิ่ เสยี หาย พงั ทลาย 7.0 ข้ึนไป เกิดการสน่ั สะเทือนอยางมากมาย สงผลทําใหอาคารและส่ิงกอสรางตาง ๆ เสียหาย อยางรนุ แรง แผนดนิ แยก วตั ถุบนพนื้ ถกู เหวย่ี งกระเดน็ 3) ขอ ปฏิบตั ใิ นการปองกนั และบรรเทาภัยจากแผนดินไหว กอ นเกดิ แผน ดินไหว 1. เตรียมเคร่ืองอุปโภคบริโภคที่จําเปน เชน ถานไฟฉาย ไฟฉาย อุปกรณดับเพลิง นํ้า อาหารแหง ไวใชในกรณีไฟฟา ดับหรือกรณีฉกุ เฉนิ อืน่ ๆ 2. จัดหาเคร่ืองรับวิทยุที่ใชถานไฟฉายหรือแบตเตอร่ีสําหรับเปดฟงขาวสาร คําเตือน คําแนะนาํ และสถานการณต า ง ๆ 3. เตรียมอปุ กรณน ริ ภยั สําหรับการชวยชีวิต 4. เตรียมยารกั ษาโรคและเวชภณั ฑใหพรอมทจ่ี ะใชใ นการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน 5. จัดใหม ีการศึกษาถึงการปฐมพยาบาล เพ่ือเปนการเตรียมพรอมที่จะชวยเหลือผูท่ีไดรับ บาดเจ็บหรืออันตรายใหพน ขดี อันตรายกอ นท่จี ะถึงมือแพทย 6. จําตําแหนงของวาลว เปด -ปดน้ํา ตําแหนงของสะพานไฟฟา เพ่ือตัดตอนการสงนํ้า และ ไฟฟา 7. ยึดเคร่ืองเรอื น เครื่องใชไ มส อยภายในบาน ที่ทํางานและในสถานศกึ ษาใหม่ันคง แนน หนา ไมโยกเยกโคลงเคลงเพ่อื ไมใ หไ ปทาํ ความเสียหายแกชีวติ และทรพั ยสิน 8. ไมควรวางสิ่งของทม่ี นี ้าํ หนักมาก ๆ ไวใ นทีส่ ูง เพราะอาจรว งหลน มาทาํ ความเสยี หายหรอื เปน อนั ตรายได 9. เตรยี มการอพยพเคล่อื นยาย หากถึงเวลาที่จะตองอพยพ 10. วางแผนปองกนั ภัยสาํ หรบั ครอบครวั ท่ที าํ งานและสถานทีศ่ ึกษา มกี ารช้ีแจงบทบาทท่ีสมาชิก แตล ะบุคคลจะตองปฏิบตั ิ มกี ารฝก ซอ มแผนท่จี ดั ทําไว เพือ่ เพม่ิ ลกั ษณะและความคลอ งตวั ในการปฏิบตั ิ เม่อื เกดิ เหตกุ ารณฉ ุกเฉิน ขณะเกดิ แผน ดนิ ไหว 1. ตงั้ สติ อยูในทที่ ่ีแขง็ แรงปลอดภยั หา งจากประตู หนา ตาง สายไฟฟา เปนตน 2. ปฏิบัติตามคําแนะนํา ขอควรปฏิบัติของทางราชการอยางเครงครัด ไมตื่นตระหนก จนเกินไป 3. ไมควรทาํ ใหเ กดิ ประกายไฟ เพราะหากมีการรัว่ ซึมของแกสหรอื วัตถไุ วไฟ อาจเกิดภัยพิบัติ จากไฟไหม ไฟลวก ซํา้ ซอ นกับแผน ดินไหวเพิม่ ขน้ึ อีก 4. เปดวิทยุรับฟงสถานการณ คาํ แนะนาํ คําเตือนตา ง ๆ จากทางราชการอยางตอเนื่อง

12 5. ไมค วรใชล ฟิ ต เพราะหากไฟฟา ดับอาจมีอนั ตรายจากการติดอยูภายใตลิฟต 6. มดุ เขา ไปนอนใตเตยี งหรือตัง่ อยา อยใู ตคานหรือทที่ มี่ นี ํา้ หนกั มาก 7. อยใู ตโ ตะ ท่ีแข็งแรง เพือ่ ปอ งกนั อนั ตรายจากสิง่ ปรักหักพังรว งหลน ลงมา 8. อยหู า งจากส่งิ ทีไ่ มมั่นคงแขง็ แรง 9. ใหร ีบออกจากอาคารเมอ่ื มกี ารสง่ั การจากผูทค่ี วบคมุ แผนปอ งกันภยั หรอื ผทู ่ีรบั ผดิ ชอบในเร่อื งน้ี 10. หากอยูในรถ ใหหยุดรถจนกวาแผน ดินจะหยดุ ไหวหรอื สน่ั สะเทือนหลงั เกดิ แผนดินไหว 11. ตรวจเช็คการบาดเจ็บและทําการปฐมพยาบาลผูที่ไดรับบาดเจ็บ แลวรีบนําสง โรงพยาบาลโดยดวนเพ่ือใหแ พทยไ ดทําการรกั ษาตอ ไป 12. ตรวจเชค็ ระบบนาํ้ ไฟฟา หากมีการร่ัวซึมหรือชํารุดเสียหาย ใหปดวาลวเพื่อปองกันนํ้าทวม เออ ยกสะพานไฟฟา เพื่อปอ งกันไฟฟารั่ว ไฟฟา ดูดหรอื ไฟฟาชอ็ ต 13. ตรวจเชค็ ระบบแกส โดยวิธีการดมกลิ่นเทานั้น หากพบวามีการรั่วซึมของแกส (มีกลิ่น) ใหเ ปดประตูหนาตา ง แลว ออกจากอาคารแจง เจา หนา ท่ีปอ งกนั ภยั ฝายพลเรอื นผทู รี่ บั ผดิ ชอบไดท ราบในโอกาส ตอ ไป 14. ไมใ ชโทรศพั ทโ ดยไมจาํ เปน 15. อยา กดนาํ้ ลา งสวมจนกวา จะมกี ารตรวจเช็คระบบทอ เปนทเ่ี รียบรอ ยแลว เพราะอาจเกิด การแตกหกั ของทอ ในสวมทําใหน ้ําทวมเออ หรือสงกลน่ิ ท่ีไมพงึ ประสงค 16. ออกจากอาคารท่ชี าํ รดุ โดยดว น เพราะอาจเกดิ การพงั ทลายลงมา 17. สวมรองเทา ยางเพือ่ ปอ งกันสิง่ ปรักหกั พงั เศษแกว เศษกระเบ้ือง 18. รวมพล ณ ที่หมายท่ไี ดตกลงนดั หมายกันไวแ ละตรวจนับจาํ นวนสมาชกิ วาอยคู รบหรอื ไม 19. รวมมือกับเจาหนาที่ในการเขาไปปฏิบัติงานในบริเวณที่ไดรับความเสียหายและผูไมมี หนา ท่หี รือไมเกยี่ วของไมควรเขา ไปในบริเวณนัน้ ๆ หากไมไ ดรบั การอนุญาต 20. อยา ออกจากชายฝง เพราะอาจเกิดคลน่ื ใตนาํ้ ซัดฝง ได แมวาการสนั่ สะเทือนของแผนดิน จะสิ้นสดุ ลงแลว กต็ าม ผลกระทบตอประชากรทเ่ี กดิ จากแผนดนิ ไหว จากเหตุการณแ ผน ดนิ ไหวครัง้ รา ยแรงลา สุดในทวีปเอเชีย ในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน เม่ือวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 มีความรนุ แรงอยูที่ขนาด 7.9 รกิ เตอร ท่ีความลึก : 19 กิโลเมตร โดยจุดศูนยกลาง การสัน่ อยทู ่ี เขตเหวนิ ฉวน มณฑลเสฉวน ทางตะวันตกเฉียงเหนอื ของนครเฉิงตู 90 กิโลเมตร แผนดินไหวครั้ง นสี้ รา งความเสียหายใหก บั ประเทศจีนอยางมหาศาล ท้ังชีวิตประชาชน อาคารบานเรือน ถนนหนทาง โดยมี ผูเสียชีวิต 68,516 คน บาดเจ็บ 365,399 คน และสูญหาย 19,350 คน (ตัวเลขอยางเปนทางการ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) นอกจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนแลว แผนดินไหวก็ยังสามารถรูสึกไดในประเทศเพ่ือน บา นของจนี อาทิเชน ประเทศไทย ประเทศบงั กลาเทศ ประเทศอินเดยี ประเทศปากสี ถาน

13 แมวา การเกิดแผน ดินไหวไมสามารถปองกันได แตเ ราควรเรียนรูขอปฏิบัติในการปองกันท้ังกอน การเกิดแผน ดินไหวและขณะเกิดแผนดนิ ไหว เพื่อปอ งกันความเสยี หายที่เกิดกับชีวติ 2.2 การเกิดพายุ พายุ คือ สภาพบรรยากาศที่ถูกรบกวนแบบใด ๆ ก็ตาม โดยเฉพาะท่ีมีผลกระทบตอ พ้ืนผวิ โลกและบงบอกถึงสภาพอากาศทร่ี นุ แรง เมอื่ พูดถงึ ความรุนแรงของพายจุ ะกลา วถึงความเรว็ ท่ีศูนยกลาง ซ่ึงอาจสูงถึง 400 กม./ชม. ความเร็วของการเคล่ือนตัว ทิศทางการเคล่ือนตัวของพายุและขนาดความกวาง หรือเสนผาศูนยกลางของตัวพายุ ซึ่งบอกถึงอาณาบริเวณที่จะไดรับความเสียหายวา ครอบคลุมเทาใด ความรุนแรงของพายุจะมหี นวยวัดความรนุ แรงคลายหนวยริกเตอรข องการวดั ความรนุ แรงแผนดินไหว มกั จะมี ความเร็วเพม่ิ ขึน้ เรื่อย ๆ ประเภทของพายุ พายแุ บงเปน ประเภทใหญ ๆ ได 3 ประเภท คือ 1) พายุฝนฟาคะนอง มลี กั ษณะเปนลมพัดยอนไปมาหรือพัดเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน อาจเกิด จากพายุที่ออ นตวั และลดความรุนแรงของลมลงหรอื เกดิ จากหยอมความกดอากาศตํ่า รองความกดอากาศต่ํา อาจไมม ีทศิ ทางทแี่ นน อนหากสภาพการณแวดลอมตา ง ๆ ของการเกดิ ฝนเหมาะสมกจ็ ะเกดิ ฝนตก มีลมพัด 2) พายุหมนุ เขตรอ นตาง ๆ เชน เฮอรร เิ คน ไตฝุนและไซโคลน ซ่ึงลวนเปนพายุหมุนขนาดใหญ เชนเดียวกนั และจะเกดิ ขึน้ หรอื เรมิ่ ตน กอ ตัวในทะเล หากเกดิ เหนอื เสนศนู ยสูตรจะมีทิศทางการหมุนทวนเข็ม นาฬกิ าและหากเกิดใตเสน ศนู ยส ูตรจะหมนุ ตามเข็มนาฬิกา โดยมชี ื่อตา งกนั ตามสถานทเ่ี กิด กลาวคอื พายุเฮอรร ิเคน (hurricane) เปนชอ่ื เรยี กพายุหมนุ ทเี่ กดิ บรเิ วณทศิ ตะวันตกของมหาสมุทร แอตแลนติก เชน บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อาวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน เปนตน รวมท้ังมหาสมุทร แปซิฟกบรเิ วณชายฝง ประเทศเมก็ ซิโก พายุไตฝุน (typhoon) เปนชื่อพายุหมุนท่ีเกิดทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกเหนือ เชน บรเิ วณทะเลจนี ใต อาวไทย อาวตงั เกี๋ย ประเทศญี่ปนุ พายุไซโคลน (cyclone) เปนช่ือพายุหมุนที่เกิดในมหาสมุทรอินเดียเหนือ เชน บริเวณอาว เบงกอล ทะเลอาหรับ เปนตน แตถาพายุนี้เกิดบริเวณทะเลติมอรและทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ออสเตรเลียจะเรียกวา พายุวลิ ลี - วลิ ลี (willy-willy) พายุโซนรอน (tropical storm) เกิดขึ้นเมื่อพายุเขตรอนขนาดใหญออนกําลังลงขณะ เคล่ือนตัวในทะเลและความเร็วทจ่ี ุดศนู ยก ลางลดลงเมอื่ เคลอื่ นเขา หาฝง มคี วามเร็วลม 62 - 117 กโิ ลเมตรตอ ช่วั โมง พายุดีเปรสชั่น (depression) เกิดขึ้นเมื่อความเร็วลดลงจากพายุโซนรอน ซึ่งกอใหเกิดพายุฝน ฟาคะนองธรรมดาหรอื ฝนตกหนกั มีความเรว็ ลมนอยกวา 61 กิโลเมตรตอช่วั โมง 3) พายทุ อรน าโด (tornado) เปน ช่ือเรียกพายหุ มนุ ทเี่ กดิ ในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อที่เล็กหรือ เสน ผา ศูนยกลางนอ ย แตห มนุ ดวยความเร็วสงู หรือความเร็วทจ่ี ดุ ศนู ยกลางสงู มากกวาพายหุ มนุ อนื่ ๆ กอ ความ เสียหายไดรุนแรงในบริเวณที่พัดผาน เกิดไดท้ังบนบกและในทะเล หากเกิดในทะเล จะเรียกวา นาคเลนน้ํา (water spout) บางครั้งอาจเกดิ จากกลมุ เมฆบนทอ งฟาแตหมุนตัวยื่นลงมาจากทองฟาไมถึงพื้นดิน มีรูปราง เหมือนงวงชาง จงึ เรียกกนั วา ลมงวงชาง

14 ความเร็วของพายุ สามารถแบง ออกเปน 5 ระดบั ไดแก 1) ระดบั ท่ี 1 มีความเร็วลม 119 - 153 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทําลายลางเล็กนอย ไมสงผลตอสิ่ง ปลูกสราง มนี ํา้ ทวมขังตามชายฝง 2) ระดับท่ี 2 มีความเร็วลม 154 - 177 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทําลายลางเล็กนอย ทําใหหลังคา ประตู หนาตา งบานเรือนเสียหายบา ง ทําใหเ กดิ น้ําทวมขงั 3) ระดับท่ี 3 มีความเร็วลม 178 - 209 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทําลายลางปานกลางทําลาย โครงสรา งทอี่ ยูอาศยั ขนาดเล็ก น้ําทว มขังถึงพน้ื บา นชัน้ ลาง 4) ระดับที่ 4 มีความเร็วลม 210 - 249 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทําลายลางสูง หลังคาบานเรือน บางแหง ถูกทําลาย น้ําทวมเขามาถึงพน้ื บาน 5) ระดับท่ี 5 มีความเร็วลมมากกวา 250 กิโลเมตรตอช่ัวโมง จะทําลายลางสูงมาก หลังคา บา นเรือน ตกึ และอาคารตาง ๆ ถูกทําลาย พังทลาย นํ้าทวมขงั ปริมาณมาก ถึงขั้นทาํ ลายทรัพยส นิ ในบาน อาจ ตองประกาศอพยพประชาชน ลําดบั ชนั้ การเกดิ พายุฝนฟา คะนอง 1) ระยะเจรญิ เตบิ โต โดยเร่มิ จากการที่อากาศรอ นลอยตัวขึ้นสูบรรยากาศ พรอมกับการมีแรง มากระทาํ หรือผลกั ดันใหม วลอากาศยกตัวขนึ้ ไปสคู วามสูงระดับหน่ึง โดยมวลอากาศจะเย็นลงเมื่อลอยสูงข้ึน และเร่ิมท่จี ะเคลอ่ื นตวั เปน ละอองนา้ํ เลก็ ๆ เปน การกอ ตวั ของเมฆควิ มลู ัส ในขณะท่ีความรอ นแฝงจากการกลน่ั ตวั ของไอนาํ้ จะชวยใหอ ตั ราการลอยตัวของกระแสอากาศภายในกอ นเมฆเรว็ มากยงิ่ ขน้ึ ซ่ึงเปนสาเหตุใหขนาด ของเมฆคิวมูลสั มขี นาดใหญขึน้ และยอดเมฆสูงเพิม่ ข้นึ เปน ลําดบั จนเคล่อื นท่ีข้นึ ถึงระดับบนสุดแลว (จุดอ่ิมตัว) จนพฒั นามาเปนเมฆควิ มูโลนมิ บสั กระแสอากาศบางสว นก็จะเร่มิ เคลื่อนท่ีลงและจะเพิ่มมากขึ้นจนกลายเปน กระแสอากาศทเ่ี คลอ่ื นที่ลงอยา งเดยี ว 2) ระยะเจริญเตบิ โตเตม็ ที่ เปน ชวงทกี่ ระแสอากาศมีทงั้ ไหลขึ้นและไหลลงปริมาณความรอ นแฝง ที่เกิดข้ึนจากการกลั่นตัวลดนอยลง ซ่ึงมีสาเหตุมาจากการที่หยาดนํ้าฟาท่ีตกลงมามีอุณหภูมิตํ่า ชวยทําให อณุ หภมู ขิ องกลมุ อากาศเยน็ กวา อากาศแวดลอ ม ดังนน้ั อตั ราการเคลื่อนทล่ี งของกระแสอากาศจะมีคาเพิ่มข้ึน เปนลาํ ดับ กระแสอากาศท่เี คล่อื นทล่ี งมา จะแผข ยายตวั ออกดานขา งกอ ใหเกิดลมกระโชกรุนแรง อุณหภูมิจะ ลดลงทนั ทีทันใด และความกดอากาศจะเพ่ิมข้ึนอยางรวดเร็วและยาวนาน แผออกไปไกลถึง 60 กิโลเมตรได โดยเฉพาะสวนทอ่ี ยดู า นหนาของทศิ ทาง การเคลื่อนท่ขี องพายฝุ นฟา คะนอง พรอมกนั นั้นการที่กระแสอากาศ เคลอื่ นท่ขี ึ้นและเคลอื่ นทลี่ งจะกอ ใหเกดิ ลมเชยี รร นุ แรงและเกิดอากาศปนปว นโดยรอบ 3) ระยะสลายตัว เปนระยะท่ีพายุฝนฟาคะนองมีกระแสอากาศเคลื่อนที่ลงเพียงอยางเดียว หยาดนา้ํ ฝนตกลงมาอยางรวดเรว็ และหมดไปพรอ ม ๆ กับกระแสอากาศทีไ่ หลลงก็จะเบาบางลง การหลบเลย่ี งอนั ตรายจากพายฝุ นฟาคะนอง เนื่องจากพายุฝนฟาคะนองสามารถ ทําใหเกิดความ เสยี หายตอ ทรัพยสินและอันตรายตอ ชีวติ ของมนษุ ยไ ด จึงควรหลบเลี่ยงจากสาเหตุดังกลาว คอื 1) ในขณะปรากฏพายุฝนฟาคะนอง หากอยูใกลอาคารหรือบานเรือนที่แข็งแรงและปลอดภัย จากน้ําทว ม ควรอยูแ ตภ ายในอาคารจนกวาพายุฝนฟาคะนองจะยุตลิ ง ซึง่ ใชเวลาไมนานนัก การอยูในรถยนต

15 จะเปน วิธีการท่ีปลอดภยั วิธีหนึ่ง แตควรจอดรถใหอยหู างไกลจากบรเิ วณที่นํ้าอาจทวมได อยูหางจากบริเวณท่ี เปน นาํ้ ข้นึ จากเรอื ออกหา งจากชายหาดเม่ือปรากฏพายฝุ นฟา คะนอง เพื่อหลีกเล่ียงอันตรายจากนํ้าทวมและ ฟา ผา 2) ในกรณีทอี่ ยูในปา ในทงุ ราบหรือในท่ีโลง ควรคุกเขาและโนมตัวไปขางหนา แตไมควรนอน ราบกับพน้ื เนื่องจากพื้นเปยกเปน ส่ือไฟฟา และไมควรอยใู นท่ีตํ่า ซ่งึ อาจเกดิ นาํ้ ทวมฉับพลันได ไมควรอยูในท่ี โดดเดี่ยวหรอื อยสู งู กวาสภาพส่งิ แวดลอม 3) ออกหางจากวัตถุท่ีเปนสื่อไฟฟาทุกชนิด เชน ลวด โลหะ ทอนํ้า แนวร้ัวบาน รถแทรกเตอร จักรยานยนต เครอ่ื งมืออุปกรณท ําสวนทกุ ชนิด รางรถไฟ ตนไมสูง ตนไมโดดเด่ียวในท่ีแจง ไมควรใชอุปกรณ ไฟฟา เชน โทรทศั น ฯลฯ และควรงดใชโทรศพั ทช ว่ั คราว นอกจากกรณีฉุกเฉิน ไมควรใสเคร่ืองประดับโลหะ เชน ทองเหลอื ง ทองแดง ฯลฯ ในท่ีแจงหรอื ถอื วตั ถโุ ลหะ เชน รม ในขณะปรากฏพายฝุ นฟา คะนอง นอกจากน้ี ควรดแู ลสิง่ ของตาง ๆ ใหอ ยใู นสภาพทีแ่ ขง็ แรงและปลอดภัยอยูเสมอโดยเฉพาะส่ิงของทีอ่ าจจะหกั โคนได เชน หลังคาบา น ตน ไม ปายโฆษณา เสาไฟฟา ฯลฯ ผลกระทบตอ ประชากรที่เกิดจากพายุ จากกรณีการเกดิ พายุไซโคลน “นารก ีส” (Nargis) ท่ีสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ถือเปน ขาวใหญ ทที่ ว่ั โลกใหความสนใจอยา งยิ่ง เพราะมหนั ตภัยครั้งนี้ ไดคราชีวิตชาวพมา ไปนบั หมนื่ คน สูญหายอีกหลายหมื่นชวี ิต บานเรอื น ทรพั ยส ินและสาธารณูปโภคตา ง ๆ เสียหายยบั เยนิ “นารกีส” เปนช่ือเรียกของพายุหมุนเขตรอน มีผลพวงมาจากการเกิดภาวะโลกรอน มีความเร็วลม 190 กิโลเมตรตอช่ัวโมง พายุ “นารกีส” เร่ิมกอตัว เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2551 ในอาวเบงกอล ตอนกลางและพัดเขาบริเวณสามเหลี่ยมปากแมนํ้าอิระวดี ที่นครยางกุงและบาสเซน สาธารณรัฐแหง สหภาพพมา ในเชา วันท่ี 3 พฤษภาคม 2551 ความรุนแรงของไซโคลน “นารกีส” จัดอยูในความรุนแรงระดับ 3 คือ ทําลายลางปานกลาง ทําลายโครงสรางที่อยูอาศัยขนาดเล็ก นาํ้ ทวมขังถึงพ้ืนบานช้ันลางพัดหลังคาบานเรือนปลิววอน ตนไมและเสา ไฟฟาหักโคน ไฟฟาดับทั่วเมือง ในขณะท่ีทางภาคเหนือและภาคใตของประเทศไทยก็เจอหางเลขอิทธิพล “นารก สี ” เลก็ นอย ซ่ึงทําใหห ลายจงั หวัดเกดิ ฝนตกชุก มีน้ําทวมขัง พบิ ัติภยั ธรรมชาตไิ มมที างเล่ยี งได ไมว า จะประเทศไหนหรอื แผนดินใด แตมีวิธปี องกนั ทีด่ ที ี่สุด คือ รัฐบาลตองมีหนวยงานซึ่งทําหนาที่ early warning คือ เตือนประชาชนคนของตนแตแรกดวยขอมูลที่มี ประสิทธิภาพและทันการณ จากน้ันก็ตองรีบดําเนินการตาง ๆ อยางเหมาะสม เชน ยายผูคนใหไปอยูในที่ ปลอดภัย ท้ังนี้ นบั เปน โชคดีของประเทศไทยท่เี มื่อ นารก สี มาถึงบานเรากล็ ดความแรงลงคงมีแตฝนเปนสวน ใหญ แมจ ะทาํ ความเสียหายแกพชื ไรของเกษตรกรไมน อยแตก็เพ่ิมประมาณนํ้าในเขื่อนสําคัญ ๆ แตอยางไรก็ ตามผลพวงภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติที่เกิดขน้ึ ท้งั หมดมาจาก “ภาวะโลกรอ น” ซ่งึ กเ็ กิดจากฝม อื มนษุ ยท ัง้ ส้นิ

16 2.3 การเกิดคลนื่ สึนามิ คลื่นสึนามิ (tsunami) คอื คลนื่ ในทะเลหรอื คลืน่ ยกั ษใตนํ้าจะเกิดภายหลัง จากการสั่นสะเทือนของแผนดินไหว แผนดินถลม การระเบิดหรือการปะทุของภูเขาไฟท่ีพ้ืนทองสมุทรอยาง รนุ แรง ทําใหเกิดรอยแยก นํ้าทะเลจะถูกดูดเขา ไปในรอยแยกนี้ ทําใหเกิดภาวะนํ้าลดลงอยางรวดเร็ว จากนั้น แรงอดั ใตเ ปลอื กโลกจะดันน้ําทะเลขน้ึ มากอพลงั คลนื่ มหาศาล คลน่ื สึนามิ อาจจะเคลื่อนท่ีขามมหาสมุทรซึ่งหางจากจุดท่ีเกิดเปนพัน ๆ กิโลเมตร โดยไมมีลักษณะผิดสังเกต เพราะมี ความสูงเพยี ง 30 เซนตเิ มตร เคลื่อนท่ีดว ยความเร็ว 600 - 1,000 กโิ ลเมตรตอชั่วโมง แตเม่ือเคล่ือนตัวเขามา ในเขตนา้ํ ตนื้ จะเกดิ แรงดนั ระดับนํา้ ใหส งู ขนึ้ อยางรวดเร็วและมีแรงปะทะอยางมหาศาลกลายเปนคล่ืนยักษท ่ีมี ความสงู 15 - 30 เมตร สึนามิ สว นใหญเ กดิ จากการเคลอื่ นตัวของเปลอื กโลกใตท ะเลอยา งฉบั พลนั อาจจะเปน การเกดิ แผนดิน ถลม ยบุ ตัวลงหรือเปลอื กโลกถูกดนั ขน้ึ หรอื ยบุ ตัวลง ทําใหม ีนาํ้ ทะเลปรมิ าตรมหาศาลถูกดันข้ึนหรือทรุดตัวลง อยางฉบั พลนั พลังงานจํานวนมหาศาลกถ็ า ยเทไปใหเกดิ การเคล่ือนตวั ของนํา้ ทะเลเปน คล่ืนสนึ ามทิ ี่เหนือทะเล ลึก จะดูไมตางไปจากคลื่นท่ัว ๆ ไปเลย จึงไมสามารถสังเกตไดดวยวิธีปกติ แมแตคนบนเรือเหนือทะเลลึก ที่คล่นื สึนามเิ คลอื่ นผานใตทอ งเรอื ไป กจ็ ะไมร สู กึ อะไรเพราะเหนือทะเลลกึ คล่นื นีส้ งู จากระดบั น้าํ ทะเลปกติเพียง ไมกฟ่ี ตุ เทา นัน้ จึงไมสามารถแมแ ตจะบอกไดดวยภาพถา ยจากเคร่ืองบินหรอื ยานอวกาศ นอกจากนีแ้ ลว สึนามิ ยังเกดิ ไดจากการเกิดแผน ดนิ ถลม ใตทะเลหรอื ใกลฝ ง ท่ีทําใหม วลของดินและหิน ไปเคล่อื นยา ยแทนทีม่ วลนา้ํ ทะเลหรอื ภูเขาไฟระเบิดใกลท ะเล สง ผลใหเกดิ การโยนสาดดินหินลงนํา้ จนเกดิ เปน คลืน่ สึนามไิ ด ดังเชน การระเบิดของภูเขาไฟกระกะตัว้ ในป ค.ศ. 1883 ซ่ึงสงคล่ืนสึนามิออกไปทําลายลางชีวิต และทรัพยส ินของผคู นในเอเชีย มจี ํานวนผูต ายถึงประมาณ 36,000 ชีวติ

17 คลน่ื สึนามกิ ับผลกระทบตอส่งิ แวดลอม การเกดิ คลนื่ สึนามิกระทบตอ ส่ิงแวดลอ มและสงั คม ในหลาย ๆ ดา น เชน เกดิ การเปลี่ยนแปลงของพื้นท่ีชายฝงในชว งเวลาอนั สนั้ รวมทง้ั การเปลี่ยนแปลงท่ีอยูอาศยั ของสัตว นํา้ บางประเภท ปะการงั ถูกทําลาย ประชาชนขาดที่อยูอาศัย ไรทรัพยสินสิ้นเน้ือประดาตวั กระทบตออาชีพไมวาจะ เปนชาวประมง อาชีพทเี่ กย่ี วกับการบริการดา นทองเท่ยี ว ส่งิ ปลูกสรางอาคารบานเรอื นเสยี หาย ฯลฯ ผลกระทบตอ ประชากรท่ีเกดิ จากคลืน่ สนึ ามิ จากกรณกี ารเกิดคลืน่ สึนามิ ในวันท่ี 26 ธันวาคม 2547 เวลา 0:58:50 น. (UT) หรือเวลา 7:58:50 น. ตามเวลาในประเทศไทย ไดเกิดแผนดินไหวขนาด 8.9 ตามมาตราริกเตอร ที่นอกชายฝงตะวันตกทางตอน เหนือของเกาะสมุ าตรา ประเทศอินโดนีเซีย จุดศูนยกลางอยูลึก 10 กม. หางจากเมืองบันดาเอเช ประมาณ 250 กม. และหางจากกรุงเทพฯ 1,260 กม. แผนดินไหวนี้เปนแผนดินไหวท่ีใหญเปนอันดับที่ 5 นับตั้งแตป ค.ศ. 1900 และใหญที่สุดนับตั้งแตแผนดินไหวอลาสกาในป ค.ศ. 1964 เหตุการณดังกลาวทําใหเกิดการ ส่ันสะเทือนรับรูไดในประเทศมาเลเซีย สิงคโปรและไทย แรงคลื่นสูงประมาณ 6 เมตร ไดถาโถมตามแนว ชายฝงสรางความเสียหายในวงกวาง ทําใหเกิดผูเสียชีวิตและบาดเจ็บเปนจํานวนมาก ในประเทศอินเดีย ศรีลงั กา มาเลเซยี และจงั หวัดทองเที่ยวทางใตข องประเทศไทย มผี เู สียชวี ติ นบั รอ ยและมผี ูบาดเจบ็ เปนจํานวนมาก ในจังหวดั ภูเกต็ พังงา ตรงั และกระบี่

18 กิจกรรมท่ี 1.2 การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิศาสตรกายภาพ 1) ใหผูเรียนอธิบายวาการเกิดแผนดินไหวอยางรุนแรงจะสงผลกระทบตอประชากรและ ส่ิงแวดลอมอยางไรบา ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................... 2) ใหบอกความแตกตางและผลกระทบทีเ่ กดิ ตอ ประชากรและส่งิ แวดลอ มของพายฝุ นฟาคะนอง พายุหมุนเขตรอนและพายุทอรนาโด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ....................................................................... 3) คล่ืนสึนามิกับผลกระทบตอส่ิงแวดลอมมากมายหลายอยาง ในความคิดเห็นของผูเรียน ผลกระทบดา นใดท่ีเสยี หายมากทสี่ ุด พรอ มใหเ หตผุ ลประกอบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .....................................................................................

19 เรือ่ งที่ 3 วธิ ีใชเ คร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร หมายถึง ส่ิงที่มนุษยสรางขึ้นมาเพื่อตรวจสอบและบันทึกขอมูลทางดาน ภูมิศาสตร เคร่อื งมอื ภมู ศิ าสตรท ส่ี าํ คญั ไดแก แผนที่ ลูกโลก เข็มทิศ รปู ถา ยทางอากาศ ภาพถายจากดาวเทียม และเคร่ืองมอื เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษาภูมศิ าสตร ฯลฯ 3.1 แผนที่ เปนส่ิงท่ีมนุษยสรางข้ึนเพ่ือแสดงลักษณะท่ีต้ังของส่ิงตาง ๆ ที่ปรากฏอยูบนพื้นผิวโลก ทั้งท่เี กิดข้นึ เองตามธรรมชาติและสงิ่ ทม่ี นษุ ยสรา งขึ้น โดยการยอสว นใหม ขี นาดเลก็ ลงตามทตี่ องการ พรอ มทงั้ ใช เครอ่ื งหมายหรือสัญลกั ษณแสดงลกั ษณะแทนส่ิงตาง ๆ ลงในวัสดุพื้นแบนราบ ความสําคัญของแผนท่ี แผนท่ีเปนที่รวบรวมขอมูลประเภทตาง ๆ ตามชนิดของแผนท่ี จงึ สามารถใชประโยชนจ ากแผนทีไ่ ดต ามวตั ถปุ ระสงค โดยไมจ าํ เปน ตอ งเดนิ ทางไปเห็นพนื้ ทีจ่ ริง แผนท่ีชวยให ผใู ชสามารถรูส่ิงท่ปี รากฏอยบู นพ้ืนโลกไดอยางกวา งไกล ถกู ตองและประหยัด ประโยชนของแผนที่ แผนท่ีมปี ระโยชนต อ งานหลาย ๆ ดาน คอื 1. ดานการเมืองการปกครอง เพ่ือรักษาความม่ันคงของประเทศชาติใหคงอยูจําเปนจะตองมี ความรูในเร่ืองภมู ศิ าสตรการเมืองหรอื ที่เรยี กกันวา “ภูมิรัฐศาสตร” และเคร่ืองมอื ท่ีสาํ คญั ของนักภูมิรฐั ศาสตร กค็ ือ แผนท่ี เพอ่ื ใชศึกษาสภาพทางภูมิศาสตรและนํามาวางแผนดําเนินการเตรียมรับหรือแกไขสถานการณ ที่เกดิ ข้ึนได 2. ดา นการทหาร ในการพิจารณาวางแผนทางยุทธศาสตรของทหาร จําเปนตองหาขอมูลหรือ ขาวสารทีเ่ กีย่ วกับสภาพภูมศิ าสตรและตําแหนงทางส่ิงแวดลอมท่ีถูกตองแนนอนเกี่ยวกับระยะทาง ความสูง เสน ทาง ลักษณะภมู ปิ ระเทศท่ีสาํ คัญ 3. ดา นเศรษฐกิจและสังคม ดา นเศรษฐกจิ เปนเคร่อื งบง ชี้ความเปน อยขู องประชาชนภายในชาติ การดําเนินงานเพอื่ พฒั นาเศรษฐกิจของแตล ะภมู ิภาคท่ีผา นมา แผนที่เปนสงิ่ แรกท่ีตอง ผลิตขึ้นมาเพ่ือการ ใชงานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ก็ตองอาศัยแผนที่เปนขอมูลพ้ืนฐานเพ่ือใหทราบ ทาํ เลท่ตี งั้ สภาพทางกายภาพแหลง ทรัพยากร 4. ดานสังคม สภาพแวดลอมทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอท่ีเห็นชัดคือสภาพแวดลอมทาง ภูมิศาสตร ซ่งึ ทําใหส ภาพแวดลอ มทางสงั คมเปลี่ยนแปลงไป การศกึ ษาสภาพการเปลย่ี นแปลงตอ งอาศยั แผนที่ เปน สาํ คญั และอาจชว ยใหการดาํ เนินการวางแผนพัฒนาสงั คมเปน ไปในแนวทางทีถ่ ูกตอง 5. ดานการเรยี นการสอน แผนท่ีเปน ตวั สง เสริมกระตุนความสนใจและกอใหเกิดความเขาใจใน บทเรียนดขี น้ึ ใชเปนแหลงขอมูลทง้ั ทางดานกายภาพ ภมู ภิ าค วฒั นธรรม เศรษฐกจิ สถติ แิ ละการกระจายของส่ิง ตา ง ๆ รวมทง้ั ปรากฏการณท างธรรมชาตแิ ละปรากฏการณตา ง ๆ ใชเ ปน เครอื่ งชวยแสดงภาพรวมของพื้นที่หรือของ ภมู ภิ าค อันจะนําไปศกึ ษาสถานการณและวิเคราะหความแตกตางหรอื ความสมั พนั ธข องพืน้ ท่ี 6. ดานสงเสรมิ การทองเทย่ี ว แผนทีม่ คี วามจําเปนตอนักทองเที่ยวในอันที่จะทําใหรูจักสถานท่ี ทองเที่ยวไดง า ย สะดวกในการวางแผนการเดินทางหรือเลือกสถานทท่ี องเท่ยี วตามความเหมาะสม

20 ชนดิ ของแผนที่ แบง ตามการใชง านได 3 ชนดิ ไดแ ก 1. แผนที่ภูมิประเทศ เปนแผนท่ีแสดงความสูงต่ําของพ้ืนผิวโลก โดยใชเสนช้ันความสูงบอกคา ความสูงจากระดับนา้ํ ทะเลปานกลาง แผนท่ชี นดิ น้ีเปน พ้นื ฐานท่ีจะนาํ ไปทาํ ขอมูลอ่นื ๆ เก่ยี วกับแผนท่ี 2. แผนท่ีเฉพาะเร่ือง เปนแผนท่ีท่ีแสดงลักษณะใดลักษณะหนึ่งโดยเฉพาะ ไดแกแผนท่ี รัฐกิจ แสดงเขตการปกครองหรืออาณาเขต แผนทีแ่ สดงอุณหภูมิของอากาศ แผนที่แสดงปริมาณนํ้าฝน แผนที่แสดง การกระจายตวั ของประชากร แผนทีเ่ ศรษฐกิจ แผนที่ประวัตศิ าสตร เปน ตน 3. เปนแผนทที่ ่รี วบรวมเรื่องตา ง ๆ ท้ังลกั ษณะทางกายภาพ ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม ทางดาน ประชากร และอ่ืน ๆ ไวใ นเลมเดียวกัน องคป ระกอบของแผนทม่ี ีหลายองคประกอบ คอื 1. สัญลักษณ คอื เครือ่ งหมายท่ใี ชแ ทนสิ่งตาง ๆ ตามที่ตองการแสดงไวในแผนท่ี เพื่อใหเขาใจ แผนที่ไดง า ยขึ้น เชน จุด วงกลม เสน ฯลฯ 2. มาตราสวน คือ อตั ราสวนระยะหา งในแผนทก่ี บั ระยะหางในภมู ิประเทศจรงิ 3. ระบบอา งองิ ในแผนที่ ไดแ ก เสนขนานละตจิ ูด และเสนลองติจูด (เมรเิ ดยี น) เสน ละติจูด เปนเสนสมมติที่ลากไปรอบโลกตามแนวนอนหรือแนวทิศตะวันออก ตะวันตก แตละเสนหางกัน 1 องศา โดยมีเสน 0 องศา (เสนศูนยสูตร) แบงก่ึงกลางโลก เสนที่อยูเหนือเสนศูนยสูตร เรยี กวา “เสน องศาเหนือ” เสน ทอ่ี ยใู ตเ สนศนู ยส ูตร เรยี กวา “เสนองศาใต” ละติจดู มีท้ังหมด 180 เสน เสน ลองตจิ ดู เปน เสน สมมตทิ ล่ี ากไปรอบโลกในแนวตั้งจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต แตละ เสนหางกัน 1 องศา กําหนดใหเสนที่ลากผานตําบลกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เปนเสน 0 องศา (เมรเิ ดียนปฐม) ถานับจากเสนเมรเิ ดยี นปฐม ไปทางตะวนั ออก เรยี กเสน องศาตะวันออก ถา นบั ไปทางตะวนั ตก เรียกเสน องศาตะวันตก ลองตจิ ดู มีทัง้ หมด 360 เสน พิกัดภูมิศาสตร เปนตําแหนงที่ตั้งของจุดตาง ๆ บนพ้ืนผิวโลก เกิดจากการตัดกันของเสน ขนานละตจิ ดู และเสนเมรเิ ดยี น โดยเสนสมมติทั้งสองนจ้ี ะตง้ั ฉากซ่ึงกนั และกนั 4. ขอบระวาง แผนท่ที ุกชนดิ ควรมีขอบระวาง เพ่อื ชว ยใหดเู รียบรอยและเปนการกําหนดขอบเขต ของแผนทดี่ ว ย ขอบระวางมักแสดงดวยเสน ตรงสองเสนหรอื เสน เดียว 5. ระบบอางอิงบนแผนที่ คอื ระบบที่กําหนดข้ึนเพอ่ื อาํ นวยความสะดวกในการคํานวณหาตําแหนง ทต่ี ง้ั และคํานวณหาเวลาของตําแหนงตาง ๆ บนพ้ืนผิวโลก ซ่ึงแยกไดด ังนี้

21 การคํานวณหาตําแหนงที่ต้ัง จะใชละติจูดและลองติจูดเปนเกณฑ วิธีน้ีเรียกวา การพิกัด ภมู ิศาสตร การคาํ นวณหาเวลา โดยใชหลักการวา 1 นาที = 15 ลิปดา และ 4 นาที = 1 ลองติจูด หรือ 1 องศา 6. สีท่ใี ชในการเขยี นแผนท่ีแสดงลักษณะภูมปิ ระเทศ สีดาํ หมายถึง ส่ิงสาํ คญั ทางวัฒนธรรมท่มี นุษยสรา งข้นึ เชน อาคาร วดั สถานท่ีราชการ สนี าํ้ ตาล หมายถงึ ลักษณะภมู ปิ ระเทศท่ีมคี วามสูง สนี ้ําเงนิ หมายถงึ ลักษณะภมู ิประเทศทเี่ ปน นาํ้ เชน ทะเล แมนํา้ หนองบงึ สแี ดง หมายถงึ ถนนสายหลัก พ้ืนทยี่ านชมุ ชนหนาแนน และลกั ษณะภมู ิประเทศสําคญั สีเขียว พชื พนั ธไุ มตา ง ๆ เชน ปา สวน ไร 3.2 ลูกโลก เปนเครื่องมือทางภูมิศาสตรอยางหน่ึงท่ีใชเปนอุปกรณในการศึกษาคนควาหรือใช ประโยชนใ นดานอืน่ ๆ ลูกโลกจําลองเปนการยอ สว นของโลกมลี ักษณะทรงกลม บนผิวของลูกโลกจะมีแผนท่ี โลก แสดงพืน้ ดนิ พ้นื นํา้ สภาพภูมิประเทศ ท่ีต้ังประเทศ เมืองและเสนพิกัดทางภูมิศาสตร เพื่อสามารถบอก ตาํ แหนงตาง ๆ บนพ้ืนผวิ โลกได ลกู โลกจาํ ลองสรา งคลา ยลกู โลกจรงิ แสดงสีแทนลักษณะภูมิประเทศตา ง ๆ

22 องคประกอบของลูกโลก ไดแ ก เสนเมริเดยี น เปนเสน สมมติท่ีลากจากขั้วโลกเหนือไปยังข้วั โลกใต ซง่ึ กําหนดใหม ีคาเปน 0 องศา ทเ่ี มอื งกรีนิช ประเทศองั กฤษ เสนขนาน เปน เสน สมมตทิ ีล่ ากไปรอบโลกในแนวนอน ทกุ เสนจะขนานกบั เสนศนู ยสูตร 3.3 เข็มทิศ เปนเครื่องมือสําหรับใชในการหาทิศทางของจุดหรือวัตถุ โดยมีหนวยเปนองศา เปรียบเทยี บกับจุดเร่มิ ตนอาศยั แรงดงึ ดูดระหวางสนามแมเ หลก็ ขั้วโลกกับเขม็ แมเหล็ก ซึ่งเปนองคประกอบที่ สําคัญทสี่ ดุ เขม็ แมเ หลก็ จะแกวงไกวอิสระในแนวนอนเพ่ือใหแ นวเข็มชีอ้ ยใู นแนว เหนือ - ใต ไปยงั ขว้ั แมเ หล็ก โลกตลอดเวลา เข็มทศิ มีประโยชนเ พอ่ื ใชในการเดินทาง ไดแก การเดนิ เรอื ทะเล เครอื่ งบิน การใชเขม็ ทิศจะตอ ง มีแผนท่ีประกอบและตองหาทิศเหนอื กอน 3.4 รูปถายทางอากาศและภาพถา ยจากดาวเทยี ม เปนรูปหรือขอมูลตัวเลขท่ีไดจากการเก็บขอมูล ภาคพ้ืนดนิ จากกลอ งทีต่ ิดอยกู ับยานพาหนะ เชน เคร่อื งบินหรือดาวเทยี ม ประโยชนของรูปถา ยทางอากาศและภาพถายจากดาวเทียม รูปถายทางอากาศและภาพถาย จากดาวเทียมใหขอมูลพื้นผิวของเปลือกโลกไดเปนอยางดี ทําใหเห็นภาพรวมของการใชพ้ืนที่และการ เปล่ยี นแปลงตางๆ ตามทีป่ รากฏบนพ้นื โลกเหมาะแกการศึกษาทรัพยากรผิวดิน เชน ปาไม การใชประโยชน จากดิน หนิ และแร 3.5 เครอื่ งมือเทคโนโลยเี พื่อการศึกษาภมู ิศาสตร เทคโนโลยีท่สี ําคญั ดานภูมศิ าสตร คอื 1) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) หมายถงึ การเกบ็ รวบรวมและบันทกึ ขอ มูลทางภูมิศาสตร ดว ยระบบคอมพิวเตอรโดยขอ มลู เหลานสี้ ามารถปรบั ปรงุ แกไขใหถูกตองทนั สมัย และสามารถแสดงผลหรอื นํา ออกมาเผยแพรเปน ตัวเลข สถิติ รูปภาพ ตาราง แผนที่และขอ ความทางหนา จอคอมพิวเตอรหรือพิมพออกมา เปน เอกสารได

23 ประโยชนข องระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร( GIS) คอื ชวยใหป ระหยดั เวลาและงบประมาณ ชวยให เหน็ ภาพจาํ ลองพ้ืนทช่ี ดั เจนทําใหก ารตัดสนิ ใจวางแผนจัดการและพฒั นาพื้นทม่ี คี วามสะดวกและสอดคลองกับ ศกั ยภาพของพืน้ ทน่ี ั้นและชว ยในการปรบั ปรงุ แผนทใ่ี หท นั สมยั 2) ระบบพกิ ัดพน้ื ผวิ โลก (GPS) เปนเครอื่ งมอื รบั สญั ญาณพกิ ัดพน้ื ผวิ โลกอาศัยระยะทางระหวา ง เคร่ืองรับดาวเทียม GPS บนพื้นผิวโลกกับดาวเทียมจํานวนหน่ึงท่ีโคจรอยูในอวกาศและระยะทางระหวาง ดาวเทียมแตละดวง ปจ จบุ นั มดี าวเทยี มชนิดนอี้ ยูประมาณ 24 ดวง เครื่องมือรับสัญญาณ มีขนาดและรูปราง คลายโทรศพั ทม อื ถือ เมอ่ื รับสัญญาณจากดาวเทียมแลวจะทราบคา พิกัด ณ จุดท่ีวัดไว โดยอาจจะอานคาเปน ละติจดู และลองจจิ ดู ได ความคลาดเคลื่อนข้นึ อยกู บั ชนดิ และราคาของเคร่ืองมอื ประโยชนข องเคร่ืองมอื เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาภมู ศิ าสตร จะคลา ยกบั การใชประโยชนจ ากแผน ทสี่ ภาพภูมปิ ระเทศและแผนที่เฉพาะเรอ่ื ง เชน จะใหคําตอบวาถา จะเดนิ ทางจากจุดหน่งึ ไปยงั อีกจดุ หนึง่ ใน แผนท่ีจะมรี ะยะทางเทาใด ถา ทราบความเรว็ ของรถจะทราบวา ใชเวลานานเทาใด บางคร้งั ขอ มลู มีความสับสน มาก เชน ถนนบางชวงมสี ภาพถนนไมเหมอื นกัน คอื บางชวงเปน ถนนกวางทส่ี ภาพผิวถนนดี บางชวงเปนถนน ลกู รงั บางชวงเปน หลมุ เปน บอ ทําใหก ารคิดคาํ นวณเวลาเดินทางลาํ บากแตร ะบบสารสนเทศภมู ิศาสตรจะชวย ใหค าํ ตอบได

24 กิจกรรมที่ 1.3 วิธใี ชเครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร 1) ถาตองการทราบระยะทางจากทห่ี นึ่งไปยงั อกี ทห่ี นง่ึ ผเู รยี นจะใชเ ครอ่ื งมือทางภูมิศาสตรชนิด ใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................... 2) ภาพถายจากดาวเทียม มีประโยชนอยา งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................... 3) แผนท่มี ปี ระโยชนอ ยา งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................... 4) ถาตองการทราบวาประเทศไทยอยูพิกัดภูมิศาสตรท่ีเทาไหร ผูเรียนจะใชเคร่ืองมือทาง ภูมศิ าสตรชนิดใดไดบ า ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ...............................................................................................................................

25 เรือ่ งที่ 4 สภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพของไทยท่สี ง ผลตอ ทรพั ยากรตา ง ๆ และส่งิ แวดลอ ม ประเทศไทยมคี วามแตกตางกนั ทางสภาพภมู ิศาสตรก ายภาพ เน่ืองจากมปี จ จยั ทีก่ อ ใหเ กิดลักษณะภูมิ ประเทศ คอื 1) การผันแปรของเปลือกโลก เกิดจากพลังงานภายในโลกที่มีการบีบ อัด ใหยกตัวสูงขึ้นหรือทรุดต่ําลง สวนทีย่ กตัวสงู ขนึ้ ไดแ ก ภูเขา ภูเขาไฟ เนินเขา ทร่ี าบสูง สว นทีล่ ดตํา่ ลง ไดแ ก หุบเขา ทรี่ าบลุม 2) การกระทาํ ของตวั กระทําตาง ๆ เมื่อเกิดการผันแปรแบบแรกแลว กจ็ ะเกดิ การกระทาํ จากตัวตา ง ๆ เชน ลม นํ้า คล่นื ไปกัดเซาะพังทลายภูมิประเทศหลัก ลักษณะของการกระทํามี 2 ชนิด คือ การกัดกรอน ทาํ ลาย คือ การทาํ ลายผิวโลกใหต่ําลง โดย ลม อากาศ นํา้ น้ําแข็ง คลนื่ ลมและ การสะสมเสรมิ สรา ง คอื การ ปรบั ผวิ โลกใหราบโดยเปน ไปอยา งชา ๆ แตต อ เนอื่ ง 3) การกระทาํ ของมนุษย เชน การสรางเข่อื น การระเบดิ ภูเขา ดวยเหตุดังกลาว นักภูมิศาสตรไดใชหลักเกณฑความแตกตางทางดานกายภาพ เชน ภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศของทอ งถิ่น มาใชใ นการแบงภาคภูมศิ าสตร จึงทําใหป ระเทศไทยมีสภาพภูมิศาสตรท ีแ่ บงเปน 6เขต คือ 1. เขตภูเขาและหุบเขาทางภาคเหนือ ลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขามากกวาภาคใด ๆ และ เทือกเขาจะทอดยาวในแนวเหนือใตสลับกับที่ราบหุบเขา โดยมีท่ีราบหุบเขาแคบ ๆ ขนานกันไป อันเปนตน กาํ เนิดของแมนํ้าลาํ คลองหลายสาย แควใหญนอยในภาคเหนือทําใหเกิดท่ีราบลุมแมนํ้า ซึ่งอยูระหวางหุบเขา อันอุดมสมบรู ณไปดวยทรพั ยากรธรรมชาติ ราษฎรสว นใหญป ระกอบอาชีพเพาะปลกู เลยี้ งสัตวและทําเหมือง แร นอกจากนท้ี รัพยากรธรรมชาติยังเอ้อื อํานวยใหเกิดอตุ สาหกรรมในครัวเรอื นท่ีมีชอื่ เสยี ง เปน ทร่ี จู กั กนั มาชา นาน ภาคเหนอื จะอยูในเขตรอ นที่มีลักษณะภูมิอากาศคลายคลึงกับภูมิอากาศทางตอนใตของเขตอบอุนของ ประเทศทีม่ ี 4 ฤดู 2. เขตเทือกเขาทางภาคตะวันตก ลักษณะภูมิประเทศเปนพื้นท่ีแคบ ๆ ทอดยาวขนานกับ พรมแดนประเทศพมา สวนใหญเ ปนภูเขา มีแหลง ทรัพยากรแรธาตแุ ละปา ไมของประเทศ มีปริมาณฝนเฉล่ีย ตํา่ กวา ทุกภาคและเปนภมู ิภาคที่ประชากรอาศัยอยนู อ ย สวนใหญอ ยูใ นเขตท่ีราบลุมแมนํ้าและชายฝงและมัก ประกอบอาชีพปลกู พืชไรและการประมง ลักษณะภูมิอากาศโดยท่ัวไป มีความแหงแลงมากกวาในภาคอื่น ๆ เพราะมีเทือกเขาสงู เปนแนวกาํ บงั ลม ทําใหอากาศในฤดูรอนและฤดูหนาวแตกตางกันอยางเดนชัด เน่ืองจาก แนวเทือกเขาขวางกัน้ ทิศทางลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต กอใหเกิดบริเวณเงาฝนหรือพ้ืนท่ีอับลม ฝนจะตกดาน ตะวนั ตกของเทอื กเขามากกวา ดา นภาคตะวันออก 3. เขตทรี่ าบของภาคกลาง ลักษณะภมู ปิ ระเทศสวนใหญเ ปน ทร่ี าบลุมแมนํ้าอนั กวางใหญ มีลักษณะเอียงลาดจากเหนือลงมาใต เปนท่ีราบที่มีความอุดมสมบูรณมากที่สุดเพราะเกิดการทับถมของ ตะกอน เชน ทีร่ าบลุมแมน้ําเจาพระยา และทาจนี เปนแหลง ที่ทําการเกษตร (ทํานา) ที่ใหญท่ีสุด มีเทือกเขา เปนขอบของภาค ทั้งดานตะวันตกและตะวันออก

26 4. เขตภเู ขาและท่รี าบบรเิ วณชายฝง ทะเลตะวนั ออก ลักษณะภูมปิ ระเทศเปน เทอื กเขาสูงและท่ี ราบ ซงึ่ สวนใหญเปน ท่รี าบลูกฟกู และมแี มนํ้าทไ่ี หลลงสอู าวไทย แมน ้าํ ในภาคตะวันออกสว นมากเปนแมนา้ํ สาย ส้นั ๆ ซึ่งไดพ ัดพาเอาดินตะกอนมาทงิ้ ไว จนเกิดเปนที่ราบแคบ ๆ ตามที่ลุมลักษณะชายฝงและมีลักษณะภูมิ ประเทศเปนเกาะ อาว และแหลม ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ภาคตะวันออกมีชายฝงทะเลและมีเทอื กเขาเปน แนวยาว เปดรบั ลมมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใตจากอาวไทยอยางเต็มท่ี จึงทําใหภาคนี้มีฝนตกชุกหนาแนนบางพื้นที่ ไดแก พืน้ ท่ีรบั ลมดา นหนาของเทอื กเขาและชายฝงทะเล อณุ หภมู ขิ องภาคตะวันออกจะมีคาสมาํ่ เสมอตลอดทง้ั ปแ ละมี ความช้ืนคอ นขางสงู เหมาะแกการทําสวน 5. เขตที่ราบสงู ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศเปน ท่รี าบสงู ขนาดตา่ํ ทางบริเวณ ตะวันตกของภาคจะมีภูเขาสูง ทางบริเวณตอนกลางของภาคมีลักษณะเปนแองกะทะ เรียกวา “แองท่ีราบ โคราช” มีแมน้ําชแี ละแมนํา้ มลู ไหลผา น ยังมีทรี่ าบโลงอยูหลายแหง เชน ทุงกุลารอ งไห ทุงหมาหวิ ซง่ึ สามารถ ทํานาไดแตไดผ ลผลติ ตํา่ และมีแนวทวิ เขาภูพานทอดโคงยาวคอ นไปทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของภาคถัดเลยจาก แนวทวิ เขาภพู านไปทางเหนอื มแี องทรดุ ตํา่ ของแผน ดิน เรียกวา “แอง สกลนคร” 6. เขตคาบสมทุ รภาคใต ลักษณะภูมปิ ระเทศเปนคาบสมุทรยื่นไปในทะเล มีเทือกเขาทอดยาว ในแนวเหนอื ใต ท่ีเปนแหลงทับถมของแรดบี ุก และมีความสูงไมมากนักเปนแกนกลางบริเวณชายฝงทะเลท้ัง สองดา นของภาคใตเปนที่ราบ มีประชากรอาศัยอยูหนาแนน ภาคใตไดรับอิทธิพลความชื้นจากทะเลท้ังสอง ดา น มฝี นตกชุกตลอดป และมีปริมาณฝนเฉลีย่ สงู เหมาะแกก ารเพาะปลูกพชื ผลเมืองรอ น ที่ตอ งการความช้ืน สงู ลักษณะภมู ิอากาศไดร ับอิทธิพลของลมมรสมุ ทง้ั สองฤดู จึงเปน ภาคทม่ี ฝี นตกตลอดท้ังป ทาํ ใหเ หมาะแกการ ปลูกพชื เมอื งรอนทตี่ อ งการความชมุ ช้นื สงู เชน ยางพารา ปาลมนํ้ามัน เปน ตน องคประกอบของสงิ่ แวดลอมทางกายภาพของไทย ที่สําคัญมี 3 องคประกอบ ไดแก ลักษณะ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงมีความเก่ียวพันซึ่งกันและกันและมีผลตอความเปนอยูของ มนุษยท ้งั ทางตรงและทางออ ม 1) ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ลักษณะของเปลือกโลกทีเ่ หน็ เปน รูปแบบตางๆ แบงเปน 2 ประเภท คือ ลักษณะภูมิประเทศหลัก ไมเปล่ียนรูปงาย ไดแก ท่ีราบ ที่ราบสูง ภูเขา และเนนิ เขา ลักษณะภูมปิ ระเทศรองเปล่ียนแปลงรูปไดง า ย ไดแก หบุ เขา หว ย เกาะ อาว แมน ํ้า สนั ดอนทราย แหลม ทะเลสาบ 2) ลักษณะภูมอิ ากาศ หมายถึง คาเฉลย่ี ของลมฟาอากาศที่เกิดขนึ้ เปน ประจาํ ในบรเิ วณใดบรเิ วณ หนงึ่ ในชว งระยะเวลาหน่งึ ซงึ่ มปี จ จยั ควบคมุ อากาศ เชน ตําแหนง ละติจดู 3) ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย สามารถนําไปใชประโยชนในการดํารงชีวิตได แบงออกเปน 4 ประเภท คือ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรพั ยากรปาไมแ ละทรัพยากรแรธ าตุ ทรัพยากรธรรมชาติ แบงเปน 3 ประเภท คอื - ทรพั ยากรทีใ่ ชแลวหมดไปไมส ามารถเกดิ มาทดแทนใหมไ ด เชน น้ํามัน แรธาตุ - ทรัพยากรที่ใชแ ลว สามารถสรา งทดแทนได เชน ปาไม สัตวบ ก สตั วน ํา้

27 - ทรพั ยากรท่ีใชแลว ไมหมดไป เชน น้าํ อากาศ เปน ตน การอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาติ การอนรุ ักษ หมายถงึ การรูจ กั ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางคมุ คา และใหเ กดิ ประโยชนม ากที่สุด โดยมีวตั ถปุ ระสงค คอื 1. เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของมนุษย หมายถึง การใชประโยชนสูงสุด และรักษาสมดุลของ ธรรมชาตไิ วดวย โดยใชเ ทคโนโลยีท่ที าํ ใหเกดิ ผลเสียตอสภาพแวดลอ มนอยท่ีสดุ 2. เพ่ือรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพสมดุล โดยไมเกิดสิ่งแวดลอมเปนพิษ (Polution) จนทําใหเ กดิ อนั ตรายตอ มนุษยแ ละสิ่งแวดลอม 1) ทรัพยากรดิน ดินเกิดจากการสลายตัวของหิน แรธาตุและอินทรียวัตถุตาง ๆ อันเน่ืองมาจากการ กระทําของลม ฟา อากาศและอนื่ ๆ สวนประกอบท่ีสําคญั ของดนิ ไดแ ก อนนิ ทรยี วัตถุหรอื แรธ าตุ ปญหาของการใชท รพั ยากรดิน เกดิ จาก 1. การกระทําของธรรมชาติ เชน การสึกกรอนพังทลายท่ีเกิดจากลม กระแสนํ้าและการชะ ลางแรธ าตุตา ง ๆ ในดิน 2. การกระทาํ ของมนุษย เชน การทาํ ลายปา ไม การปลูกพชื ชนดิ เดียวซ้ําซาก การเผาปาและ ไรน า ทาํ ใหสูญเสยี หนา ดิน ขาดการบาํ รุงรักษาดนิ การอนุรกั ษท รพั ยากรดิน โดยการปลกู พืชหมนุ เวยี น การปลกู พืชแบบขนั้ บนั ไดปองกนั การเซาะ ของนํ้า ปลูกพืชคลมุ ดนิ ปอ งกันการชะลา งหนา ดิน ไมตัดไมท ําลายปา และการปลูกปาในบริเวณท่ีมีความลาด ชนั เพือ่ ปองกันการพงั ทลายของดิน

28

29 2) ทรัพยากรน้ํา นํ้าเปนทรัพยากรที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งมีชีวิตใชแลวไม หมดสน้ิ ไป แบงเปน - น้ําบนดนิ ไดแก แมน ้ํา ลาํ คลอง หนอง บงึ ทะเลสาบ ปริมาณนํา้ ขนึ้ อยกู ับปรมิ าณนา้ํ ฝน - น้าํ ใตดิน หรือน้าํ บาดาล ปริมาณน้ําข้ึนอยกู บั น้าํ ที่ไหลซึมลงไปจากพื้นดินและความสามารถ ในการกกั นํ้าในชน้ั หนิ ใตด นิ - นํ้าฝน ไดจากฝนตก ซึ่งแตละบริเวณจะมีปริมาณน้ําแตกตางกัน ซ่ึงในประเทศไทยเกิด ปญ หาวิกฤติการณเกี่ยวกบั ทรัพยากรนา้ํ คอื เกิดภาวะการขาดแคลนนํา้ และเกิดมลพษิ ทางนํ้า เชน น้าํ เสียจาก โรงงานอุตสาหกรรม การอนรุ กั ษทรพั ยากรนํา้ โดยการ 1. การพฒั นาแหลงนํ้า ไดแ ก การขุดลอกหนอง คลองบึงและแมนํ้าที่ตื้นเขิน เพื่อใหสามารถ กักเกบ็ นํา้ ไดมากขน้ึ ตลอดจนการสรา งเขอ่ื นและอางกักเก็บน้าํ 2. การใชนํ้าอยางประหยดั ไมปลอ ยใหนาํ้ สญู เสยี ไปโดยเปลาประโยชนและสามารถนํานาํ้ ท่ใี ช แลว กลบั มาหมุนเวียนใชไดใ หมอีก เชน นา้ํ จากโรงงานอุตสาหกรรม 3. การควบคมุ รักษาตนนํา้ ลําธาร ไมม ีการอนุญาตใหมีการตัดตนไมท ําลายปา อยา งเด็ดขาด 4. ควบคุมมิใหเกิดมลพิษแกแหลงนํ้า มีการดูแลควบคุมมิใหมีการปลอยสิ่งสกปรกลงไปใน แหลง นาํ้ 3) ทรัพยากรปา ไม ปา ไมม ีความสําคัญตอมนุษยท้งั ทางตรงและทางออม เชน ชวยรักษาสภาพ ดิน นาํ้ อากาศ บรรเทาความรุนแรงของลมพายุและยังไดรับผลิตภัณฑจากปาไมหรือใชเปนแหลงทองเท่ียว พักผอนหยอนใจได ปา ไม แบง เปน 2 ประเภท คือ 1. ปาไมไมผลัดใบ เชน ปาดงดิบ หรือปาดิบ เปนปาไมบริเวณท่ีมีฝนตกชุก พบมากทาง ภาคใต และภาคตะวันออก ปาดิบเขา พบมากในภาคเหนือ ปาสนเขา พบทางภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือ ปาชายเลนนาํ้ เค็ม เปน ปาไมตามดินเลน น้าํ เคม็ และน้ํากรอย 2. ปาไมผ ลัดใบ เชน ปา เบญจพรรณ เปนปาผลดั ใบผสม พบมากท่ีสดุ ในภาคเหนือ ปาแดง ปาโคก ปาแพะ เปน ปาโปรงพบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปาชายหาด เปนตน ไมเลก็ ๆ ขนึ้ ตามชายหาด ปา พรุ หรือปาบงึ เปน ปา ไมท ่เี กดิ ตามดนิ เลน การอนุรักษทรัพยากรปาไม สามารถทําไดโดยการออกกฎหมายคุมครองปาไม คือ พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 การปองกันไฟไหมปา การปลูกปาทดแทนไมท่ีถูกทําลายไป การปองกันการลักลอบตัดไมแ ละการใชไ มใหเ กดิ ประโยชนและคมุ คา มากท่ีสดุ 4) ทรัพยากรแรธาตุ แรธาตุ หมายถึง สารประกอบเคมีที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แบง ออกเปน - แรโลหะ ไดแก เหลก็ ทองแดง สงั กะสี ดีบกุ ตะก่ัว - แรอ โลหะ ไดแ ก ยิปซ่มั ฟลอู อไรด โปแตช เกลอื หิน - แรเชื้อเพลงิ ไดแ ก ลิกไนต หนิ นํา้ มนั ปโ ตรเลียม กา ซธรรมชาติ

30 การอนรุ ักษทรพั ยากรแรธ าตุ 1. ขุดแรม าใชเมื่อมีโอกาสเหมาะสม 2. หาวธิ ีใชแรใ หม ปี ระสทิ ธิภาพและไดผ ลคุม คามากที่สดุ 3. ใชแ รอ ยา งประหยดั 4. ใชว สั ดุหรอื สิง่ อ่นื แทนส่ิงทจ่ี ะตอ งทาํ จากแรธาตุ 5. นําทรัพยากรแรก ลบั มาใชใ หม เชน นาํ เศษเหลก็ เศษอลูมเิ นียม มาหลอมใชใหม เปน ตน ปจจัยทีม่ ผี ลกระทบตอ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม ไดแก 1. การเพ่มิ ประชากรมีผลทําใหต อ งใชท รัพยากรและสิ่งแวดลอมมากขึ้น จึงเกิดปญหาความ เสอื่ มโทรมของสภาพแวดลอมตามมามากขนึ้ 2. การใชเ ทคโนโลยที ันสมัย ซ่งึ อาจทาํ ใหเกดิ ทั้งผลดีและผลเสียตอธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม

31 กจิ กรรมที่ 1.4 สภาพภูมิศาสตรก ายภาพของไทยท่สี ง ผลตอทรพั ยากรตา งๆ และสงิ่ แวดลอม 1) ใหผเู รียนอธบิ ายวาสภาพภมู ิศาสตรของประเทศไทย ทั้ง 6 เขต มีอะไรบาง และแตละเขตสวนมาก ประกอบอาชีพอะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. . 2) ผูเรียนคิดวาประเทศไทยมีทรัพยากรอะไรท่ีมากท่ีสุด บอกมา 5 ชนิด แตละชนิดสงผลตอการ ดําเนนิ ชีวิตของประชากรอยางไรบาง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

32 เรอ่ื งท่ี 5 ความสําคัญของการดาํ รงชีวติ ใหส อดคลอ งกบั ทรพั ยากรในประเทศ 5.1 ความสาํ คัญของการดาํ รงชวี ติ ใหสอดคลอ งกบั ทรพั ยากรของประเทศไทย จากที่ไดกลาวมาแลววา ประเทศไทยมีความแตกตางกันทางดานกายภาพ เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศของทองถ่ิน จึงทําใหแตละภาคมีทรัพยากรที่แตกตางกันตามไปดวย สงผลใหประชากร ในแตละ ภมู ิภาคประกอบอาชพี ตา งกนั ไปดว ย เชน ภาคเหนือ ในภาคเหนือมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ จากการท่ีลักษณะภูมิประเทศของ ภาคเหนอื สว นใหญเ ปนทิวเขาและมที ่รี าบหุบเขาสลบั กันแตพ้ืนที่ราบมีจํากัด ทําใหประชากรตั้งถิ่นฐานอยาง หนาแนนตามทร่ี าบลุมแมน้าํ ทรพั ยากรท่ีสําคญั คอื 1) ทรัพยากรดิน ทง้ั ดนิ ทีร่ าบหุบเขา ดินทีม่ นี ้ําทวมถงึ และดนิ ทีเ่ หลอื คา งจากการกัดกรอน 2) ทรพั ยากรนํ้า แบงเปน 2 ประเภท คอื 1. นํ้าบนผิวดิน ไดแก แมน้ําลําธาร หนองบึงและอางเก็บนํ้าตาง ๆ แมวาภาคเหนือจะมี แมนํา้ ลาํ ธาร แตบางแหง ปริมาณนาํ้ ก็ไมเ พียงพอ เนื่องจากเปนแมนํ้าสายเล็ก ๆ และปจจุบันปริมาณน้ําในแมนํ้า ลําธารในภาคเหนือลดลงมาก ทั้งน้ีเน่ืองจากการตัดไมทําลายปาในแหลงตนน้ํา แตอยางไรก็ตามยังมีแมนํ้า หลายสาย เชน แมน้ําปง วัง ยม นา น แมน้าํ ปง จังหวดั เชยี งใหมและแมนํ้ากกจังหวัดเชยี งรายท่ีมีน้ําไหลตลอด ป แมใ นฤดูแลง กย็ ังมนี ํ้าทีท่ าํ การเกษตรไดบาง นอกจากน้ี ยังมี บงึ นาํ้ จดื ขนาดใหญ คือ กวานพะเยา จังหวัด พะเยา บงึ บอระเพด็ จงั หวดั นครสวรรค 2. นํ้าใตดิน ภาคเหนือมีน้ําใตดินที่อยูในรูปของน้ําบอและบอบาดาล จึงสามารถใชบริโภค และทาํ การเกษตรได 3) ทรพั ยากรแร มีเหมอื งแรในทุกจังหวัดของภาคเหนือ แรที่สําคัญไดแก ดีบุก ทังสเตน พลวง ฟลอู อไรด ดนิ ขาว ถา นลกิ ไนตและนํ้ามันปโ ตรเลียม 4) ทรพั ยากรปา ไม ภาคเหนือมอี ตั ราพืน้ ทปี่ าไมตอพ้นื ท่ีท้ังหมดมากกวาทกุ ภาค จังหวัดท่มี ีปาไม มากท่สี ุด คือ เชียงใหม ปา ไมส ว นใหญเปนปาเบญจพรรณและปาแดง ไมท ่ีสําคญั คอื ไมสกั 5) ทรัพยากรดานการทอ งเท่ียว ภาคเหนอื มธี รรมชาติที่สวยงาม สามารถดงึ ดูดนักทองเท่ียว ใหมาชม วิวทวิ ทศั น มที ง้ั น้าํ ตก วนอุทยาน ถํ้า บอนาํ้ รอน เชน ดอยอินทนนทจ งั หวดั เชยี งใหม ภูชฟ้ี าจงั หวัดเชยี งราย ประชากร ภาคเหนือเปนภาคท่ีประชากรอาศัยอยูเบาบาง เนื่องจากภูมิประเทศ เต็มไปดวยภูเขา ประชากรสวนใหญอาศัยอยูหนาแนนตามท่ีราบลุมแมนํ้า สวนใหญสืบเชื้อสายมาจากไทยลานนา นิยมเรียก คนภาคเหนือวา “คนเมอื ง” ประชากรในภาคเหนือสามารถรกั ษาวัฒนธรรมด้งั เดิมไวไดอยางเหนียวแนน เชน ประเพณีสงกรานต ประเพณีทานสลากหรอื ตานกว ยสลาก ประเพณี ลอยกระทง

33 นอกจากนีย้ งั มีชาวไทยภเู ขาอาศัยอยเู ปนจาํ นวนมาก เชน เผามง มเู ซอ เยา ลีซอ อีกอ กะเหรี่ยง ฯลฯ จงั หวัดทม่ี ชี าวเขามากที่สดุ คอื เชียงใหม แมฮองสอนและเชียงราย การอพยพของชาวเขาเขามาในประเทศ ไทยจํานวนมากทําใหเ กิดปญ หาติดตามมา คอื ปญ หาการตดั ไมทําลายปา เพอ่ื ทําไรเลอ่ื นลอย ปญหาการปลูก ฝน รัฐบาลไดแ กไขปญหาโดยหามาตรการตาง ๆ ที่ทําใหช าวเขาหันมาปลกู พชื เมอื งหนาว เชน ทอ กาแฟ สตรอเบอร่ี บวย อะโวคาโด และดอกไมเ มอื งหนาว ฯลฯ นอกจากนี้หนวยงานที่เกี่ยวของ ยังไดจัดการศึกษา เพื่อใหชาวเขาไดเรยี นภาษาไทย ปลูกจิตสาํ นกึ ความเปนคนไทย เพื่อใหเขาใจถึงสิทธิหนาท่ี การเปนพลเมือง ไทยคนหน่งึ การประกอบอาชพี ของประชากรในภาคเหนือ ประชากรในภาคเหนือจะมีอาชีพทํานา ซึ่งปลูกท้ัง ขาวเจาและขา วเหนยี ว ในพ้ืนทรี่ าบลมุ แมนํา้ เนือ่ งจากมีดินอุดมสมบรู ณและมีการชลประทานท่ีดี จึงสามารถ ทาํ นาไดป ล ะ 2 คร้งั แตผลผลติ รวมยงั นอยกวาภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนอื นอกจากนี้ ยังประกอบ อาชีพทําไร (ขาวโพด ถ่ัวเหลือง ถั่วลิสง หอม กระเทียม ออย) การทําสวนผลไม (ล้ินจี่ ลําไย) อุตสาหกรรม (โรงบมใบยาสูบ การผลิตอาหารสําเร็จรูปและอาหารกระปอง) อุตสาหกรรมพื้นเมือง (เคร่ืองเขิน เครื่องเงิน การแกะสลักไมสัก การทํารมกระดาษ) อุตสาหกรรม การทองเท่ียวเนื่องจากภาคเหนือโดยเฉพาะจังหวัด เชียงใหม มีทศั นียภาพทส่ี วยงาม มโี บราณสถานมากมายและมีวฒั นธรรมทเี่ กา แกท ่งี ดงาม ภาคตะวนั ตก เนือ่ งจากทิวเขาในภาคตะวนั ตกเปน ทิวเขาท่ีทอดยาวมาจากภาคเหนือ ดังน้ันลักษณะ ภูมปิ ระเทศจึงคลายกับภาคเหนือ คือ เปน ทวิ เขาสงู สลับกบั หบุ เขาแคบ ซ่งึ เกิดจากการเซาะของแมน้ํา ลําธาร

34 อยา งรวดเร็ว ทิวเขาสวนใหญเ ปนหินคอ นขางเกา สว นใหญเ ปนหนิ ปูน พบมากท่จี งั หวดั กาญจนบรุ ี ราชบรุ ีและ เพชรบุรี ภเู ขาหนิ ปูนเหลา นจี้ ะมยี อดเขาหยักแหลมตะปมุ ตะปา นอกจากน้ียังมหี นิ ดนิ ดาน หินแกรนิตและหิน ทราย และมที ่ีราบในภาคตะวนั ตก ไดแ ก ทรี่ าบลุมแมน้ําแควใหญ ท่ีราบลุมแมนํ้าแควนอย ท่ีราบลุมแมนํ้าแม กลองมที รพั ยากรที่สาํ คญั คือ 1) ทรัพยากรดิน ดินในภาคตะวันตกสวนใหญเกิดจากการผุพังของหินปูน ดินจึงมีสภาพเปน กลางหรอื ดาง ซง่ึ ถือวา เปนดนิ ท่อี ุดมสมบูรณ เหมาะกบั การเพาะปลูก 2) ทรพั ยากรน้าํ ภาคตะวันตกเปนภาคที่มีฝนตกนอยกวาทุกภาคในประเทศ เพราะอยูในพ้ืนท่ี อับฝน แบง เปน 2 ประเภท คือ 1. นํ้าบนผวิ ดนิ ไดแก แมนํา้ ลําธาร หนองบึงและอา งเกบ็ นา้ํ ตา ง ๆ แมว าจะมฝี นตกนอ ย เพราะมี ทิวเขาตะนาวศรีและทิวเขาถนนธงชัยขวางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ดังน้ันฝนจึงตกมากบนภูเขา ซึ่งในภาค ตะวนั ตกมปี า ไมและแหลงตนน้าํ ลําธารอุดมสมบูรณ จึงทําใหตนน้ําลําธารมีน้ําหลอเลี้ยงอยูเสมอ เชน แมนํ้า แควใหญ แมน้ําแควนอย และแมน ํ้าแมกลอง นอกจากนี้ลักษณะภูมิประเทศในภาคตะวันตก มีลักษณะเปน หบุ เขาจาํ นวนมาก จึงเหมาะอยางย่ิงในการสรา งเข่ือน เชน เขอ่ื นภูมิพล เขอ่ื นศรีนครินทร เข่ือนวชิราลงกรณ เขอ่ื นเขาแหลม เขือ่ นแกง กระจาน และเขอื่ นปราณบุรี 2. น้ําใตดิน ภาคตะวันตกมีการขุดบอบาดาล ปริมาณน้ําท่ีขุดไดไมมากเทากับน้ําบาดาล ในภาคกลาง 3) ทรพั ยากรแร ภาคตะวันตกมหี นิ อัคนีและหินแปร มีดีบุกซึ่งพบในหินแกรนิต ทังสเตน ตะก่ัว สังกะสี เหล็ก รัตนชาติ และหินน้ํามัน 4) ทรพั ยากรปา ไม ภาคตะวนั ตกมีความหนาแนนของปาไมรองจากภาคเหนือ จังหวัดท่ีมีปาไม มากท่สี ุด คือ จังหวัดกาญจนบรุ ี 5) ทรพั ยากรดา นการทอ งเทย่ี ว สถานที่ทองเท่ียวสวนใหญเปนภูเขา ถ้ํา นํ้าตก เข่ือน อุทยาน แหง ชาติ ฯลฯ ประชากร ภาคตะวันตกเปนภาคทีม่ ีความหนาแนน ของประชากรนอยทีส่ ุด จงั หวัดท่ีมีประชากร หนาแนนทส่ี ดุ คือ จังหวัดราชบุรี เพราะมีพืน้ ท่ีเปน ที่ราบลุมแมน าํ้ การประกอบอาชีพของประชากร ภาคตะวันตกมีลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาคลายกับ ภาคเหนือ และมพี นื้ ที่ราบคลายกบั ภาคกลาง ประชากรสวนใหญจ ึงอาศัยในพ้ืนทีร่ าบและมอี าชีพเกษตรกรรม อาชีพที่สําคัญคือการทําไรออย (โดยเฉพาะท่ีจังหวัดกาญจนบุรีและราชบุรี) ปลูกสับปะรด ขาวโพด มนั สาํ ปะหลงั ฝา ย องุน การทาํ นา ตามท่ีราบลุมแมน้ํา การเลี้ยงโคนม การทําโองเคลือบดินเผา ทํานาเกลือ อาชีพการประมง การทําเครื่องจักสาน นอกจากนี้ยังมี การทําเหมืองแรดีบุก ทังสเตน ตะก่ัว สังกะสี เหล็ก รตั นชาติและหนิ น้ํามนั ภาคกลาง ภูมิประเทศในภาคกลางเปนทร่ี าบลุมแมน า้ํ เพราะแมน้าํ หลายสายไหลผานทําใหเกิดการ ทับถมของตะกอนและมภี ูเขาชายขอบ พน้ื ท่แี บงไดเปน 2 เขตยอย คอื ภาคกลางตอนบน เปนทร่ี าบลุมแมน้ํา และท่ีราบลูกฟูก มีเนินเขาเตี้ย ๆ สลับเปนบางตอน ในเขตภาคกลางตอนลาง คือตั้งแตบริเวณจังหวัด

35 นครสวรรคล งมาจนถึงอาวไทย มลี กั ษณะเปน ท่รี าบลมุ น้าํ ทว มถงึ และเปน ลานตะพกั ลาํ น้าํ (Stream Terrace) ทรัพยากรทีส่ าํ คญั คือ 1) ทรัพยากรดิน ภาคกลางมดี นิ ทอี่ ดุ มสมบรู ณกวาภาคอืน่ ๆ เพราะเกดิ จากการทบั ถมของโคลน ตะกอนที่มากับแมน้าํ ประกอบกับมกี ารชลประทานท่ดี ี จงึ ทําการเกษตรไดดี เชน การทํานา 2) ทรัพยากรนํ้า ภาคกลางเปน ภาคท่ีมีนา้ํ อุดมสมบรู ณ แบง เปน 2 ประเภท คือ 1. น้ําบนผิวดิน มีแมน้ําที่สําคัญหลอเลี้ยง คือ แมน้ําเจาพระยา ซึ่งจะมีน้ําไหลตลอดท้ังป เนื่องจากมแี มนา้ํ สายเลก็ ๆ จํานวนมากไหลลงมาสแู มน ํา้ เจาพระยา มกี ารชลประทานท่ดี ี เพอ่ื กกั เก็บน้ําไวใชใ น ฤดแู ลง นอกจากนี้ยงั มที ะเลสาบขนาดใหญ คอื บึงบอระเพ็ด ซ่ึงเปนแหลงเพาะพันธุปลาน้ําจืดท่ีใหญท่ีสุดใน โลก 2. น้าํ ใตด ิน เนือ่ งจากภาคกลางมีลักษณะเปนแองขนาดใหญ จงึ มบี รเิ วณน้ําบาดาลมากท่ีสุด ของประเทศ 3) ทรัพยากรแร หินในภาคกลางสวนใหญเปนหนิ เกิดใหมท่ีมีอายุนอย มีหินอัคนีซ่ึงเปนหินเกา พบไดท างตอนเหนอื และชายขอบของภาคกลางและมนี ้าํ มันท่จี ังหวดั กําแพงเพชร 4) ทรัพยากรปาไม ภาคกลางมีพื้นท่ีปาไมนอยมาก จังหวัดท่ีมีปาไมมากคือจังหวัดท่ีอยูทาง ตอนบนของภาค คือ จังหวดั เพชรบูรณ พิษณุโลก อทุ ัยธานี สุโขทัยและกําแพงเพชร 5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว สถานท่ีทองเท่ียวสวนใหญเปนนํ้าตกและแมน้ํา ซ่ึงปจจุบัน แมน้ําหลายสายจะมีตลาดน้ําใหนักทองเท่ียวไดมาเย่ียมชมมีวนอุทยาน หวยขาแขง จังหวัดอุทัยธานี นอกจากนี้ยงั มีโบราณสถานทีเ่ ปนมรดกโลก เชน อุทยานประวัติศาสตรท ่ีจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ประชากร ภาคกลางเปน ภาคทม่ี ปี ระชากรมากเปนอนั ดับสองรองจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชากร สว นใหญจะหนาแนนมากในบริเวณทรี่ าบลมุ แมน า้ํ เจา พระยา เพราะความอดุ มสมบรู ณเ หมาะแกก ารเพาะปลูก จงั หวดั ทีต่ ดิ กับชายทะเลกจ็ ะมปี ระชากรอาศัยอยหู นาแนน นอกจากนภี้ าคกลางจะมอี ัตราการเพ่ิมของประชากร รวดเรว็ มาก เนอื่ งจากมีการอพยพเขา มาหางานทําในเมืองใหญก นั มาก การประกอบอาชีพของประชากร ภาคกลางมีความอุดมสมบูรณ ทั้งทรัพยากรดิน และนํ้า นบั เปน แหลง อขู าวอนู ้ําของประเทศ ในภาคกลางตอนบนประกอบอาชีพทํานาขาวและทําไร (ขาวโพด ออย มันสําปะหลัง) รองลงมาคือ อุตสาหกรรม ภาคกลางตอนลางจะมีอาชีพปลูกขาวในบริเวณราบลุมแมนํ้า เน่อื งจากท่ีดินเปนดินเหนยี วมีนํ้าแชขังและมีระบบการชลประทานดี จงึ สามารถทํานาไดป ละ 2 คร้ัง นับเปน แหลงปลกู ขา วทีใ่ หญท ่ีสุดในประเทศและมีการทาํ นาเกลอื นากุง ในแถบจังหวดั ชายทะเล ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเปนภาคท่ีเล็กท่ีสุด ตอนเหนือของภาคมีภูมิประเทศเปน ที่ราบลุม เกิดจากการเคลือ่ นไหวและการบีบอัดตัวของเปลือกโลก ทําใหตอนกลางของภาคโกงตัวเปนทิวเขาไปจนถึง ดานตะวนั ออกเฉยี งใต ขณะเดยี วกันตอนเหนือของภาคเกิดการทรดุ ตวั เปนแองกลายเปนท่ีราบลุมแมนํ้า และ เกดิ การทบั ถมของโคลนและตะกอน ตอนกลางของภาคเปน ทวิ เขา ภมู ปิ ระเทศสวนใหญเปนหุบเขาแคบ ๆ มี

36 ท่ีราบตามหุบเขา เรียกวา ที่ราบดินตะกอนเชิงเขาตอนใตของภาคเปนท่ีราบชายฝงทะเลภาคตะวันออก มีทรพั ยากรทส่ี ําคัญคอื 1) ทรัพยากรดนิ ดนิ สว นใหญไมคอยสมบูรณ เพราะเปนดินรวนปนทรายและนํ้าฝน จะชะลาง ดนิ เหมาะแกก ารปลูกพชื สวน เชน ทเุ รียน เงาะ ระกํา สละ มงั คดุ ฯลฯ และใชปลูกพืชไร เชน มันสําปะหลัง ออ ย ฯลฯ การทาํ นากม็ บี างบรเิ วณตอนปลายของแมน ้าํ บางปะกง 2) ทรัพยากรน้ํา ภาคตะวันออกมีนํ้าอยางอุดมสมบูรณ แตเนื่องจากแมน้ําในภาคตะวันออกเปน แมน้ําสายสั้น ๆ ทําใหการสะสมนํ้าในแมนํ้ามีนอย เมื่อถึงชวงหนาแลงมักจะขาดแคลนน้ําจืด เพราะเปน ภูมภิ าคทม่ี ีนักทองเทีย่ วจาํ นวนมาก นอกจากนใี้ นหนา แลงนํา้ ทะเลเขามาผสมทําใหเ กดิ น้ํากรอ ย ซึง่ ไมส ามารถ ใชบ ริโภคหรือเพาะปลูกได การสรา งเข่ือนกไ็ มสามารถทาํ ไดเพราะสภาพภูมปิ ระเทศไมอ ํานวย 3) ทรัพยากรแร ภาคตะวันออกมีแรอยูบาง เชน เหล็ก แมงกานีส พลวง แตมีแรท่ีมีชื่อเสียง คอื แรรัตนชาติ เชน พลอยสแี ดง พลอยสนี ํา้ เงนิ หรือไพลินและพลอยสีเหลอื ง โดยผลิตเปนสินคาสง ออกไปขาย ยงั ตางประเทศ 4) ทรัพยากรปาไม ปาไมในภาคตะวันออกจะเปนปาดงดิบและปาชายเลน แตก็ลดจํานวนลง อยางรวดเรว็ เพราะมีการขยายพ้นื ทก่ี ารเกษตร สรางนคิ มอุตสาหกรรม ฯลฯ 5) ทรัพยากรดานการทอ งเที่ยว เปนภาคที่มที รัพยากรทองเที่ยวมากมาย โดยเฉพาะจังหวัดท่ี อยชู ายทะเล เกาะตางๆ นํ้าตก ฯลฯ ประชากร ภาคตะวันออกเปน อกี ภาคหน่ึงที่มีการเพ่ิมของประชากรคอนขางสูง เน่ืองจากมีการ ยา ยมาทํามาหากิน การเจริญเติบโตของเขตอตุ สาหกรรม รวมทงั้ การทอ งเท่ียวเปน เหตจุ ูงใจใหคนเขามาตั้งถ่ิน ฐานเพมิ่ มากข้นึ การประกอบอาชีพของประชากร มอี าชพี ท่สี ําคญั คือ 1. การเพาะปลกู มกี ารทํานา ทาํ สวนผลไม ท้ังเงาะ ทเุ รียน มงั คดุ ระกํา สละ สวนยางพารา ทํา ไรออย และมนั สาํ ปะหลัง 2. การเลี้ยงสตั ว เปนแหลงเลี้ยงเปดและไก โดยเฉพาะทจี่ ังหวดั ชลบรุ แี ละฉะเชงิ เทรา 3. การทําเหมืองแร ภาคตะวันออกเปนแหลงที่มีแรรัตนชาติมากท่ีสุด เชน ทับทิม ไพลิน บุศราคัม สงผลใหประชากรประกอบอาชีพเจียรนัยพลอยดว ย โดยเฉพาะจงั หวดั จนั ทบรุ แี ละตราด 4. อุตสาหกรรมในครัวเรือน เชน การผลติ เสี่อจนั ทบุรี เครอ่ื งจักสาน 5. การทองเที่ยว เนื่องจากมีทัศนียภาพที่สวยงามจากชายทะเลและเกาะตาง ๆ อุตสาหกรรมการ ทองเท่ียวจึงสรางรายไดใ หก ับภูมภิ าคนเ้ี ปนอยางมาก ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ลักษณะภมู ิประเทศสว นใหญ เปน ทร่ี าบสูงแองกะทะและยังมีที่ราบลุมแมน้ําชี และแมน ํา้ มูลทเี่ รยี กวา แอง โคราช ซงึ่ เปนทรี่ าบลุมขนาดใหญท ่ีสุดของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื เพราะมีแมน้าํ มูลและแมน ํา้ ชไี หลผา น จึงมักจะมีน้ําทว มเมือ่ ฤดนู าํ้ หลาก มที รพั ยากรที่สําคญั คือ 1) ทรัพยากรดิน ดินในภาคน้ีมักเปนดินทราย ไมอุมนํ้า ทําใหการเพาะปลูกไดผลนอย แตก ส็ ามารถแบงไดต ามพ้ืนท่ี คือ

37 บรเิ วณที่ราบลมุ แมน้าํ แมนํ้าชี แมน ้าํ มูลและแมน้ําโขง จะมีความอุดมสมบูรณคอนขางมาก นิยมปลูกผกั และผลไม สว นท่เี ปน น้าํ ขังมักเปน ดนิ เหนียว ใชทํานา บรเิ วณลาํ ตะพักลํานา้ํ สว นใหญเปนดนิ ทราย ใชทํานาไดแตผลผลิตนอย เชน ทุงกุลารองไห บริเวณที่สูงกวา นี้ นยิ มปลูกมนั สาํ ปะหลงั บรเิ วณท่สี ูงและภูเขา เน้อื ดนิ หยาบเปนลูกรัง ทด่ี นิ นมี้ กั เปนปา ไม 2) ทรพั ยากรน้ํา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จะมีปญหาในเรือ่ งของนํ้ามากกวาภาคอ่นื ๆ แมวาฝน จะตกหนกั แตในหนา แลง จะขาดแคลนน้ําเพ่ือการเกษตรและการบรโิ ภค น้ําในภาคนี้ จะแบงเปน 2 ประเภท คอื นํ้าบนผิวดิน ไดแก นํ้าในแมน้ําชี แมนํ้ามูลและแมนํ้าสายตาง ๆ ในฤดูฝน จะมีปริมาณนํ้า มาก แตใ นฤดูแลงนาํ้ ในแมน ํา้ จะมีนอย เนอื่ งจากพืน้ ดินเปน ดินทราย เมอื่ ฝนตกไมสามารถอุมน้ําได สวนนํ้าใน แมนํา้ ลําคลองก็มีปริมาณนอ ย เพราะนา้ํ จะซมึ ลงพื้นทราย แตภ าคน้ีถือวาโชคดีที่มีเข่ือน อางเก็บน้ํา และฝาย มากกวา ทกุ ๆ ภาค น้ําใตด ิน ปริมาณนํา้ ใตดินมมี าก แตม ีปญหาน้ํากรอ ยและนํ้าเค็ม การขุดบอตองขุดใกลแหลง แมน าํ้ เทา นัน้ หรอื ตองขดุ ใหล กึ จนถึงชัน้ หินแขง็ 3) ทรัพยากรแร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแรโพแทชมากที่สุด จะมีอยูมากบริเวณตอนกลาง และตอนเหนอื ของภาค นอกจากนย้ี งั มแี รเ กลือหนิ มากทส่ี ดุ ในประเทศไทย 4) ทรัพยากรปาไม ปาไมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเปนปาแดง ซึ่งเปนปาผลัดใบเปนปา โปรง ปาแดงชอบดินลูกรงั หรือดินทราย เชน ไมเ ตง็ รงั พลวง พะเยา ฯลฯ 5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว มีแหลงทรัพยากรธรรมชาติและท่ีมนุษยสรางข้ึน เชน ววิ ทวิ ทศั น (ภกู ระดงึ ) เขอื่ น ผาหิน (จังหวดั อบุ ลราชธานี) หลักฐานทางโบราณคดี (จังหวดั อดุ รธาน)ี ประชากร ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื มีประชากรหนาแนน อาศัยอยตู ามแองโคราชบริเวณทีร่ าบลุม ของแมน ํา้ ชแี ละแมน ํา้ มลู การประกอบอาชพี ของประชากร ประชากรประกอบอาชีพทสี่ ําคญั คือ - การเพาะปลกู เชน การปลูกขาว การทาํ ไร (ขาวโพด มันสาํ ปะหลัง ออ ย ปอ ยาสูบ) - การเลย้ี งสตั ว เชน โค กระบือ และการประมงตามเขอื่ นและอางเก็บนํ้า - อตุ สาหกรรม สว นใหญเ ปนการแปรสภาพผลผลิตทางการเกษตร เชน โรงสีขาว โรงงานมัน สาํ ปะหลงั อดั เมด็ โรงงานทําโซดาไฟ (จากแรเ กลือหนิ และแรโ พแทช) ภาคใต ลักษณะภูมปิ ระเทศของภาคใตเปน คาบสมุทร มีทิวเขาสูงทอดยาวจากเหนือจรดใต มีทะเล ขนาบทั้ง 2 ดา น ทวิ เขาท่สี ําคญั คือ ทิวเขาภเู กต็ ทวิ เขานครศรีธรรมราชและทิวเขาสันกาลาคีรี และมีแมน ํา้ ตา ปซ ึ่งเปนแมน้าํ ท่ยี าวและมขี นาดใหญท ่สี ดุ ของภาคใต ที่เหลอื จะเปน แมนํ้าสายเล็กๆ และสั้น เชน แมน ํ้าปต ตานี แมน้ําสายบรุ ี และแมนาํ้ โก-ลก มีชายฝงทะเลทั้งทางดานอาวไทย ซึ่งมีลักษณะเปนชายฝงแบบยกตัว เปนที่ ราบชายฝง ทเ่ี กิดจากคลนื่ พดั พาทรายมาทับถม จนกระทัง่ กลายเปนหาดทรายทส่ี วยงาม และมีชายฝงทะเลดาน ทะเลอนั ดามนั ที่มีลกั ษณะเวาแหวงเพราะเปนฝง ทะเลท่จี มนา้ํ และมปี า ชายเลนขน้ึ อยา งหนาแนน

38 1) ทรพั ยากรดิน ลกั ษณะดนิ ของภาคใตจ ะมี 4 ลกั ษณะ คอื 1. บรเิ วณชายฝง เปนดินทราย ทเ่ี หมาะแกก ารปลูกมะพราว 2. บริเวณท่ีราบ ดินบริเวณที่ราบลุมแมนํ้า เกิดจากการทับถมของตะกอนเปนช้ันๆ ของ อินทรียว ัตถุ นยิ มทาํ นา 3. บรเิ วณทด่ี อนยงั ไมไ ดบ อกลักษณะดนิ นยิ มปลกู ปาลมน้ํามนั และยางพารา 4. บริเวณเขาสูง มีลักษณะเปน ดนิ ที่มีหนิ ตดิ อยู จงึ ไมเ หมาะแกการเพาะปลกู 2) ทรัพยากรนํา้ แมนา้ํ สวนใหญใ นภาคใตเปน สายสนั้ ๆ แตก็มนี ้ําอดุ มสมบรู ณ เน่ืองจากมฝี นตก เกือบตลอดป แตบางแหงยังมกี ารขดุ นาํ้ บาดาลมาใช 3) ทรัพยากรแร แรทสี่ าํ คัญในภาคใต ไดแ ก ดีบุก (จังหวัดพังงา) ทังสเตน เหล็ก ฟลูออไรด ยิปซ่ัม ดนิ ขาว ถา นหินลกิ ไนต 4) ทรพั ยากรปาไม ปาไมใ นภาคใตเปน ปา ดงดบิ และปาชายเลน 5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว มีทรัพยากรดานการทองเท่ียวมาก เชน ทิวทัศนตามชายฝงทะเล เกาะ และอุทยานแหงชาติทางทะเล นาํ้ ตก สุสานหอยลานปท ี่จังหวัดกระบี่ ประชากร ประชากรอาศัยอยูห นาแนนตามท่ีราบชายฝงต้ังแตจังหวัดนครศรีธรรมราชลงไปถึง จงั หวดั ปตตานี เพราะเปนทร่ี าบผืนใหญ การประกอบอาชีพของประชากร อาชีพท่สี าํ คญั คือ - การทําสวน เชน ยางพารา ปาลมน้าํ มนั และสวนผลไม - การประมง ทํากนั ทกุ จังหวดั ท่ีมชี ายฝง ทะเล - การทาํ เหมอื งแรดบี ุก - การทองเที่ยว ภาคใตมีภูมิประเทศที่สวยงาม ทําใหมีแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติมากมาย หลายแหง เชน ทิวทศั นชายฝงทะเล เกาะแกงตาง ๆ ฯลฯ สามารถทํารายไดจากการทองเท่ียวมากกวาภาค อน่ื ๆ 5.2 ความสาํ คญั ของการดาํ รงชีวติ ใหส อดคลอ งกบั ทรพั ยากรของประเทศในเอเชยี ลกั ษณะประชากรของทวีปเอเชีย เอเชียเปน ทวปี ทใี่ หญแ ละมีประชากรมากเปน อนั ดบั 1 ของโลก ถอื เปน ทวปี แหลง อารยธรรม เพราะเปน ดนิ แดนทีค่ วามเจริญเกิดขึ้นกอนทวีปอ่ืน ๆ ประชากรรูจักและตั้งถ่ิน ฐานกนั มากอ น สวนใหญอ าศัยอยหู นาแนน บริเวณชายฝง ทะเลและทร่ี าบลมุ แมน า้ํ ตา ง ๆ เชน ลุมแมนํ้าเจาพระยา ลมุ แมน ้าํ แยงซีเกียง ลมุ แมนาํ้ แดงและลมุ แมน ้าํ คงคาสวน บริเวณทมี่ ีประชากรเบาบางจะเปน บรเิ วณท่แี หง แลงกนั ดารหนาวเยน็ และในบริเวณทเ่ี ปน ภเู ขาซบั ซอน ซงึ่ สวน ใหญจะเปนบริเวณกลางทวีป ประชากรในเอเชยี ประกอบดวยหลายเชอื้ ชาติ ดังน้ี 1) กลุมมองโกลอยด มจี าํ นวน 3 ใน 4 ของประชากรทงั้ หมดของทวปี มีลักษณะเดน คอื ผิวเหลอื ง ผมดําเหยียดตรง นยั นตารี จมกู แบน อาศัยอยใู นประเทศ จนี ญ่ปี ุน เกาหลี และไทย

39 2) กลุมคอเคซอยด เปนพวกผิวขาว หนาตารูปรางสูงใหญเหมือนชาวยุโรป ตา ผมสีดํา สวนใหญอาศัยอยูในเอเชียตะวันตกเฉียงใตและภาคเหนือของอินเดีย ไดแก ชาวอาหรับ ปากีสถาน อินเดีย เนปาล 3) กลมุ นกิ รอยด เปน พวกผิวดาํ ไดแก ชาวพนื้ เมืองภาคใตของอินเดีย พวกเงาะซาไก มีรูปราง เล็ก ผมหยกิ นอกจากนี้ยังอยใู นศรีลงั กาและหมูเกาะในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต 4) กลมุ โพลิเนเซยี น เปนพวกผวิ สคี ลํ้า อาศัยอยูต ามหมูเ กาะแถบเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต ไดแก ชนพืน้ เมืองในหมูเกาะของประเทศอินโดนเี ซีย ประชากรของทวีปเอเชยี จะกระจายตัวอยตู ามพ้ืนทต่ี าง ๆ ซงึ่ ขน้ึ อยกู บั ความอดุ มสมบรู ณของพ้นื ที่ ความเจริญทางดา นวิชาการในการนาํ เทคโนโลยีมาใชกับทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและ ทาํ เลทีต่ ง้ั ของเมอื งทีเ่ ปน ศนู ยกลาง สว นใหญจะอยกู นั หนาแนน บรเิ วณตามทร่ี าบลมุ แมน ้าํ ใหญ ๆ ซ่ึงที่ดินอุดม สมบูรณ พื้นท่ีเปนท่ีราบเหมาะแกก ารปลูกขา วเจา เขตประชากรท่ีอยกู นั หนาแนน แบง ไดเปน 3 ลกั ษณะคือ 1. เขตหนาแนนมาก ไดแก ที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห แมนํ้าแยงซีเกียง ชายฝงตะวันออก ของจีน ไตหวัน ปากแมนํ้าแดง (ในเวียดนาม) ท่ีราบลุมแมนํ้าคงคา (อินเดีย) ลุมแมน้ําพรหมบุตร (บังคลาเทศ) ภาคใตของเกาะฮอนชู เกาะคิวชู เกาะซิโกกุ (ในญป่ี ุน) เกาะชวา (ในอินโดนีเซยี ) 2. เขตหนาแนนปานกลาง ไดแก เกาหลี ภาคเหนือของหมูเกาะญี่ปุน ท่ีราบดินดอนสามเหลี่ยมปาก แมน ํ้าโขงในเวียดนาม ท่ีราบลุมแมนํ้าเจาพระยา ท่ีราบปากแมน้ําอิระวดใี นพมา คาบสมุทรเดคคานในอินเดีย ลมุ แมน้าํ ไทกรสิ -ยูเฟรตีสในอริ กั 3. เขตบางเบามาก ไดแ ก เขตไซบเี รยี ในรัสเซยี ทะเลทรายโกบีในมองโกเลีย แควนซินเกียงของจีน ท่ีราบสูงทเิ บต ทะเลทรายในคาบสมุทรอาหรบั ซึ่งบรเิ วณแถบนจ้ี ะมอี ากาศหนาวเยน็ แหง แลง และทุรกันดาร ลักษณะการต้ังถนิ่ ฐาน ประชากรสวนใหญ อาศัยอยูหนาแนนบริเวณชายฝงทะเลและที่ราบลุมแมน้ําตาง ๆ เชน ลุมแมนํ้า เจาพระยา ลุม แมนํ้าแยงซเี กยี ง ลุม แมนํ้าแดงและลมุ แมนา้ํ คงคา และในเกาะบางเกาะทีม่ ีดินอุดมสมบูรณ เชน เกาะของประเทศฟลิปปน ส อินโดนเี ซยี และญี่ปนุ สว นบริเวณทีม่ ปี ระชากรเบาบาง จะเปนบริเวณที่แหงแลง กันดาร หนาวเย็นและในบริเวณท่ีเปนภูเขาซับซอน ซ่ึงสวนใหญจะเปน บรเิ วณกลางทวีป มเี พียงสว นนอ ยทีอ่ าศยั อยูในเมือง เมืองท่ีมีประชากรอาศัยเปนจํานวนมาก ไดแก โตเกียว บอมเบย กัลกตั ตา โซล มะนิลา เซียงไฮ โยะโกะฮะมะ เตหะราน กรุงเทพมหานคร เปนตน ลักษณะทางเศรษฐกิจ ประชากรของทวีปเอเชียประกอบอาชีพท่ีตางกันขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติ ไดแ ก ภมู ิอากาศ ภมู ปิ ระเทศ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม ไดแก ความเจริญ ในดา นวิชาการ เทคโนโลยี การปกครองและขนบธรรมเนยี มประเพณี แบง ได 3 กลุม ใหญ ๆ คือ 1) เกษตรกรรม การเพาะปลูก นับเปนอาชีพที่สําคัญในเขตมรสุมเอเชีย ไดแก เอเชียตะวันออก เอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใตและเอเชียใต ทําการเพาะปลกู ประมาณรอยละ 70 - 75 % ของประชากรทงั้ หมด เนื่องจาก

40 ทวปี เอเชยี มภี ูมปิ ระเทศเปนท่รี าบลุมแมน ํ้าอันกวางใหญหลายแหง มีที่ราบชายฝงทะเล มีภูมิอากาศที่อบอุน มคี วามชืน้ เพียงพอ นอกจากนย้ี ังมีการนําเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั เขามาชว ย หลายประเทศกลายเปน แหลงอาหาร ทส่ี าํ คัญของโลก จะทาํ ในทร่ี าบลมุ ของแมน ํา้ ตา ง ๆ พชื ท่ีสําคญั ไดแ ก ขา ว ยางพารา ปาลม ปาน ปอ ฝาย ชา กาแฟ ขาวโพด สม มนั สําปะหลงั มะพรา ว การเลย้ี งสัตว เลย้ี งมากในชนบท มีท้งั แบบฟารม ขนาดใหญและปลอยเลี้ยงตามทุงหญา ข้ึนอยู กบั ลักษณะภมู ิประเทศ ภมู อิ ากาศและความนิยม ซง่ึ เลยี้ งไวใชเ น้ือและนมเปน อาหาร ไดแก อูฐ แพะ แกะ สกุ ร โค กระบอื มา และจามรี การทําปาไม เน่ืองจากเอเชียต้ังอยูในเขตปาดงดิบ มรสุมเขตรอนและเขตอบอุน จึงไดรับ ความชนื้ สงู เปนแหลง ปา ไมท ใ่ี หญและสาํ คญั ของโลกแหงหนง่ึ มที ้ังปาไมเนอื้ ออนและปา ไมเนื้อแขง็ การประมง นบั เปนอาชพี ทส่ี ําคญั ของประชากรในเขตริมฝงทะเล ซึ่งมีหลายประเภท ไดแก ประมงนาํ้ จืด ประมงน้าํ เคม็ การงมหอยมกุ และเล้ียงในบริเวณลําคลอง หนองบงึ และชายฝงทะเล 2) อตุ สาหกรรม ไดแก 1. การทาํ เหมอื งแร ทวปี เอเชียอุดมสมบูรณไปดวยแรธาตุและแรเช้ือเพลิง ไดแก แรเหล็ก ถา นหิน ปโ ตรเลียมและกา ซธรรมชาติ ซ่งึ จีนเปน ประเทศทมี่ กี ารทาํ เหมืองแรมากที่สุดในทวีปเอเชีย สวนถาน หนิ เอเชียผลิตถา นหินมากทีส่ ดุ ในโลก แหลง ผลติ สาํ คญั คือ จีน อนิ เดยี รสั เซีย และเกาหลี แรเหล็ก ผลิตมาก ในรัสเซีย อินเดยี และจีน สวนนํา้ มันดิบและกา ซธรรมชาติ เอเชยี เปน แหลงสํารองและแหลง ผลิตน้ํามันดิบและ กาซธรรมชาติมากทสี่ ุดในโลก ซึ่งมมี ากบรเิ วณอาวเปอรเ ซีย ในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต ไดแก อิหราน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อิรัก คูเวต โอมาน กาตาร ประเทศท่ีผลิตน้ํามันดิบมาก คือ ซาอุดิอาระเบียและจีน นอกจากนีย้ งั พบในอนิ โดนเี ซีย มาเลเซยี บรูไน ปากสี ถาน พมา อุซเบกสิ ถาน เตริ กเมนสิ ถาน อาเซอรไบจาน

41 2. อุตสาหกรรมทอผา ผลติ ภัณฑจ ากไมแ ละหนังสตั ว ซง่ึ อุตสาหกรรมเหลาน้ี หลายประเทศ ในเอเชียเริ่มจากอุตสาหกรรมในครัวเรือน แลวพัฒนาข้ึนเปนโรงงานขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ นอกจากนี้ยังมอี ตุ สาหกรรมอาหารสําเร็จรูป เครือ่ งจักรกล ยานพาหนะ เคมี 3) พาณิชยกรรม ไดแก การสง สนิ คา ออกและสนิ คา นาํ เขาประเทศ สนิ คาท่ี ผลติ ในทวีปเอเชยี ทเ่ี ปนสนิ คา ออกสวนมาก จะเปนเคร่อื งอปุ โภคบริโภคและวัตถุดิบ ไดแก ขา วเจา กาแฟ ชา นาํ้ ตาล เครือ่ งเทศ ยางพารา ฝา ย ไหม ปอ ปาน ขนสตั ว หนังสัตว ดบี กุ ฯลฯ ญ่ีปุนและจีนมีปริมาณการคากับตางประเทศ มากทสี่ ุดในทวปี สินคาออก จะเปนประเภทเครื่องจักร ประเทศที่สงออกมาก คือ ญี่ปุน สวนประเภทอาหาร เชน ขาวเจา ขาวโพด ถ่ัวเหลือง ไดแก ไทย พมาและ เวยี ดนาม สวนสินคานําเขาประเทศ สวนมากจะสั่งซื้อจากยุโรปและอเมริกา ไดแก ผลิตภัณฑจากอุตสาหกรรม เครือ่ งโลหะสาํ เร็จรูป เชน เครือ่ งจกั ร เครื่องยนต เครื่องไฟฟา เคมี เคมภี ัณฑ เวชภณั ฑตา ง ๆ

42 กจิ กรรมที่ 1.5 ความสาํ คัญของการดาํ รงชวี ิตใหสอดคลองกบั ทรัพยากรในประเทศ 1) ใหผ ูเรียนอธิบายวา ในภาคเหนอื ของไทย ประชากรจะอาศัยอยูหนาแนนในบริเวณใดบาง พรอมให เหตผุ ล ประชากรสวนใหญป ระกอบอาชพี อะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................... 2) ผูเรยี นคดิ วา ภาคใดของไทยท่สี ามารถสรา งรายไดจากการทองเท่ียวมากที่สุด พรอมใหเหตุผล และ สถานท่ที อ งเที่ยวดังกลาว มอี ะไรบา ง พรอ มยกตัวอยาง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................... 3) ปจ จยั ใดทที่ าํ ใหมีประชากรอพยพเขามาอาศยั อยใู นภาคตะวันออกมากขึ้น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................

43 4) ทวีปใดทก่ี ลาวกันวา เปนทวีป “แหลง อารยธรรม” เพราะเหตุใดจึงกลาวเชน นั้น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. . 5) ในทวปี เอเชยี ประชากรจะอาศยั อยูกนั หนาแนน บรเิ วณใดบา ง เพราะเหตใุ ด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook