Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นางนพมาศ หรือตำรับท้าวศรีจุฬา

นางนพมาศ หรือตำรับท้าวศรีจุฬา

Published by chatchaikaka2537, 2020-09-16 03:03:09

Description: นางนพมาศ หรือตำรับท้าวศรีจุฬา

Search

Read the Text Version

นางนพมาศ หรือตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์

นางนพมาศ หรือตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ เร่ืองนางนพมาศ หรือ ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นหนงั สือที่เช่ือกนั วา่ แตง่ ขนึ ้ ใน สมยั สโุ ขทยั ผ้แู ตง่ คือ นางนพมาศ หรือ \"ท้าวศรีจฬุ าลกั ษณ์\" แตห่ นงั สอื อาจชารุด เสยี หาย และได้มีการแตง่ ขนึ ้ ใหมใ่ นสมยั รัตนโกสนิ ทร์ แตค่ งเนือ้ หาเดิมของโบราณ เพงิ่ มีการชาระและตีพมิ พ์เผยแพร่เป็นครัง้ แรกเม่ือ พ.ศ. 2457 สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพทรงพระนพิ นธ์ไว้ในคานาวา่ ในเร่ืองโวหาร นนั้ หนงั สอื เลม่ นีส้ งั เกตได้วา่ แตง่ ในราวสมยั รัชกาลที่ 2 –รัชกาลที่ 3 เพราะถ้าเทียบสานวนกบั หนงั สอื รุ่นสโุ ขทยั อยา่ งไตรภมู พิ ระร่วง หรือหนงั สอื รุ่น อยธุ ยา ซงึ่ เหน็ ชดั วา่ หนงั สอื นางนพมาศใหมก่ วา่ อยา่ งแน่นอน และยงั มีที่จบั ผิด ในสว่ นของเนือ้ หา ที่กลา่ วถงึ ชาตฝิ ร่ังตา่ งๆ โดยเฉพาะอเมริกนั ซึ่งเพ่ิงเกิดใหม่

นางนพมาศ หรือตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพได้ทรงกราบทลู รัชกาลท่ี 5 วา่ หนงั สอื ที่ ปรากฏนีค้ งไมไ่ ด้เก่าขนาดสโุ ขทยั เป็นแน่ รัชกาลที่ 5 กท็ รงเหน็ อยา่ งนนั้ แตม่ ี นกั ปราชญ์รุ่นกอ่ นๆ เช่นรัชกาลที่ 4 หรือกรมหลวงวงศาธิราชสนิท เช่ือวา่ น่าจะมีตวั ฉบบั เดิมท่ีเกา่ แก่ แตต่ ้นฉบบั อาจชารุดขาดไป มาถงึ สมยั รัตนโกสนิ ทร์จงึ มีการแก้ไข เพิม่ เตมิ ให้สมบรู ณ์เทา่ ที่จะทาได้ และเลา่ สืบกนั มาวา่ ในครัง้ รัชกาลท่ี 3 ได้ทรงพระ ราชนิพนธ์แทรกไว้ตอนหนง่ึ คือ ตอนที่วา่ ด้วย “พระศรีมโหสถลองปัญญานางนพ มาศ” จนจบ “นางเรวดีให้โอวาทของนพมาศ” ซงึ่ กินเนือ้ ท่ี ราว 1 ใน 3 ของเรื่อง

นางนพมาศ หรือตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ เนือ้ หา เร่ิมต้นว่าด้วยกาเนิดมนุษย์ ชาติภาษา พร้อมแนะนาตวั ผ้เู ขียน “ข้าน้อยผ้ไู ด้นามบญั ญตั ิช่ือวา่ ศรีจฬุ าลกั ษณ์” เลา่ ถงึ กาเนดิ อาณาจกั รและ จากนนั้ กส็ รรเสริญพระเกียรตสิ มเดจ็ พระร่วงเจ้า เลา่ ถงึ ผ้คู น ชาติตระกลู ใน สโุ ขทยั และมาถงึ ประวตั ิสว่ นตวั ของนางนพมาศ พระมโหสถ พราหมณ์ บดิ าของนางนพมาศได้เลา่ นิทานสอนใจ แกน่ างสามสี่เรื่อง จากนนั้ นางเรวดี มารดา ให้โอวาทสอนมารยาท แล้ว นาไปถวายตวั พระร่วงเจ้า

นางนพมาศ หรือตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ ชว่ งตอ่ มานางนพมาศเลา่ ถงึ พิธีพราหมณ์ทงั้ สนิ ้ 12 พิธี เริ่มตงั้ แตเ่ ดือน 12 พธิ ีจองเปรียง (เดือนอ้าย เดอื นยี่ จนถงึ เดือนสบิ เอด็ พิธีอาชยศุ ปิ ดท้ายด้วยหวั ข้อ “วา่ ด้วยความประพฤตแิ หง่ นางสนม” เรื่องกิริยามารยาทตา่ งๆ ในพธิ ีแรก (คือเดือนสิบสองไทย) เรียกว่า พธิ ีจองเปรียง “วนั เพญ็ เดือน 12 เป็นนกั ขตั ฤกษ์ชกั โคมลอยโคม” ผ้คู นพากนั แตง่ โคมชกั โคมแขวน โคมลอยทว่ั พระนคร ทาโคมตกแตง่ ลวดลาย มาชกั มาแขวนเรียงรายตามแนว โคมชยั เสาระหงหน้าพระท่ีนงั่ มีมหรสพด้วย นางนพมาศทาโคมลอยเป็ นรูป ดอกกระมทุ (ดอกบวั ) จดุ ประทีปเปรียง (คือ ใสน่ า้ มนั ไขข้อโค) มีจดุ ดอกไม้ ไฟ จดุ พะเนียงพลสุ วา่ งไสวไปหมด ในหนงั สือเลา่ ตอ่ วา่ “อนั วา่ โคมลอยรูป ดอกกระมทุ ก็ปรากฏมาจนเทา่ ทกุ วนั นี ้แตค่ าโลกสมมตุ ิเปลี่ยนช่ือเรียกวา่ ลอยกระทงทรงประทีป”

นางนพมาศ หรือตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ สาหรับใน พิธีจองเปรียงนี ้ได้กลา่ วถงึ โคมลอยโคมชกั โคมปักโคมห้อย (เชน่ เดียวกบั พระราชพธิ ีจองเปรียง ในหนงั สือ พระราชพธิ ีสิบสองเดือน) เพ่ือให้พระ เจ้าอยหู่ วั ได้ทรงสกั การะพระมหาเกตธุ าตจุ ฬุ ามณีในชนั้ ดาวดงึ ส์ และพระเจ้าอยหู่ วั เสดจ็ เรือพระที่นงั่ ไปถวายดอกไม้เพลงิ ตามพระอารามหลวงริม ฝ่ังแมน่ า้ ทวั่ พระนคร

นางนพมาศ หรือตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ ผู้แต่ง นางนพมาศ ความเป็ นมา ในสมยั สโุ ขทยั นางนพมาศ เกิดในตระกลู พราหมณ์ บิดาเป็นที่ พระมโหสถมีตาแหนง่ ราชการเป็นปโุ รหติ ในสมยั พระร่วงเจ้า ตอ่ มาได้เล่อื นอสิ ริยยศ เป็นท้าวศรีจฬุ าลกั ษณ์เป็นสนมเอกในสมยั พระมหาธรรมราชาลิไท นางนพมาศแตง่ หนงั สอื เร่ือง ตารับนางนพมาศหรือตารับท้าวศรีจฬุ าลกั ษณ์

นางนพมาศ หรือตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ จุดมุ่งหมายในการแต่ง เพื่อสรรเสริญพระเกียรติพระร่วงเจ้า เพ่ือแสดงคณุ สมบตั ทิ ี่ ดีของนางสนม เพ่ือบนั ทกึ พระราชพธิ ีทงั้ ๑๒ เดือน ที่กระทากนั ในสมยั กรุงสโุ ขทยั รูปแบบการแต่ง การแตง่ ข้อความสาคญั เป็นการกลา่ วถงึ เร่ืองราวถงึ ชาตแิ ละ ภาษาตา่ งๆ ยอพระเกียรตพิ ระร่วงและเลา่ ชีวติ ของชาวสโุ ขทยั ประวตั นิ างนพมาศเอง และพระราชพธิ ีตา่ งๆ ลักษณะคาประพันธ์ เป็นกลอนและร้อยแก้ว เชน่ “อยา่ ทารี ๆ ขวาง ๆ ให้เขา วา่ อยา่ ทาเซอ่ ๆ ซา่ ๆ ให้ทา่ นหวั อยา่ ทาโปก ๆ ปาก ๆ ให้ทา่ นวา่ กริยาชวั่ ...” อยา่ ประพฤติตวั ก้อ ๆ ขวย ๆ ให้คนล้อ

นางนพมาศ หรือตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ คุณค่าของวรรณคดี ๑. คณุ คา่ ในทางโบราณคดี หนงั สอื นีม้ ีประโยชน์มาก เมื่อพระบาทสมเดจ็ พระ จลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ทรงพระราชนพิ นธ์หนงั สือพระราชพิธีสบิ สองเดือน ก็ทรง สอบสวนจากตารับท้าวศรีจฬุ าลกั ษณ์ ๒. คณุ คา่ ทางวชิ าการช่างสตรี กลา่ วกนั วา่ การประดิษฐ์การลอยประทีปได้สวยงาม จดั ดอกไม้ประดบั ขนั หมากรับรองแขกเมืองได้อยา่ งประณีต แสดงให้เหน็ วา่ ตารับนาง นพมาศเป็นบอ่ เกิดแหง่ วชิ าการชา่ งสตรี ๓. ด้านพิธีกรรมตา่ ง ๆ สาหรับพระนคร ซง่ึ เป็นแบบอยา่ งมาจนถงึ สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ๔. คณุ คา่ ด้านวรรณคดีและประวตั ิศาสตร์ นางนพมาศเป็นปราชญ์และกวีหญิงคน แรกในประวตั ิวรรณคดี ๕. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น การถวายตวั เข้ารับราชการเป็นนางสนม เป็ นต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook