ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา หลักสูตรแกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มุ่งพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้าน ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตย มีความรู้ มีทักษะพ้ืนฐานและมีเจตคติท่ีดีต่อการศึกษา มีเป้าหมายและกรอบทิศทางในการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญามีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับ โลก เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อท่ีว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ศักยภาพ เน้น ความเป็นเอกภาพของชาติ มุ่งพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นผู้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรมบน พ้ืนฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล มีคุณภาพในการใช้ภาษาไทย มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้าน สาระการเรียนรู้ เวลา และการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน ส่งเสริมทักษะการอ่าน การเขียน การคิด วเิ คราะห์ การคิดเชงิ สรา้ งสรรค์ เน้นการมีส่วนร่วมของสังคมในการจัดการศึกษาเพ่ือให้สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้เรียน ท้องถ่ินและชุมชนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เรียนรู้อย่างมีความสุข มี ศักยภาพในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ มีความสามารถในการสื่อสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์มี วจิ ารณญาณและการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บน พื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ สามารถเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ มีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมี คุณธรรม (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551 : 3 – 4) การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมี สว่ นร่วมในชั้นเรียน สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผ้สู อนกับผเู้ รียน มุ่งให้ผเู้ รียนลงมือปฏบิ ัติ โดยมีครูเป็นผู้ อำนวยความสะดวก สร้างแรงบันดาลใจ ให้คำปรึกษา ดแู ล แนะนำ จัดวิธกี ารเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ท่ี หลากหลาย ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย สร้างองค์ความรู้ได้ มีความเข้าใจในตนเอง ใช้ สติปัญญา คิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงาน มีสมรรถนะสำคัญ มีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต บรรลุ เป้าหมายการเรียนรูต้ ามระดบั ช่วงวยั (สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน. 2562 : 4) ลักษณะของการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning มีดังนี้ 1. เป็นการพัฒนาศกั ยภาพการคิด การแกป้ ัญหา และการนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ 2. ผ้เู รยี นมีส่วนร่วมในการจัดระบบการเรยี นรู้ และสร้างองค์ความรู้โดยมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันใน รูปแบบของความรว่ มมอื 3. เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการเรียนรู้สงู สดุ 4. เปน็ กจิ กรรมทใี่ หผ้ เู้ รยี นบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ สู่ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 5. ผู้เรยี นไดเ้ รยี นร้คู วามมวี นิ ยั ในการทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื 6. ความรูเ้ กิดจากประสบการณ์ และการสรปุ ของผูเ้ รยี น 7. ผูส้ อนเปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวกในการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื ให้ผู้เรียนเป็นผปู้ ฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง (สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน. 2562 : 5)
ตัวอย่างเทคนิคการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning การจดั การเรยี นรูแ้ บบ Active Learning สามารถสร้างใหเ้ กิดขึน้ ไดท้ งั้ ในห้องเรียนและนอก หอ้ งเรียน รวมทง้ั สามารถใช้ได้กบั นักเรียนทุกระดบั ท้งั การเรียนรเู้ ปน็ รายบคุ คล การเรยี นรู้แบบกลุ่มเลก็ และการเรยี นรแู้ บบกลุ่มใหญ่ ตวั อย่างรูปแบบหรอื เทคนคิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทีจ่ ะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้แบบ Active Learning ไดด้ ี ไดแ้ ก่ 1. การเรียนรู้แบบแลกเปลย่ี นความคดิ (Think-Pair-Share) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ใี่ ห้ ผู้เรยี นคิดเกย่ี วกับประเด็นทีก่ ำหนดแต่ละคน ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากน้นั ใหแ้ ลกเปล่ียนความคดิ กับ เพ่ือนอีกคน 3-5 นาที (Pair) และนำเสนอความคิดเหน็ ตอ่ ผู้เรยี นท้งั หมด (Share) 2. การเรียนรแู้ บบรว่ มมือ (Collaborative learning group) คือการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ ใหผ้ เู้ รียนได้ทำงานร่วมกับผอู้ ื่น โดยจดั เปน็ กลมุ่ ๆ ละ 3-6 คน 3. การเรยี นร้แู บบทบทวนโดยผเู้ รียน (Student-led review sessions) คือการจัดกิจกรรม การเรยี นรทู้ ี่เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดท้ บทวนความรู้และพจิ ารณาข้อสงสัยต่าง ๆ ในการปฏิบตั กิ จิ กรรมการ เรยี นรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลือกรณีที่มีปญั หา 4. การเรียนรู้แบบใชเ้ กม (Games) คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู ีผ่ สู้ อนนำเกมเข้าบรู ณาการ ในการเรียนการสอน ซง่ึ ใชไ้ ด้ทั้งในขัน้ การนำเขา้ สู่บทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และหรือขัน้ การ ประเมินผล 5. การเรยี นรแู้ บบวเิ คราะหว์ ดี ีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจดั กจิ กรรม การเรียนรทู้ ่ีใหผ้ ู้เรยี นไดด้ ูวีดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรยี นแสดงความคิดเหน็ หรือสะท้อนความคิดเกี่ยวกบั สิง่ ทีไ่ ด้ดู อาจโดยวธิ ีการพดู โต้ตอบกัน การเขยี น หรือ การรว่ มกนั สรุปเปน็ รายกลมุ่ 6. การเรียนรูแ้ บบโตว้ าที (Student debates) คอื การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่จี ัดให้ผู้เรียนได้ นำเสนอข้อมลู ทไี่ ด้จากประสบการณแ์ ละการเรยี นรู้ เพื่อยืนยนั แนวคดิ ของตนเองหรือกลมุ่ 7. การเรียนรแู้ บบผเู้ รยี นสรา้ งแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คอื การจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ีใ่ หผ้ ู้เรียนสรา้ งแบบทดสอบจากส่งิ ท่ไี ดเ้ รยี นรูม้ าแล้ว 8. การเรยี นรแู้ บบกระบวนการวิจยั (Mini-research proposals or project) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีองิ กระบวนการวิจัย โดยให้ผู้เรยี นกำหนดหวั ข้อท่ตี อ้ งการเรยี นรู้ วางแผนการเรยี น เรียนรตู้ ามแผน สรุปความรู้หรือสร้างผลงาน และสะทอ้ นความคดิ ในสงิ่ ท่ไี ด้เรียนรู้ หรืออาจเรียกว่าการสอน แบบโครงงาน(project-based learning) หรอื การสอนแบบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (problem-based learning) 9. การเรียนรแู้ บบกรณีศกึ ษา (Analyze case studies) คือการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ใ่ี ห้ ผเู้ รียนได้อ่านกรณตี วั อยา่ งที่ต้องการศกึ ษา จากนั้นให้ผเู้ รียนวเิ คราะห์และแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ หรือ แนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม แล้วนำเสนอความคิดเห็นตอ่ ผู้เรียนทั้งหมด
10. การเรยี นรู้แบบการเขียนบันทกึ (Keeping journals or logs) คือการจัดกจิ กรรม การเรียนรู้ท่ีผูเ้ รยี นจดบนั ทกึ เรอ่ื งราวตา่ งๆ ท่ีได้พบเห็น หรอื เหตกุ ารณ์ที่เกดิ ขน้ึ ในแต่ละวัน รวมทัง้ เสนอ ความคดิ เพม่ิ เตมิ เกีย่ วกบั บันทกึ ท่ีเขียน 11. การเรยี นรู้แบบการเขียนจดหมายข่าว (Write and produce a newsletter) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ใี ห้ผูเ้ รียนร่วมกนั ผลติ จดหมายขา่ ว อันประกอบดว้ ย บทความ ข้อมลู สารสนเทศ ข่าวสาร และเหตุการณ์ทเี่ กิดขน้ึ แล้วแจกจ่ายไปยงั บุคคลอื่นๆ 12. การเรยี นรแู้ บบแผนผังความคิด (Concept mapping) คอื การจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ให้ ผู้เรียนออกแบบแผนผังความคดิ เพื่อนำเสนอความคิดรวบยอด และความเชอ่ื มโยงกันของกรอบความคดิ โดยการใชเ้ สน้ เปน็ ตัวเชือ่ มโยง อาจจัดทำเปน็ รายบคุ คลหรืองานกลุ่ม แล้วนำเสนอผลงานต่อผ้เู รยี นอ่ืนๆ จากนั้นเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนคนอื่นไดซ้ ักถามและแสดงความคิดเหน็ เพิม่ เติม (สถาพร พฤฑฒกิ ลุ , 2558) บทบาทของครใู นการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ตู ามแนวทางของ Active Learning ดงั น้ี 1. จดั ให้ผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรียนการสอน นำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตจรงิ ของผู้เรยี น 2. สร้างบรรยากาศของการมีสว่ นรว่ ม และการเจรจาโต้ตอบทีส่ ่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมีปฏสิ มั พันธ์ทด่ี ี กบั ผู้สอนและเพ่ือนในช้ันเรียน 3. จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมสี ว่ นร่วมในทกุ กจิ กรรม รวมท้ังกระตุ้นให้ ผเู้ รียนความสำเรจ็ ในการเรยี นรู้ 4. จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบรว่ มมอื ส่งเสรมิ ให้เกดิ การร่วมมือในกลมุ่ ผเู้ รยี น 5. จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนใหท้ า้ ทาย และใหโ้ อกาสผู้เรยี นไดร้ ับวิธีการสอนทห่ี ลากหลาย 6. วางแผนเกีย่ วกบั เวลาในการจดั การเรียนการสอนอย่างชดั เจน ทงั้ ในส่วนของเนอื้ หาและ กจิ กรรม 7. ครผู ู้สอนต้องใจกว้าง ยอมรบั ความสามารถในการแสดงออก และความคดิ ของผ้เู รียน (ณัชนนั แกว้ ชยั เจรญิ กจิ , 2550) การอ่านและการเขยี นเปน็ ทักษะที่มีความสำคญั ในชีวิตประจำวนั เพราะเม่อื อา่ นออกเขียนไดก้ ็จะ เกดิ ความรคู้ วามเข้าใจ นำไปสู่การสรา้ งความคิด การตัดสินใจแก้ปญั หา และกา้ วทันตอ่ เหตกุ ารณข์ องโลก ในยุคปัจจุบัน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบา้ นกระสงั สามัคคี พบว่านกั เรยี นส่วนใหญ่นักเรียนอา่ นและเขียนสะกดคำไม่ถูกตอ้ ง โดยเฉพาะคำ ทม่ี ีตวั สะกดทงั้ ตรงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา จากปัญหาดังกลา่ วในฐานะของครผู สู้ อนจึงได้ศกึ ษาเทคนิควิธกี ารสอนต่างๆท่ีเหมาะสมกับวัยของ นักเรียน การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทกั ษะพัฒนาการอ่านและการเขียนเป็น หน่งึ กจิ กรรมท่นี า่ สนใจและเหมาะสมกบั วัยของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ทำใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นรู้
อย่างสนุกสนาน ไม่เบื่อหน่ายในการเรียน ช่วยให้นักเรียนจดจำเนื้อหาได้อย่างแม่นยำและคงทนเป็น เวลานาน ดังนั้นผ้สู อนจงึ ไดน้ ำนวตั กรรม “การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะ การอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด” มาใช้ประกอบการเรียนการสอน เร่ืองการอ่านและการเขียน สะกดคำมาตราตัวสะกด เพื่อให้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านกระสังสามัคคี เกิดการ เรียนรู้และมีความเข้าใจในเรื่อง การอ่านและการเขียนสะกดคำตามมาตาตัวสะกดได้อย่างถูกต้องและ คล่องแคล่ว นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาไทยในระดับที่สูงข้ึน และสามารถนำความรู้ไปใช้ใน ชวี ิตประจำวันได้จริง วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคำมาตราตวั สะกด ของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 2. เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง การอา่ นและการเขียนคำมาตราตัวสะกดกอ่ นและหลัง การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 3. เพ่ือพฒั นาการอา่ นออกเขียนได้ สามารถต่อยอดในการเรียนร้ใู นรายวิชาอ่ืนๆและเป็นพืน้ ฐานใน การทดสอบวดั ความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) ความสำคัญของการศึกษา ผลของการศึกษาครั้งนี้ทำให้ได้วิธีการสอนคำมาตราตัวสะกด โดยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 อันจะเป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอนได้นำไปใช้พัฒนากระบวนการเรียนการสอนภาษาไทยให้มี ประสิทธภิ าพมากข้ึน ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านกระสัง สามัคคี สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวนท้ังสิ้น 20 คน 2. ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีได้แก่ คำมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา สำหรับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ตามหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านกระสังสามัคคี พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ซึ่งเป็นไปตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีเน้ือหารายละเอียดเก่ียวกับการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด นำมา
จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านกระสังสามัคคี. สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาบรุ รี มั ย์ เขต 2 จำนวน 8 เลม่ ดังนี้ เลม่ ที่ 1 มาตราตัวสะกดแม่กง เล่มที่ 2 มาตราตัวสะกดแม่กม เล่มท่ี 3 มาตราตัวสะกดแมก่ น เลม่ ที่ 4 มาตราตวั สะกดแมเ่ กย เลม่ ท่ี 5 มาตราตวั สะกดแมเ่ กอว เล่มที่ 6 มาตราตัวสะกดแมก่ ก เลม่ ที่ 7 มาตราตวั สะกดแม่กด เล่มที่ 8 มาตราตัวสะกดแมก่ บ ระยะเวลาทใี่ ช้ในการศึกษาค้นควา้ ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการศึกษา ดำเนนิ การทดลองในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา2563 ตวั แปรท่ีศึกษา ตวั แปรอิสระ ไดแ้ ก่ การจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทักษะการอา่ นและ การเขยี นคำมาตราตวั สะกด สำหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สมมติฐานของการศึกษา นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบ ฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนหลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรยี น กรอบแนวคดิ ของการศกึ ษา ผู้ศึกษาได้วางกรอบแนวคิดในการเรียนการสอนภาษาไทย โดยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 3 ประกอบการสอน ดงั น้ี
การจัดการเรียนรู้แบบ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คำมาตราตัวสะกด Active Learning โดยการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ด้วยแบบฝึกทกั ษะการอา่ นและการเขียนคำมาตราตัวสะกด ด้วยแบบฝึกทกั ษะการอา่ นและ การเขียนคำมาตราตวั สะกด ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. นกั เรยี นมีทกั ษะการอา่ นและการเขียนคำมาตราตัวสะกดไดถ้ ูกตอ้ งคลอ่ งแคล่ว 2. เปน็ แนวทางสำหรับครูผู้สอนภาษาไทยในการเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน 3. เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน การอ่านและการเขียนคำมาตรา ตัวสะกด ในสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 4. เป็นการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ สามารถต่อยอดในการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นๆและเป็น พ้ืนฐานในการการทดสอบวดั ความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) นิยามศพั ท์เฉพาะ 1. การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning หมายถึง กระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมให้ ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในช้ันเรียน สร้างปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งครูผสู้ อนกบั ผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนลงมือปฏิบตั ิ โดยมี ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก สร้างแรงบันดาลใจ ให้คำปรึกษา ดูแล แนะนำ จดั วิธกี ารเรียนรแู้ ละแหล่ง เรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย ให้ผ้เู รยี นได้เรยี นรู้อยา่ งมีความหมาย สรา้ งองคค์ วามรู้ได้ มคี วามเขา้ ใจในตนเอง ใช้ สติปัญญา คิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงาน มีสมรรถนะสำคัญ มีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต บรรลุ เปา้ หมายการเรียนรตู้ ามระดบั ชว่ งวยั 2. การสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะพัฒนาการอา่ น การเขียนคำมาตราตัวสะกด หมายถงึ การนำ แบบฝึกทกั ษะพัฒนาการอ่าน การเขยี นคำมาตราตัวสะกด มาใชเ้ ป็นกจิ กรรมประกอบการเรยี นการสอนใน เน้อื หาวิชาหลักภาษาไทย ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 3. ความสามารถในการอ่านและการเขียน หมายถึง ความรู้ ความสามารถของนักเรียนที่จะ แสดงพฤติกรรมตามผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ภายหลังสิ้นสุด จากการเรียนการสอนซ่ึงสามารถสังเกตและวัดได้จากคะแนนของนักเรียนในการทดสอบความสามารถใน การอ่านและเขียนคำศัพท์ 4. แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง แผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เรื่อง การ อ่าน การเขียนคำมาตราตัวสะกด โดยใช้แบบฝึกทักษะพัฒนาการอ่าน การเขียนคำมาตราตัวสะกด กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งประกอบไปด้วยจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ การวดั ผลประเมนิ ผล
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ความสามารถของนักเรียนที่แสดงพฤติกรรมตาม ตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 หลังจากสิ้นสุด การเรียนการสอนด้วยแบบฝึกทักษะพัฒนาการอ่าน การเขียนคำมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ซึ่งสามารถวัดได้จากคะแนนของนักเรียนในการทำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธ์ิทางการเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ตอนท่ี 1 แบบทดสอบวัดทักษะการอ่าน จำนวน 15 คำ ตอน ท่ี 2 แบบทดสอบวดั ทกั ษะการเขียน จำนวน 15 คำ 4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง การอา่ น การเขยี นคำมาตราตวั สะกด กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ทผ่ี ู้ศกึ ษาสร้างขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนท่ี 1 แบบทดสอบวัดทักษะการอ่าน จำนวน 15 คำ ตอนที่ 2 แบบทดสอบวัดทักษะการ เขยี น จำนวน 15 คำ เพ่ือใช้ทดสอบนกั เรียนก่อนเรียนและหลังเรยี นด้วยแบบฝึกพฒั นาการอ่าน การเขียน คำมาตรา กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 วิธีดำเนนิ การวิจัย 1. ประชากร ประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านกระสังสามัคคี สังกัด สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาบรุ รี ัมย์ เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 2. เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย 2.1 แบบประเมนิ ผลการอ่านกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น 2.2 แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรี ยนช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 3. ขั้นตอนการสร้างเคร่อื งมือ 3.1 ศึกษาเอกสารหลกั สตู รสถานศกึ ษา แนวคิดทฤษฏีการเรียนการสอน 3.2 ศกึ ษาปญั หาของนกั เรยี น วเิ คราะหข์ ้อมลู ทพ่ี บในการจัดการเรียนการสอน 3.3 ศกึ ษาเทคนคิ วธิ ีการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning 3.4 ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียน เพื่อให้เหมาะสมกับ เนอื้ หาและผเู้ รียน 3.5 สร้างแบบประเมนิ ผลการอ่านก่อนเรยี น - หลงั เรยี น 3.6 ประเมินผลการอ่านก่อนใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 3.7 ดำเนินการจัดกิจกรรมประจำวัน โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตรา ตวั สะกด สำหรบั นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 3.8 ประเมินผลการอ่านหลังใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลในสถานการณ์จริงในชั้นเรียน โดยใช้แบบประเมินผลการอ่าน และการเขียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านและการ เขยี นคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 และสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนระหวา่ งจัด กจิ กรรมการเรียนการสอน การวิเคราะหข์ อ้ มูล ข้อมลู ทร่ี วบรวมได้จากแบบทดสอบอา่ นคำพื้นฐานกอ่ นเรียนและหลงั เรียน นำมาวเิ คราะห์ หาค่าเฉล่ีย ( ) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) แลว้ เปรยี บเทยี บคะแนนความก้าวหนา้ ของนักเรียน แตล่ ะคน ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ข้อมูลท่ัวไปของกลุ่มท่ีศึกษา คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านกระสังสามัคคี ทั้งหมดรวม 20 คน มีการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียน แล้วจึงดำเนินการสอนตามแผนการจัดการ เรยี นรู้โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 หลงั จากน้ันจงึ ทำการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิหลังเรยี น แล้วจึงนำผลมาเก็บรวบรวม ข้อมูลก่อนเรยี นและหลัง เรียนท่ีรวบรวมไดจ้ ากเคร่อื งมอื ทผี่ วู้ จิ ยั สรา้ งข้นึ มาจำแนกผลการเรยี นรู้ ดงั นี้ สรุปได้ว่านักเรียนท้ัง 20 คน มีความก้าวหน้าในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วย แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประกอบการเรียนรู้เรอ่ื งคำมาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรียนในการใช้สื่อการสอน แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขยี นคำมาตราตวั สะกด สำหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การฝึก จำนวนนักเรยี น X คา่ S.D ก่อนเรยี น 12.40 2.14 หลงั เรยี น 20 คน 25.70 1.53 20 คน จากตารางสรุปไดว้ า่ การจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning ดว้ ยแบบฝึกทักษะการอ่านและการ เขียนคำมาตราตัวสะกดสำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนเรียนมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 12.40 หลัง เรยี นมีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 25.70 จะเหน็ ได้ว่าคะแนนของค่าเฉล่ียหลังเรียนมีคา่ มากกว่าคะแนนเฉล่ียกอ่ นเรียน
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของก่อนเรียนมีค่าเท่ากับ 2.14 ส่วนค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานหลังเรียนมีค่าเท่ากับ 1.53 แสดงวา่ ข้อมูลมคี า่ คะแนนใกลเ้ คียงกัน สรปุ ผลการวิจัย การวจิ ัยครง้ั นม้ี ีวัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เรอ่ื งคำมาตราตวั สะกด โดยการ จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกดสำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 เพ่ือแก้ปัญหาการอ่านและการเขียนสะกดคำ สำหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านกระสังสามัคคี พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องมาตรา ตวั สะกดดีขึ้น จาการทีต่ อ้ งการแก้ปญั หาการอ่าน และเขียนสะกดคำไมถ่ ูกต้อง เพ่อื พัฒนาจุดบกพรอ่ งของนักเรียน ทำให้นักเรียนได้รับการแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด จนกระท่ังนักเรียนมีความสามารถตามจุดเน้นการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน นั่นคือ สามารถอ่านออก เขียนได้ ซึ่งเป็นพ้ืนฐานและการต่อยอดในการเรียนรู้ในรายวิชา อ่ืนๆนนั้ ส่งผลให้ในปีการศึกษา 2563 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านกระสังสามัคคี อำเภอ ห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ มีคะแนนเฉลี่ย NT สูงกว่าระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสูงกว่าระดับประเทศทั้ง สองดา้ น โดยได้คะแนนเฉลยี่ เปน็ อันดับที่ 1 ของกลมุ่ โรงเรยี นห้วยราช และได้อันดบั ท่ี 6 ของสำนกั งานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 โดยได้คะแนนเฉลี่ยด้านภาษาไทย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 61.89 มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่า ปี 2562 ซึ่งได้คะแนนร้อยละ 57.56 โดยมีคะแนนเฉล่ียเพิ่มขึ้น + 4.33 อภปิ รายผล ผลการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ปรากฏว่า ผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มีคณุ ภาพและประสิทธภิ าพอย่างดียิง่ ดว้ ยเหตุผลดงั ต่อไปนี้ 1. แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคำมาตราตัวสะกด สำหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เปน็ สอื่ ท่มี คี ุณภาพและประสิทธภิ าพตามผลของการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั กลา่ ว 2. การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ดว้ ยแบบฝึกทกั ษะการอา่ นและการเขียนคำมาตรา ตัวสะกดสำหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 นกั เรยี นเกดิ ความสนุกสนานในการเรียนรู้ 3. การจัดการเรียนรู้เรื่องคำมาตราตัวสะกด โดยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วย แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกดสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ได้เรยี งลำดับ ความยากง่ายสอดคล้องตามธรรมชาติการเรียนรู้ ทำให้เรียนรู้สึกว่าตนเองประสบความสำเร็จในการ เรียนรู้ จึงสรุปได้ว่าแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้ น
ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มปี ระสิทธิภาพอย่างยง่ิ สามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สง่ ผลให้ผูเ้ รยี น มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงขน้ึ ข้อเสนอแนะ จากผลการศึกษาค้นคว้าคร้ังนมี้ ีขอ้ เสนอแนะเพือ่ ประโยชนต์ ่อวงการศกึ ษาดงั นี้ 1. ก่อนนำแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้ น ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ไปใชป้ ระกอบการสอน ผูส้ อนควรศกึ ษารายละเอียดของทุกกจิ กรรมกอ่ นนำไปใช้ 2. ควรวิจัยการพัฒนาทักษะภาษาไทย เร่ือง การเขียนเพ่ือการส่ือสาร ให้กับนักเรียนในขั้นตอน ต่อไป เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถท่ีสูงข้ึนเพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการการทดสอบวัดความสามารถ พนื้ ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ต่อไป ตัวอย่างแบบฝกึ ทกั ษะ
บรรณานกุ รม ไชยยศ เรอื งสุวรรณ. Active Learning. ข่าวสารวชิ าการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ประจำเดือนพฤศจิกายน, ๒๕๕๓. ณัชนนั แกว้ ชยั เจรญิ กิจ. บทบาทของครผู ู้สอนในการจัดกจิ กรรมและวิธีการปฏิบัติตาม แนวทางของ Active Learning. สืบค้นจาก http//www.kroobannok.com เม่ือ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔. ดวงมน ปริปุณณะ. เทคนิคและวิธีสอนในระดับประถมศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๔๗. ปติ ินันธ์ สทุ ธสาร. กิจกรรมการสอนภาษาไทยด้วยเพลง. พิมพค์ รงั้ ที่ ๘. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๕๔. พรวิไล เลศิ วิชา. สอนภาษาไทยต้องเขา้ ใจสมองเดก็ . กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ศาลาแดง, ๒๕๕๐. วรรณี โสมประยูร. การสอนภาษาไทยระดับประถมศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร : คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร, ๒๕๔๗. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน. คู่มอื หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย. กรงุ เทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน, ๒๕๔๖. . หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด, ๒๕๕๑. อัจฉรา ชีวพันธ์. ศลิ ปะการจัดการเรยี นรภู้ าษาไทย ระดับประถมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร : เบน็ พับลซิ ชง่ิ , ๒๕๔๖.
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: