Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SN3-2562

SN3-2562

Published by kedsirin_bcnsk, 2019-11-14 18:04:19

Description: SN3-2562

Search

Read the Text Version

การพยาบาลผู้ป่ วยจติ เวชเดก็ อาจารย์เกษศิรินทร์ ภู่เพชร

ขอบเขตเนือ้ หา  การพยาบาลผปู้ ่ วยจิตเวชเดก็  โรคสมาธิส้ัน (Attention-Deficit Hyperactive Disorder : ADHD)  ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (Intellectual Disabilities: ID)  โรคออทิสติก (Autism Spectrum Disorder: ASD)  โรคพฤติกรรมเกเร (Conduct Disorders: CD) 2

ภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญา (Intellectual Disabilities)

ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา Intellectual Disabilities ในปัจจุบนั ใชค้ าวา่ “บกพร่องทางสตปิ ัญญา (Intellectual Disabilities)” แทน “ภาวะปัญญาอ่อน (Mental Retardation)” 4

ความหมาย  ภาวะพร่องทางสติปัญญา หมายถึง ภาวะท่ีผปู้ ่ วยมีระดบั เชาวนป์ ัญญาต่ากวา่ ค่าเฉลี่ย คือมี Intelligence Quotient (IQ) น้อยกว่าหรือเท่ากบั 70 โดยเริ่มมีอาการแสดงก่อนอายุ 18 ปี ร่วมกบั มีความสามารถในการปรับตวั บกพร่องใน 3 domains หลกั ไดแ้ ก่  - The conceptual domain (ความคิด)  - The social domain (สงั คม)  - The practical domain (การกระทา)

6

สาเหตุ  สาเหตุทางกรรมพนั ธ์ุ  สาเหตุทางชีวภาพ  สาเหตุจากส่ิงแวดล้อม

สาเหตุทางพนั ธุกรรม  เป็นความผดิ ปกติที่ไดร้ ับการถ่ายทอดมาแต่กาเนิดทาใหเ้ กิดความพิการทาง สติปัญญา ร่วมกบั ความพิการทางกาย  พบไม่เกิน 40% ของสาเหตุความบกพร่องทางสติปัญญา

สาเหตุทางชีวภาพ  เกิดจากสิ่งต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อชีวิต ส่งผลใหพ้ ฒั นาการของสมองบกพร่องหรือหยดุ ชะงกั ซ่ึง เกิดข้ึนในระหวา่ งการเจริญเติบโตในระยะใดระยะหน่ึง เช่น  ขณะต้งั ครรภ์  ขณะคลอด ทาใหเ้ กิดความพิการทางสติปัญญาได้ เช่น การคลอดก่อนกาหนด  หลงั คลอด ทาใหเ้ กิดความพิการทางสติปัญญาได้ ไดแ้ ก่ การติดเช้ือทางระบบประสาท ไดร้ ับความ กระทบกระเทือนทางสมอง

สาเหตุจากส่ิงแวดล้อม  การขาดสิ่งแวดลอ้ มที่มีส่วนช่วยใหเ้ กิดการเรียนรู้ เช่น  ในเดก็ ที่ถกู ละเลยทอดทิ้ง  เดก็ ที่ถกู ทารุณกรรม  ในครอบครัวที่พอ่ แม่มีฐานะยากจน ขาดการศึกษาขาดความรู้

การวนิ ิจฉัย ตามเกณฑ์ DSM-5 A. มีความบกพร่องทางเชาวป์ ัญญา โดยมีระดบั สติปัญญา (Intelligence Quotient : IQ) ต่ากวา่ 70 ท้งั น้ีจาเป็นตอ้ งอาศยั การประเมินทางคลินิกร่วม ดว้ ยในการแปลผลระดบั IQ

การวนิ ิจฉัย ตามเกณฑ์ DSM-5 B. มีความบกพร่องในการทาหนา้ ที่ของตน (adaptive functioning) หมายถึง ผปู้ ่ วยมีความบกพร่องในการจดั การ ส่ิงต่างๆ ในชีวติ ไม่วา่ จะเป็นการอยดู่ ว้ ยตนเองไดโ้ ดยไม่ตอ้ งพ่ึงพาผอู้ ื่น (personal independence) หรือการมีความ รับผดิ ชอบตอ่ สงั คม (social responsibility) ตามท่ีควรจะทาไดใ้ นระดบั พฒั นาการ สิ่งแวดลอ้ มและวฒั นธรรมท่ี ใกลเ้ คียงกนั ความบกพร่องในการทาหนา้ ที่ของตนน้ีอาจเป็นเรื่องใดเร่ืองหน่ึงใน 3 ดา้ น ต่อไปน้ี  Conceptual (academic) domain เก่ียวกบั ความสามารถในการคิดวางแผน เขา้ ใจแนวคิดที่ซบั ซอ้ น ความจา ภาษา การอา่ น การเขียน การคิดคานวณ การแกไ้ ขปัญหา และการตดั สินใจในสถานการณ์ใหม่ๆ  Social domain เก่ียวกบั ความสมั พนั ธ์ท่ีมีตอ่ ผอู้ ื่น การรับรู้ถึงความคิด ความรู้สึก ประสบการณ์ของผอู้ ื่น การเอา ใจเขาใส่ใจเรา ทกั ษะในการสื่อสาร และสร้างความสมั พนั ธ์  Practical domain เก่ียวกบั การจดั การตนเองในหลายๆ ดา้ น ของชีวติ เช่น การดแู ลตนเอง ความรับผดิ ชอบต่อ งาน การจดั การเร่ืองเงิน การควบคุมพฤตกรรม และการจดั การกบั งานที่ไดร้ ับ เป็นตน้

การวนิ ิจฉัย ตามเกณฑ์ DSM-5 C. ความบกพร่องทางสติปัญญาและการทาหนา้ ที่ของจนเอง เกิดในช่วงวยั เดก็ หรือ วยั รุ่น

การแบ่งภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาตามระดบั ความรุนแรง ระดบั ความช่วยเหลอื ท่ตี ้องการและร้อยละทพี่ บ ระดบั ความรุนแรง ระดบั IQ ระดบั ความช่วยเหลอื ทต่ี ้องการ ร้อยละท่ี พบ - บกพร่องทางสติปัญญาเลก็ นอ้ ย 50-70 ตอ้ งการความช่วยเหลือเป็นคร้ังคราว 85 (Mild Intellectual disability) - บกพร่องทางสติปัญญาปานกลาง (Moderate 35-49 ตอ้ งการความช่วยเหลือปานกลาง 10 Intellectual disability) - บกพร่องทางสติปัญญารุนแรง (Severe 20-34 ตอ้ งการความช่วยเหลือมาก 3-4 Intellectual disability) - บกพร่องทางสติปัญญารุนแรงมาก (Profound <20 ตอ้ งการความช่วยเหลือตลอดเวลา 1-2 Intellectual disability)

ความบกพร่องทางสตปิ ัญญาระดับเลก็ น้อย (Mild Intellectual Disabilities) IQ 50-70  พบไดป้ ระมาณ 85 % ของ ID ท้งั หมด  มกั ไดร้ ับการวนิ ิจฉยั เม่ือเดก็ เขา้ สู่วยั เรียนแลว้  ส่วนใหญ่เรียนไดถ้ ึงช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 หรือสูงกวา่  เม่ือเป็นผใู้ หญ่สามารถทางาน แต่งงาน ดแู ลครอบครัวได้ แตอ่ าจตอ้ งการความช่วยเหลือบา้ งเป็น คร้ังคราวเมื่อมีปัญหาชีวติ หรือหนา้ ที่การงาน  มกั ไม่พบสาเหตุทางพยาธิสภาพ

ความบกพร่องทางสตปิ ัญญาระดบั ปานกลาง (Moderate Intellectual Disabilities) IQ 35-49  พบประมาณ 10 % ของ ID ท้งั หมด  มกั ไดร้ ับการวนิ ิจฉยั ต้งั แต่วยั ก่อนเรียน เม่ืออายปุ ระมาณ 2-3 ปี  มกั จะมีทกั ษะในการส่ือสาร แต่จะมีขอ้ จากดั ในการสื่อสารที่มีความซบั ซอ้ น  กิจวตั รประจาวนั มกั จะทาไดภ้ ายใตก้ ารควบคุมดูแล  ตอ้ งการการดูแลช่วยเหลือ โดยเฉพาะในส่วนของ Social cues, social judgment และ social decisions  สามารถเรียนไดถ้ ึงช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 2-3 ในวยั เรียน  มกั ตอ้ งการ การจดั การศึกษาพิเศษ  สามารถเรียนรู้การเดินทางตามลาพงั ไดใ้ นสถานที่ท่ีคุน้ เคย  ใชช้ ีวติ ในชุมชนไดด้ ีท้งั การดารงชีวติ และการงาน  ตอ้ งการความช่วยเหลือปานกลาง ตลอดชีวติ

ความบกพร่องทางสติปัญญาระดบั รุนแรง (Severe Intellectual Disabilities) IQ 20-34  พบไดป้ ระมาณ 3 - 4 % ของ ID  ท้งั หมดตอ้ งไดร้ ับการฟ้ื นฟสู มรรถภาพทางการแพทย์  มกั พบความผดิ ปกติของพฒั นาการต้งั แต่ขวบปี แรก  มกั มีพฒั นาการล่าชา้ ทุกดา้ น โดยเฉพาะพฒั นาการดา้ นภาษา สื่อความหมายไดเ้ พยี งเลก็ นอ้ ยหรือพดู ไม่ไดเ้ ลย  บางรายเริ่มพดู ไดเ้ ม่ือเขา้ สู่วยั เรียน  มีปัญหาในการเคลื่อนไหว  ส่วนใหญพ่ บความเสียหายของระบบประสาทส่วนกลาง  ส่วนใหญต่ อ้ งการการดูแลอยา่ งใกลช้ ิด หรือตอ้ งช่วยในทุกๆดา้ นตลอดชีวติ

ความบกพร่องทางสตปิ ัญญาระดบั รุนแรงมาก (Profound Intellectual Disabilities) IQ ต่ากว่า 20  พบประมาณ 1 – 2 % ของ ID ท้งั หมด  มีพฒั นาการทุกดา้ นล่าชา้ ต้งั แต่วยั ทารก  ตอ้ งไดร้ ับการฟ้ื นฟสู มรรถภาพทางการแพทย์  ตอ้ งการการดแู ลอยา่ งใกลช้ ิดตลอดเวลา  สามารถดแู ลตนเองในระดบั พ้ืนฐานไดเ้ ลก็ นอ้ ยหรือทาไม่ไดเ้ ลย  มกั พบความผดิ ปกติของระบบประสาทสมั ผสั และความพิการอ่ืนๆร่วมดว้ ย

การพยาบาล (Nursing intervention)  สอน แนะนา หรือใหค้ าปรึกษาแก่ครอบครัวในความรู้เร่ืองโรค  การกระตุน้ และส่งเสริมพฒั นาการโดยเนน้ ทกั ษะดา้ นร่างกาย และทกั ษะในการดารงชีวติ ประจาวนั อยา่ งต่อเน่ือง  จดั ส่ิงแวดลอ้ มใหป้ ลอดภยั ไม่เกิดอนั ตราย รวมท้งั การจดั ส่ิงแวดลอ้ มเพอื่ ส่งเสริมการเรียนรู้และพฒั นาการในทกั ษะดา้ น การดารงชีวติ ประจาวนั  การใหค้ าปรึกษาครอบครัวในการระบายความรู้สึก  การสร้างสมั พนั ธภาพเพอื่ การบาบดั อยา่ งต่อเนื่องเป็นรายบุคคล  การทากิจกรรมบาบดั เป็นการฝึกใชก้ ลา้ มเน้ือมดั เลก็  การฝึกพดู  การฟ้ื นฟสู มรรถภาพทางการศึกษา  การฟ้ื นฟสู มรรถภาพทางอาชีพ เร่ิมท่ีอายุ 15-18 ปี เป็นส่ิงจาเป็นต่อการประกอบอาชีพในวยั ผใู้ หญ่

โรคออทิสติก (Autism Spectrum Disorder)

โรคออทสิ ตกิ คอื อะไร โรคออทิสติก (Autistic Disorders) หรือปัจจุบนั เรียกวา่ โรคออทิซึมสเปกตรัม (Autism spectrum disorder) หมายถึง กลุ่มอาการท่ีเกิดจากความผดิ ปกติของสมอง ซ่ึง ส่งผลกระทบต่อพฒั นาการของบุคคล ทาใหบ้ ุคคลมีขอ้ จากดั ในการปฏิบตั ิกิจกรรมใน ชีวติ ประจาวนั หรือการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสงั คม ซ่ึงเป็นผลมาจากความ บกพร่องทางพฒั นาการดา้ นสงั คม การส่ือสาร เกิดพฤติกรรมซ้าๆ และมีความสนใจ หมกมุ่นในบางเรื่อง ซ่ึงความผดิ ปกติน้ีสามารถสงั เกตเห็นไดต้ งั แต่วยั หดั เดินหรืออายุ 18 เดือนข้ึนไป

กญุ แจสาคญั ทเ่ี ป็ นตวั ทานาย ในเดก็ อายุ 18 เดือนข้ึนไป มี 4 อาการหลกั ถา้ พบวา่ มีอาการผดิ ปกติเหล่าน้ีต้งั แต่ 2 อยา่ ง ข้ึนไป ควรนึกถึงโรคออทิสติก และควรมีการดาเนินการเพือ่ ยนื ยนั การวนิ ิจฉยั โรคและใหค้ วาม ช่วยเหลืออยา่ งทนั ที  เล่นสมมติ เลน่ จินตนาการไม่เป็น (lack of pretend play)  ไม่สามารถช้ีนิ้วบอกความตอ้ งการได้ (lack of protodeclarative pointing)  ไม่สนใจเขา้ กลุม่ หรือเลน่ กบั เดก็ คนอ่ืน (lack of social interest)  ไม่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสนใจร่วมกบั คนอ่ืนได้ (lack of joint attention)

สาเหตุ 1. ปัจจยั ทางชีวภาพ (Biological factors) 1) ปัจจยั ทางพนั ธุกรรม (Genetic factor) เก่ียวขอ้ งกบั ความผดิ ปกติของโครโมโซมตวั ท่ี 2, 7, 15 และ 16 2) ปัจจยั โครงสร้างทางสมอง เชื่อวา่ เกิดจากเซลลข์ องสมองที่ผดิ ปกติและความไม่สมดุลของสารเคมีในระบบ ประสาท 3) ปัจจยั ทางสารสื่อประสาท (Neurotransmitter factors) พบวา่ มีระดบั สารส่ือประสาทบางอยา่ งผดิ ปกติ 4) ปัจจยั ทางภมู ิคุม้ กนั (Immunology factor) เดก็ ออทิสติกบางรายมีจานวน T-cell และ Immunoglobulin A (IgA) ซ่ึงช่วยสร้างภมู ิคุม้ กนั ใหร้ ่างกายอยใู่ นระดบั ต่า 5) ปัจจยั ของมารดาขณะต้งั ครรภ์ ขณะคลอด หรือหลงั คลอด 2. ปัจจยั ทางจติ สังคม (Psychological factors) ไดแ้ ก่ การเล้ียงดู ซ่ึงในปัจจุบนั เช่ือวา่ เป็นปัจจยั เสริมท่ีทาใหเ้ ดก็ ออทิสติกมี อาการมากข้ึนหรือช่วยใหอ้ าการของเดก็ ออทิสติกดีข้ึนได้

หลกั เกณฑ์ในการวนิ ิจฉัยโรคออทสิ ติก (Autistic Disorder) A. บกพร่องอยา่ งชดั เจนในการสื่อสารทางสงั คม และการมีปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คม ใน หลากหลายบริบท โดยแสดงออกดงั น้ี (ภาวะปัจจุบนั หรือจากประวตั ิกไ็ ด)้ 1) บกพร่องในการตอบสนองทางอารมณ์และสงั คม (social-emotional reciprocity) 2) บกพร่องในการใชภ้ าษาท่าทาง เพอื่ การส่ือสารทางสงั คม 3) บกพร่องในการพฒั นา คงไว้ และเขา้ ใจในสมั พนั ธภาพ

หลกั เกณฑ์ในการวนิ ิจฉัยโรคออทสิ ติก (Autistic Disorder) B. มีแบบแผนพฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมท่ีจากดั ซ้าๆ โดยแสดงออกอยา่ งนอ้ ย 2 ขอ้ ดงั น้ี 1) โยกไปโยกมา (stereotyped) หรือมีการเคล่ือนไหว พดู จา หรือใชว้ ตั ถุส่ิงของ ซ้าๆ 2) แบบแผนคาพดู หรือพฤติกรรม ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงไปจากกิจวตั รท่ีเคยทา ไม่ยดื หยนุ่ 3) ความสนใจในส่ิงต่างๆ มีจากดั และยดึ ติดอยา่ งมาก ซ่ึงเป็นภาวะที่ผดิ ปกติท้งั ในแง่ของความรุนแรงหรือสิ่งท่ีสนใจ 4) ระบบรับสมั ผสั ไวเกินหรือเฉ่ือยเกิน หรือสนใจตวั กระตุน้ ระบบรับสมั ผสั อยา่ งไม่เหมาะสม

หลกั เกณฑ์ในการวนิ ิจฉัยโรคออทสิ ตกิ (Autistic Disorder) C. อาการแสดงออกในช่วงแรกของวยั แห่งการพฒั นา (early developmental period) (แสดงออกชดั เจนเม่ือความคาดหวงั ทางสงั คมเกินกวา่ ความสามารถท่ีมีอยา่ งจากดั ) D. อาการส่งผลต่อความบกพร่องในดา้ นสงั คม อาชีพ หรือหนา้ ที่การทางานอื่นที่ สาคญั E. ไม่สามารถอธิบายจากความบกพร่องทางสติปัญญา (intellectual disability) หรือ ความล่าชา้ ทางพฒั นาการทุกดา้ น (global developmental delay)

อาการและอาการแสดง ไม่สบตา ไม่พาที ไม่ชี้นิว้

ด้านปฏสิ ัมพนั ธ์กบั บุคคลอนื่ (Social Interaction)  ไม่ใชภ้ าษาท่าทาง เช่น ไม่สบตา ไม่แสดงสีหนา้  สร้างความสัมพนั ธ์กบั เพอ่ื นไม่เหมาะสมกบั อายุ  ไม่มีอารมณ์ตอบสนองกบั สังคม  ไม่ใส่ใจกบั ส่ิงที่เกิดข้ึนรอบๆ ตวั เช่น เรียกแลว้ ไม่หนั  ไม่คอ่ ยเขา้ ใจกบั กฎเกณฑข์ องสังคม  ชอบเล่นคนเดียว ไม่เลน่ กบั เดก็ อื่น เขา้ กบั เพื่อนไดย้ าก  การมีปฏิสมั พนั ธ์ทางเดียว เช่น พดู ในส่ิงที่สนใจคนเดียวไม่สนใจเรื่องที่คนอื่นพดู  มีบุคลิกท่ีไม่เป็นธรรมชาติ เช่น แสดงอาการแปลก งุ่มง่าม หวั เราะอยา่ งไม่มีเหตุผล  ไม่รู้วธิ ีการเริ่มหรือจบบทสนทนา  ไม่ชอบใหอ้ ุม้ หรือขืนตวั เวลาอุม้ ไม่กลวั คนแปลกหนา้

ด้านภาษาและการส่ือสาร (Language and Communication)  - ไม่พดู หรือเร่ิมพดู ชา้ แต่มีรูปแบบของการท่องจาซา้ ๆ และไม่สื่อความหมาย  ใชค้ าพดู ซ้าๆ หรือใชภ้ าษาที่ไม่มีใครเขา้ ใจ  ไม่เขา้ ใจความหมายของการพดู เช่น ไม่เขา้ ใจวา่ เป็นประโยคคาถามท่ีตอ้ งการคาตอบ แต่ ตอบโดยพดู ตาม (Echolalia)  เลี่ยงการสบตา พดู ในสิ่งที่ตวั เองสนใจ  เรียกแลว้ ไม่หนั (เหมือนหูตึง)  ไม่มีความเขา้ ใจในการแสดงออกของสีหนา้  มีปัญหาในการสื่อสารทางภาษากาย เช่น ผงกหวั ส่ายหนา้  - บางคร้ังเมื่อแสดงความตอ้ งการไม่ไดก้ จ็ ะจบั มือผอู้ ่ืนไปทาในส่ิงที่ตอ้ งการ  ไม่มีการเล่นสมมติ หรือเลน่ ตามจินตนาการ

ด้านกจิ กรรมทที่ าและความสนใจ (Activities and Interest)  หมกมุ่นกบั พฤติกรรมซ้าๆ และมีความสนใจอยา่ งจากดั  ติดกบั กิจวตั ร หรือย้าทาบางอยา่ งท่ีไม่มีประโยชน์ โดยไม่ยดื หยนุ่  ทากิริยาซ้าๆ เช่น เล่นสะบดั มือ เขยง่ เทา้ หมุนขอ้ เทา้ โยกศีรษะ หมุนวตั ถุ เปิ ดปิ ดไฟ  สนใจหมกมุ่นกบั เพยี งบางส่วนของวตั ถุ

อาการอน่ื ท่พี บร่วม  ความบกพร่องดา้ นเชาวป์ ัญญา มกั จะอยใู่ นระดบั ปัญญาออ่ น  พฤติกรรมอยไู่ ม่นิ่งและสมาธิส้ัน  ความผิดปกติของประสาทสมั ผสั และการเคลื่อนไหว  ความผิดปกติของคล่ืนไฟฟ้ าสมองและอาการชกั อาการชกั พบไดร้ ้อยละ 4 -32 โดยช่วงอายทุ ี่ ผปู้ ่ วยมีโอกาสชกั บ่อยมี 2 ช่วง ไดแ้ ก่ ช่วง 5 ขวบปี แรก และช่วงวยั รุ่น  ความสามารถพเิ ศษ เช่น ดา้ นดนตรี ศิลปะ หรือการคิดเลข

ผลกระทบ 1. ปัญหาการเรียน เนื่องจากเดก็ เลือกเรียนรู้เฉพาะเรื่องท่ีสนใจ และหมกมุ่นมากเกินไปจนไม่ ใส่ใจเรื่องอ่ืน ทาให้ เดก็ ไม่สามารถเรียนรู้ในเน้ือหาบทเรียนที่หลากหลาย ความรู้และทกั ษะที่มีจึง ค่อนขา้ งจากดั 2. ปัญหาความสัมพนั ธ์ภายในครอบครัว พอ่ แม่มกั เกิดความเครียดในการดูแลเน่ืองจากอาการ ของเดก็ ถา้ จดั การไม่ ถูกวธิ ีกอ็ าจไประบายลงกบั เดก็ และคนในครอบครัวดว้ ยวธิ ีการท่ีไม่เหมาะสม 3. ปัญหาความสัมพนั ธ์กบั ครู ถา้ ครูไม่เขา้ ใจในขอ้ จากดั ของเดก็ จะทาใหเ้ ขา้ ใจวา่ เดก็ ชอบ ก่อกวน สร้างความ ปั่นป่ วน เช่น ยกมือถามในหอ้ งตลอดจนครูสอนไม่ได้ หรือยกมือตอบอยคู่ นเดียว เดก็ อาจถกู มองวา่ มีพฤติกรรม กา้ วร้าว แสดงออกไม่เหมาะสม เช่น เถียงเพ่ือเอาชนะครู 4. ปัญหาความสัมพนั ธ์กบั เพอ่ื น เดก็ บางคนมกั แยกตวั ไม่สนใจเพ่อื น ในขณะท่ีบางคนอยาก เล่นกบั เพอื่ น แต่เล่น ไม่เป็น ไม่เขา้ ใจกติกา ทาใหถ้ กู เพ่ือนเอาเปรียบหรือกลนั่ แกลง้ เป็นประจา เดก็ มกั ไม่ค่อยเขา้ ใจการพดู ลอ้ เล่น เล่น มุก ทาใหเ้ ป็นตวั ตลกในกลุ่มเพื่อนได 

อจั ฉริยะออทสิ ตกิ

คมิ พคี (Kim Peek) : อจั ฉริยะด้านความจา ได้ฉายา คมิ พวิ เตอร์ อายไุ ดข้ วบคร่ึง ใครอ่านหนงั สืออะไรใหฟ้ ัง เขากจ็ ะจาไดห้ มด ตอน 3 ขวบหดั อ่านหนงั สือออกไดด้ ว้ ยตวั เอง และจากน้นั มา เขากไ็ ลอ่ า่ น ไล่ท่องมาเรื่อยๆ สามารถจดจาขอ้ ความในหนงั สือทุกหนา้ ทุกบรรทดั ไดอ้ ยา่ งข้ึนใจรวมท้งั หมดแลว้ ประมาณ 12,000 เล่ม! คิมใชเ้ วลาประมาณ 8-10 วนิ าทีในการอา่ นหนงั สือ 1 หนา้ สามารถอา่ นได้ 2 หนา้ พร้อมๆ กนั ทีเดียว โดยใชต้ าซา้ ยอา่ นหนา้ ซา้ ย และ ตาขวาอา่ นหนา้ ขวา ขอ้ มลู ทุกอยา่ งที่เคยอ่านผา่ นตามา สมองเขาจะสามารถเซฟเกบ็ ลง ฮาร์ดดิสกไ์ วไ้ ดห้ มด ทุกความรู้ ทุกรายละเอียด ถา้ คุณไปถามอะไรเขา เขา จะสามารถเสริชจากความจาของตวั เองมาตอบไดอ้ ยา่ งรวดเร็วเสียยงิ่ กวา่ ใช้ Google ซะอีก

 คิมหดั เดินชา้ กวา่ เดก็ อ่ืนมาก เดินตวั ตรง ไม่คอ่ ยได้ ติดกระดุมเส้ือเองกไ็ ม่เป็น  การดาเนินชีวิตประจาวนั ยงั ตอ้ งใหค้ นอื่น ช่วยเหลืออยู่ ในดา้ นการพดู คิมพดู ไม่ชดั พดู ชา้ แลว้ ก็ ค่อนขา้ งติดอ่าง

โทน่ี เดอบลอยส์ (Tony DeBlois) อจั ฉริยะด้านดนตรี ถึงแม้ ตาบอดมาต้ังแต่กาเนิด  คลอดก่อนกาหนด 4 เดือน หมอท่ีทาคลอดบอกวา่ ถึงจะรอดโตมา กค็ งจะ พิการและเป็นปัญญาอ่อนอยา่ งแน่นอน  จนอยมู่ าวนั หน่ึง แม่ซ้ือเปี ยโนของเล่นมาให้ จึงไดค้ น้ พบวา่ เขามีพรสวรรค์ ซ่อนอยู่  โทน่ีตอนเป็นเดก็ สามารถฟังเพลงจากทีวแี ลว้ กเ็ อามาเล่นตามไดห้ มด เขา สามารถเขา้ ใจพวกทฤษฏีดนตรี เร่ืองของการสร้างคอร์ด เรื่องของฮาโมนี่ เร่ืองคีย์ เรื่องสเกล ไดเ้ องโดยสญั ชาตญาณ โดยไม่ตอ้ งใหใ้ ครมาสอน  เขายงั มีความจาดา้ นดนตรีเป็นเลิศมาก เพลงอะไรกต็ าม ตอ่ ใหย้ าก ต่อให้ ยาว ตอ่ ใหซ้ บั ซอ้ นขนาดไหน ขอแคเ่ ขาไดฟ้ ังเพยี งคร้ังเดียว กส็ ามารถท่ีจะ เลน่ ตามไดเ้ หมือนทุกอยา่ งไม่มีท่ีผดิ เพ้ียน

แนวทางการรักษาและฟื้ นฟูสมรรถภาพ

การดูแลรักษา ครอบครวั เด็ก แพทย ์ (สาธารณสขุ ) ครู (การศกึ ษา) 38

การช่วยเหลอื ด้านจิตใจและให้คาแนะนาบดิ ามารดา  ใหก้ ารปรึกษาและใหค้ วามรู้เรื่องโรคแก่บิดามารดา  การกระตุน้ พฒั นาการเบ้ืองตน้  การช่วยเหลือดา้ นการศึกษา

การใช้ยารักษา  Methylphenidate นามาใชใ้ นการรักษาอาการอยไู่ ม่น่ิงในเดก็ ออทิสติก พบวา่ ไดผ้ ลดี โดยเฉพาะในกลุม่ ออทิสติกท่ีมีศกั ยภาพสูง (higher-functioning ASD) มีอตั ราการตอบสนอง 49% ซ่ึงนอ้ ยกวา่ การนาไปใช้ ในกลุม่ สมาธิส้นั ซ่ึงมีอตั ราการตอบสนอง 70-80% ผลขา้ งเคียงจากยาที่พบไดบ้ ่อยคือ อาการหงุดหงิดง่าย (irritability) พบไดถ้ ึง 18% และเม่ือใชย้ าขนาดสูง มกั พบอาการ เบื่ออาหาร นอนยาก และไม่สบายทอ้ ง บางรายพบอาการแยกตวั มากข้ึนดว้ ย  ยารักษาโรคจิตกลุม่ atypical เช่น Risperidone มีผลการศึกษาวา่ ใชไ้ ดผ้ ลในการลดพฤติกรรมหงุดหงิด กา้ วร้าว อยไู่ ม่น่ิง การทาร้ายตนเอง การอาละวาดเมื่อไม่ไดด้ งั่ ใจ ผลขา้ งเคียงที่พบบ่อย ไดแ้ ก่ น้าหนกั ข้ึน, เจริญอาหาร, ออ่ นเพลีย, ง่วงซึม, เวยี นศีรษะ, น้าลายยดื , อาการสั่น และทอ้ งผกู แตค่ วามรุนแรงนอ้ ย และ มกั หายไปใน 2-3 สัปดาห์  ยากลุ่ม SSRIs (selective serotonin reuptake inhibitors) นามาใชใ้ นเดก็ ออทิสติก เพือ่ ลดอาการพฤติกรรม ซ้าๆ หรือพดู ซ้าๆ ที่มีความสัมพนั ธ์กบั ความวติ กกงั วล (rituals associated with anxiety) และช่วยลด พฤติกรรมกา้ วร้าว (aggression)





โรคพฤติกรรมเกเร (Conduct disorder:CD)

โรคคอนดคั (Conduct Disorders: CD) บางคร้ังเรียกโรคเกเร หรือพฤติกรรมคลา้ ยอนั ธพาล เป็นโรคทางจิตเวชเดก็ และวยั รุ่น ท่ีแสดงออกถึงปัญหาทางดา้ นอารมณ์และพฤติกรรม ลกั ษณะสาคญั ของ โรคคอนดคั คือ จะมีพฤติกรรมท่ีละเมิดสิทธิผอู้ ื่น หรือไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของ สงั คมอยา่ งต่อเน่ือง โดยทาซา้ ๆ และทามาเป็นเวลานาน เดก็ ที่เป็นโรคน้ีจะมี พฤติกรรมรุนแรง กา้ วร้าว พฤติกรรมในเชิงทาลาย ซ่ึงอาการเหล่าน้ีเป็นอาการเริ่มแรก ท่ีจะนาสู่การเจบ็ ป่ วยทางจิตเวช

เดก็ อายตุ ่ากวา่ 18 ปี มีพฤติกรรมขโมย พดู ปด หลอกลวง หนีเรียน หนีออกจากบา้ น ฝ่ าฝืนกฎระเบียบของสงั คม แสดงพฤติกรรมกา้ วร้าวต่อคน และสตั ว์ ทาลายทรัพยส์ ินสาธารณะ อาจมีการชิงทรัพยจ์ ้ี ปลน้ ข่มขืน โดยมี พฤติกรรมติดต่อกนั มาอยา่ งนอ้ ย 12 เดือน มกั พบในชายมากกวา่ หญิง พบใน กลุ่มวยั รุ่น

สาเหตุ  พนั ธุกรรม  ปัจจยั ทางชีวภาพ  ปัจจยั ทางดา้ นจิตใจ  ปัจจยั ทางดา้ นจิตใจ  ปัจจยั ทางครอบครัว

พนั ธุกรรม  พบวา่ มีโอกาสเกิดการถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมในรูปแบบของบุลิกภาพแบบต่อตา้ น สังคม

ปัจจยั ทางชีวภาพ  ฮอร์โมนเพศ  เดก็ ชายท่ีมีระดบั androstenedione สูงมีพฤติกรรมกา้ วร้าว  เดก็ ชายที่มีระดบั testosterone สูง จะมีความอดทนต่า  ชีวเคมีของสมอง :Dopamine หรือ Serortonergic function, 5-ผดิ ปกติ

ปัจจยั ทางด้านจิตใจ  พฤติกรรมการเรียนรู้ : เดก็ ขาดวฒุ ิภาวะการทาหนา้ ท่ี ขาดการเรียนรู้อยา่ งมี เหตุผล ขาดเหตุผลทางจริยธรรม  แนวโนม้ เดก็ เกเร : ขาดการควบคุมอารมณ์ วติ กกงั วลนอ้ ย ไม่สนใจส่ิง ตอบแทน

ปัจจัยทางครอบครัว  บิดามารดาเป็นโรคจิตเวช  บุคลิกภาพบิดามารดาผดิ ปกติ สมั พนั ธภาพครอบครัวไม่ดี  ความรุนแรงในครอบครัว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook