Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุภาษิตพระร่วง

สุภาษิตพระร่วง

Published by saithip, 2020-08-25 09:35:28

Description: สุภาษิตพระร่วง

Search

Read the Text Version

สุภาษติ พระร่วง



สุภาษติ พระร่วง สภุ าษิตพระรว่ ง ถือเป็นหน่งึ ในวรรณคดีสาคญั ในสมยั สโุ ขทยั สนั นษิ ฐานวา่ อาจแตง่ ขนึ้ ในสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง มหาราช หรอื หลงั สมยั สโุ ขทยั ก็เป็นได้ และในปัจจบุ นั อาจมีการ ดดั แปลงหรอื แตง่ เตมิ จนคลาดเคล่ือนจากของเดิมไปบา้ ง

สุภาษิตพระรว่ ง สุภาษิตพระร่วงมีช่ือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ “บญั ญตั ิพระร่วง” เป็นสุภาษิตที่ เก่าแก่ ไดร้ ับการจดจากนั มาหลายชว่ั คนแลว้ เพ่งิ มาบนั ทึกไวเ้ ป็นหลกั ฐานคร้ัง แรกในสมยั รัชกาลที่ 3 หรือพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ โดยกวีในสมยั น้นั ไดร้ วบรวมและแต่งเติมเสริมต่อใหค้ รบถว้ น แลว้ จารึกไวท้ ี่ผนงั วิหารดา้ นในทางทิศเหนือหนา้ มหาเจดียใ์ นวดั พระเชตุพน วมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวหิ าร หรือวดั โพธ์ิท่าเตียน กรุงเทพฯ เม่ือ พ.ศ. 2379 ต่อมาหอพระสมุดไดร้ วบรวมไวใ้ นหนงั สือประชุมจารึกวดั พระเชตุพนฯ

วดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวหิ าร

ผแู้ ตง่ สุภาษิตพระร่วง ยงั ไม่มีขอ้ สรุปที่แน่นอนวา่ ใครเป็นผแู้ ต่ง สาหรับฉบบั ท่ีนามาเป็นบทเรียนในหนงั สือเล่มน้ีไดร้ ับการชาระ สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เป็นพระราชโอรสองคท์ ี่ 28 ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช มีพระนามเดิม วา่ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าวาสุกรี ทรงพระนิพนธเ์ รื่องต่าง ๆ ไวม้ ากเช่น ลิลิตตะเลงพา่ ย พระราช พงศาวดาร ฉบบั สมเดจ็ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เทศนา พงศาวดารกรุงศรีอยธุ ยา ลิลิตกระบวนพยหุ ยาตราพระกฐิน สถลมารค และชลมารค เป็นตน้

ลักษณะการประพันธ์ ตอนตน้ แต่งดว้ ยร่ายสุภาพ จบแบบโคลงสองสุภาพ ตอนทา้ ยเป็นโคลงกระทูห้ น่ึงบท

ลกั ษณะการประพันธ์ รา่ ยสภุ าพ ปางสมเดจ็ พระร่วงเจา้ เผา้ แผน่ ภพสุโขทยั มลกั เห็นในอนาคต จ่ึงผายพจนประภาษ เป็นอนุสาสนกถา สอนคณานรชน โคลงสองสภุ าพ แถลงเลศเหตุเลือกลว้ น โดยอรรถอนั ถ่องถว้ น เลิศอา้ งทางธรรม แลนา.

ตัวอยา่ งบางตอน เม่ือนอ้ ยใหเ้ รียนวชิ า ใหห้ าสินเม่ือใหญ่ อยา่ ใฝ่ เอาทรัพยท์ ่าน อยา่ ริร่านแก่ความ เขา้ เถ่ือนอยา่ ลืมพร้า หนา้ ศึกอยา่ นอนใจ ไปเรือนท่านอยา่ นง่ั นาน การเรือนตนเร่งคิด อยา่ นงั่ ชิดผใู้ หญ่ อยา่ ใฝ่ สูงใหพ้ น้ ศกั ด์ิ ปลูกไมตรีอยา่ รู้ร้าง สร้างกศุ ลอยา่ รู้โรย หวา่ นพชื จกั เอาผล เล้ียงคนจกั กินแรง น้าเชี่ยวอยา่ ขวางเรือ ท่ีซุม้ เสือจงประหยดั มีสินอยา่ อวดมงั่ ผเู้ ฒ่าส่งั จงจาความ ครูบาสอนอยา่ โกรธ โทษตนผดิ พงึ รู้ อยา่ ขอของรักมิตร ชอบชิดมกั จางจาก ภายในอยา่ นาออก ภายนอกอยา่ นาเขา้ อาสาเจา้ จนตวั ตาย อาสานายจงพอแรง ยอขา้ เมื่อเสร็จกิจ ยอมิตรเม่ือลบั หลงั อยา่ ขดุ คนดว้ ยปาก อยา่ ถากคนดว้ ยตา อยา่ พาผดิ ดว้ ยหู อยา่ เลียนครูเตือนด่า อยา่ ริกล่าวคาคด คนทรยศอยา่ เช่ือ อยา่ มกั ง่ายมิดี อยา่ ตีงูใหแ้ ก่กา อยา่ รักเหากวา่ ผม อยา่ รักลมกวา่ น้า อยา่ รักถ้ากวา่ เรือน อยา่ รักเดือนกวา่ ตะวนั

บทวิเคราะห์ ดา้ นภาษา ใชถ้ อ้ ยคาง่าย ๆ คลอ้ งจอง กะทดั รดั ไมม่ ีศพั ทส์ งู จงึ ทาใหน้ ่าอา่ น เพราะงา่ ย ตอ่ การเขา้ ใจและจดจา แตล่ ะวรรคจะสอน เพียงเรอ่ื งเดียวเป็นใจความสนั้ ๆ มเี หตมุ ีผลและมีอปุ มาอปุ ไมย เปรยี บเทียบดี เป็นการสอนศีลธรรมและคติธรรม สานวนโวหาร คลา้ ยกนั กบั ในหลกั ศิลาจารกึ ของพ่อขนุ รามคาแหง

บทวเิ คราะห์(ตอ่ ) คุณคา่ ด้านสังคม เป็นวรรณกรรมเรื่องแรกของไทย ทาหนา้ ท่ีปลกู ฝัง จริยธรรมใหแ้ ก่คนในสงั คม สะทอ้ นใหเ้ ห็นสภาพของ สงั คมไทย (หลายชนช้นั อยรู่ วมกนั - พระมหากษตั ริย์ ขนุ นาง ประชาชน) นอกจากน้ียงั มีการเคารพผอู้ าวโุ ส ครูอาจารย์ สอน ใหค้ นไม่ทาร้ายกนั ช่วยเหลือกนั อยดู่ ว้ ยกนั อยา่ งปกติสุข

บทวเิ คราะห์(ตอ่ ) สอนการปฏบิ ตั ติ น ให้รู้จกั ระวงั ตน \"เมื่อนอ้ ยใหเ้ รียนวิชา ใหห้ าสินเมื่อใหญ่\" \"เขา้ เถ่ือนอยา่ ลืมพร้า หนา้ ศึกอยา่ นอนใจ\" \"เดินทางอยา่ เดินเปลี่ยว น้าเชี่ยวอยา่ ขวางเรือ\"

บทวิเคราะห์(ตอ่ ) สอนการปฏบิ ตั ติ นต่อมติ ร \"อยา่ ควบกิจเป็นพาล\" \"อยา่ อวดหาญแก่เพือ่ น\" \"อยา่ ขอของรักมิตร\" \" อยา่ เบียดเสียดแก่มิตร\" \"ยอมิตรยอลบั หลงั \"

บทวิเคราะห์(ตอ่ ) สอนการปฏบิ ตั ติ นต่อศัตรู \"พบศตั รูปากปราศยั ความในอยา่ ไขเขา”

บทวเิ คราะห์(ตอ่ ) สอนการปฏบิ ัตติ นและเชื่อฟังผู้ใหญ่ \"อยา่ นงั่ ชิดผใู้ หญ่\" \"อยา่ ขดั แขง้ ผใู้ หญ่\" \"อยา่ ใฝ่ ตนใหเ้ กิน“ \"ผเู้ ฒ่าสง่ั จงจาความ\" \"จงนบนอบผใู้ หญ่\" \"เจา้ เคียดอยา่ เคียดตอบ\"

บทวเิ คราะห์(ต่อ) สอนใหร้ ักศกั ด์ิศรีของตนเอง \"รักตนกวา่ รักทรัพย์ อยา่ ไดร้ ับของเขญ็ \"สุวานขบอยา่ ขบตอบ\" \"สู้เสียศีลอยา่ เสียสตั ย\"์ \"ตระกลู ตนจงคานบั \"

บทวิเคราะห์(ต่อ) สอนใหร้ ู้จกั กตญั ญูกตเวที \"เล้ียงคนจกั กินแรง\" \"ภกั ดีอยา่ ด่วนเคียด\" \"อาสาเจา้ จนตาย อาสานายจนพอแรง\" \"ภกั ดีจงอยา่ เกียจ เจา้ เคียดอยา่ เคียดตอบ\"

บทวิเคราะห์(ต่อ) สอนใหร้ ู้จกั เอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผค่ นอ่ืน \"ปลูกไมตรีอยา่ รู้ร้าง \"สร้างกศุ อยา่ รู้โรย\" \"เป็นคนอยา่ ทาใหญ่ \"ขา้ คนไพร่อยา่ ไฟฟนุ \" \"พงึ ผนั เผอ่ื ต่อญาติ\" \"ปลูกไมตรีทว่ั ชน\" \"พรรคพวกพึงทานุก\" \"คนจนอยา่ ดูถูก\"

บทวเิ คราะห์(ตอ่ ) คุณคา่ ทางด้านวรรณศิลป์ สุภาษิตพระร่วง เป็นสุภาษิตท่ีมีความไพเราะ เพราะมีสัมผสั คลอ้ งระหวา่ งวรรค ภายในวรรคมีการเลน่ เสียงสัมผสั พยญั ชนะ เสียง สมั ผสั สระและการเล่นคา - ความไพเราะเกิดจากการสัมผสั ระหวา่ งวรรคทุกวรรค เช่น ปลูกไมตรีอยา่ รู้ร้าง สร้างกศุ ลอยา่ รู้โรย อยา่ โดยคาคนพลอด เขน็ เรือทอดกลางถนน คาที่สัมผสั กนั ไดแ้ ก่ ร้าง - สร้าง, โรย - โดย, พลอด - ทอด

บทวเิ คราะห(์ ต่อ) - ความไพเราะท่ีเกิดจากเสียงสมั ผสั พยญั ชนะภายในวรรค เช่น เผา้ แผน่ ภพสุโขทยั เขน็ เรือทอดทางถนน ชา้ งไล่แล่นเล่ียงหลบ - ความไพเราะท่ีเกิดจากการเล่นซ้าคา ปางมีชอบท่านช่วย ปางป่ วยท่านชิงชงั อยา่ รักเหากวา่ ผม อยา่ รักลมกวา่ น้า อยา่ รักถ้ากวา่ เรือน อยา่ รักเดือนกวา่ ตะวนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook