Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชนิดและหน้าที่ของคำ

ชนิดและหน้าที่ของคำ

Published by saithip, 2020-08-25 09:32:34

Description: ชนิดและหน้าที่ของคำ

Search

Read the Text Version

ชนดิ และหน้าท่ี ของคาในประโยค

“คา” หน่วยทเี่ ลก็ ทสี่ ุดในภาษา ทม่ี ีความหมายและใช้ตามลาพงั ได้เม่ือนาคาหลายคามาประกอบกนั เป็ นหน่วยภาษาใหญ่ขนึ้ เรียกว่า วลี เมื่อนาวลมี าประกอบกนั จะเป็ น ประโยค คำ วลี ประโยค

ประโยค คือ ถอ้ ยคาที่เรียบเรียงข้ึนเพอื่ แสดงความคิด หรือเร่ืองราวที่สมบูรณ์ ซ่ึงเริ่มแรกจะตอ้ งประกอบดว้ ย ประธานและกริยา และประโยคยงั มีหนา้ ท่ีใชส้ ่ือความหมาย ใหส้ มบูรณ์ หรือนาประโยชน์หลาย ๆ ประโยคมาเรียบเรียง ใหเ้ ป็นเร่ืองราวได้

โครงสร้างของประโยค ประโยคจะมีความสมบูรณดว้ ย จะตอ้ งประกอบดว้ ย ๒ ส่วน คือ ภาคประธาน หมายถึง ส่วนสาคญั ของขอ้ ความเป็นผกู้ ระทา เช่น นักเรียนโรงเรียนโพธิสัมพนั ธ์พทิ ยาคารสละที่นง่ั ใหค้ นชรา ส่วนภาคแสดง หมายถึง ส่วนที่แสดงกิริยาอาการหรือความ เป็นไปของภาคประธาน เช่น นกร้องเสียงไพเราะ

ชนิด ของคำ

คานาม คือ คาทใี่ ช้เรียกช่ือ คน สัตว์ สิ่งของต่างๆท้งั ท่มี ตี ัวตน เช่น บ้าน คน ม้า และไม่มีตวั ตน เช่น เวลา จิตใจ อานาจ ฯลฯ แบ่งเป็ น ๕ ชนิด คือ

๑.๑ สามานยนาม (นามทวั่ ไปไม่ช้ีเฉพาะ) เช่น โตะ๊ เรือ ชา้ ง ฯลฯ ๑.๒วสิ ามานยนาม (นามท่ีช้ีเฉพาะเจาะจง) เช่น จงั หวดั ชลบุรี โรงเรียนโพธิสมั พนั ธ์พิทยาคาร ๑.๓สมุหนาม (นามท่ีบอกหมวดหมู่) เช่น ฝงู หมู่ คณะ หน่วย ฯลฯ ๑.๔ลกั ษณนาม (นามบอกลกั ษณะของนามทว่ั ไป มกั จะอยตู่ ามหลงั จานวนนบั ) เช่น ยกั ษส์ องตน ดาวดวงน้นั กระดาษสองแผน่ นาฬิกาหน่ึงเรือน ๑.๕อาการนาม (นามบอกอาการหรือความเป็นอย)ู่ เช่น ความดี ความขยนั ความฝัน การขยนั จงสังเกตคาวา่ “การ” และ “ความ” จะนาหนา้ คากริยา หรือ คาวเิ ศษณ์ จึงเป็นอาการหรือฐานะของนามแตถ่ า้ คาวา่ “การ” และ “ความ” นาหนา้ นาม จะไม่ใช่อาการนาม เช่น การเมือง การคลงั การเรือน ความรัก ฯลฯ

คาสรรพนาม คือคาท่ีใชแ้ ทนคานาม มี ๗ ชนิด

๒.๑ สรรพนามท่ีใชแ้ ทนการพดู จา (บุรุษสรรพนาม) แบ่งเป็น ๑. แทนผพู้ ดู (บุรุษที่๑) เช่น ฉนั ขา้ ขา้ พเจา้ ผม ๒.แทนผฟู้ ัง (บุรุษท่ี๒) เช่น ท่าน เธอ คุณ ๓.แทนผทู้ ่ีกล่าวถึง (บุรุษท่ี๓) เช่น เขา หล่อน มนั ๒.๒ สรรพนามแสดงคาถาม (ปฤจฉาสรรพนาม) ไดแ้ ก่ ใคร อะไร ไหน เช่น ใครตอ้ งการยาแกไ้ อ ๒.๓ สรรพนามท่ีใชช้ ้ีระยะ (นิยมสรรพนาม) เช่น น่ี นน่ั โน่น น้ี เช่น นน่ั หนงั สือเพลง น่ีคือปากกาของฉนั โน่นรุ้งกินน้า ฯลฯ

๒.๔ สรรพนามบอกความไม่เจาะจง (อนิยมสรรพนาม) ไดแ้ ก่ คาวา่ ใคร อะไร ผใู้ ด สิ่งใด ฯลฯ เป็นคาท่ีใชใ้ นประโยคซ่ึงผพู้ ูดไม่ตอ้ งการคาตอบ เช่น อะไรกอ็ ร่อยท้งั น้นั ฉนั ไม่ทราบวา่ ใครอยู่ ๒.๕ สรรพนามบอกความช้ีซ้า(วภิ าคสรรพนาม)ไดแ้ ก่ คาแทนนามซ้าหรือแยกส่วน เช่น เดก็ ตา่ งกร็ ้องเพลง สุนขั กดั กนั นกั เรียนบา้ งกเ็ รียนบา้ งกเ็ ลน่ ๒.๖ สรรพนามเชื่อมประโยค(ประพนั ธสรรพนาม) คือ คานามท่ีทาหนา้ ท่ีแทน นามที่อยขู่ า้ งหนา้ และเช่ือมประโยคกบั ประโยค เช่น บุคคลผเู้ สียสละเพือ่ ชาติควร ไดร้ ับการยกยอ่ ง ผู้ แทนบุคคลและเช่ือมประโยค ๒ ประโยค คือ บุคคลเสียสละ เพ่อื ชาติ และ บุคคลท่ีควรไดร้ ับการยกยอ่ ง

๒.๗ สรรพนามใชเ้ นน้ นามตามความรู้สึกของผพู้ ูด ใชห้ ลงั คานามเพอ่ื บอกความรู้สึก ของผพู้ ดู ที่มีตอ่ บุคคลท่ีกลา่ วถึง เช่น ตาสมแกเป็นคนมีอารมณ์ขนั (บอกความรู้สึกสนิทสนม) คุณมานีเธอดีกบั ทุกคน (บอกความรู้สึกยกยอ่ ง) ขโมยมนั ถูกจบั ไปแลว้ (บอกความรู้สึกดูหมิ่น รังเกียจ)

คากรยิ า คือ คาท่ีแสดงความหมายวา่ กระทาหรืออาการหรืออยใู่ นสภาพ แบ่งเป็น ๓.๑ กริยาไม่ตอ้ งมีกรรม (อกรรมกริยา) เช่น มา้ ตวั โตข้ึน (แสดงอาการ) ๓.๒ กริยาที่ตอ้ งมีกรรม (สกรรมกริยา ) เช่น ฉนั ตม้ น้า (กระทา) ๓.๓กริยาที่ตอ้ งอาศยั ส่วนเติมเตม็ (วิกตรรถกริยา) ไดแ้ ก่คาวา่ เป็น เหมือน คลา้ ย เท่า คือ แปลวา่ เช่น เขาคลา้ ยอรัญญา นอ้ งสูงเท่าพ่ี เขาเป็นครู ๓.๔ กริยาช่วย (กริยานุเคราะห์) ทาหนา้ ท่ีช่วยกริยาแทใ้ นประโยค เช่น ฉนั จะศึกษาวิชาภาษาไทย วนั น้ีฝนอาจจะตก เขาคงจะไม่มาแลว้ ฯลฯ

คาวเิ ศษณ์ คือ คาทใ่ี ช้ ขยายคาอื่น เป็ นการเพม่ิ ความหมายขนึ้ เช่น บอกลกั ษณะ บอก คุณภาพ บอกปริมาณ คาวเิ ศษณ์ ฯลฯ แบ่งออกเป็ น ดังนี้ ๑. คาบอกลกั ษณะ สัณฐาน คุณภาพ เช่น เดก็ ตะกละกนิ ท้งั วนั ๒. คาแสดงขนาด ปริมาณ จานวน เช่น นกยูงราแพนบ่อยๆ ๓.คาแสดงสถานที่ เช่น เขาเดินไกลออกไป ๔.คาแสดงเวลา เช่น รถจะไปเทย่ี วเวลาบ่าย ๕.คาแสดงความหมายปฏิเสธ เช่น นวนิยายเร่ืองนีไ้ ม่สนุก

คาบพุ บท คือ คาท่ีทาหนา้ ท่ีนาหนา้ นาม สรรพนาม หรือกลุ่ม คากริยาที่ทาหนา้ ที่เหมือนคานาม เพ่อื บอกสถานที่ เวลา แสดงอาการ หรือแสดงความเป็นเจา้ ของ เช่น คนในเมือง เขามาก่อนฉนั เขามอบของขวญั แก่เธอ คุณป้าคุยกบั คุณลุง กระเป๋ าของฉนั

คาสันธาน คือ คาที่ใชเ้ ชื่อมประโยคกบั ประโยค คาสนั ธานอาจเป็น คาเช่ือมระหวา่ งคากบั กลุ่มคา แต่ขอ้ ความท่ีมีคาสนั ธานอยจู่ ะ แยกออกเป็นประโยคมากกวา่ หน่ึงประโยคเสมอ เช่น นทั อา่ นหนงั สือแต่นนทด์ ูโทรทศั น์ ครูใหอ้ ภยั แก่เขาเพราะเขาสานึกผดิ วรวทิ ยแ์ ละสิทธิพรเป็นเดก็ ดีมีน้าใจ กวา่ ตารวจจะมาถึงผรู้ ้ายกห็ นีไปไกลแลว้ ท้งั ฝนตกท้งั พายกุ แ็ รง

คาอุทาน คาท่ีแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผพู้ ดู แบ่งเป็น ๑. อุทานบอกอาการ ไดแ้ ก่ อาการของอารมณ์ต่างๆ เช่น เสียใจ โธ่! ไม่น่าเสียชีวติ ยงั เดก็ อยเู่ ลย แปลกใจ เอะ๊ ! ทาอยา่ งน้ีไดอ้ ยา่ งไร ประหลาดใจ ตายแลว้ ! ทาไมเป็นอยา่ งน้ี ๒. อทุ านเสริมบท คือ คาท่ีพดู แสริมข้ึนมาโดยไม่มี ความหมาย มกั อยู่ หนา้ หรือหลงั หรือแทรกอยกู่ ลางคา เช่น สญั ญิงสญั ญา ขนมขตม้ สบั ปะด้ีสีปะดน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook