Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

Published by saithip, 2020-07-28 09:53:44

Description: ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

Search

Read the Text Version

ทกุ ข์ของชาวนาในบทกวี

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี ทกุ ขข์ องชาวนาในบทกวเี ป็นบทความพระราชนิพนธ์ ใน สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ การเอาพระทยั ใสค่ วาม เขา้ พระทยั ใน ปัญหาตา่ ง ๆ ตลอดจนพระเมตตาของพระองคท์ ่ี ทรงมตี ่อ ชาวนา เน่ืองดว้ ยชาวนาแต่ละทอ้ งทล่ี ว้ นมสี ภาพชวี ติ และ ความทุกขย์ ากทไ่ี มแ่ ตกตา่ งกนั เลย แมว้ า่ กาลเวลาจะผนั ผา่ นไปอยา่ งไรกต็ าม

ผแู้ ต่ง สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี

ลกั ษณะคาประพันธ์ รอ้ ยแกว้ ประเภทบทความ จดุ มงุ่ หมายในการแต่ง เพอ่ื แสดงพระราชดารเิ กย่ี วกบั บทกวขี องไทยและบทกวี จนี ซง่ึ กลา่ วถงึ ชวี ติ และความทกุ ขข์ องชาวนา

ความเปน็ มา ทุกขข์ องชาวนาในบทกวมี ที ม่ี าจากหนงั สอื รวมบท พระราช นิพนธใ์ นสมเดจ็ พระเทพ-รตั นราชสดุ า ฯ สยามบรม ราชกุมารเี รอ่ื ง มณีพลอยรอ้ ยแสง ซง่ึ ทรงพระกรณุ าโปรด เกลา้ ฯ ใหจ้ ดั พมิ พข์ น้ึ เมอ่ื พ.ศ. 2533 ในวโรกาสทพ่ี ระองค์ ทรงเจรญิ พระชนมายุครบ 3รอบ โดย นิสติ คณะอกั ษร ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั รนุ่ ท4่ี 1 พระราช นิพนธ์ นนั้ แสดงใหเ้ หน็ แนวพระราชด ารเิ กย่ี วกบั บทกวขี องไทยและ จนี ทก่ี ลา่ วถงึ ชวี ติ และความทกุ ขข์ องชาวนาซง่ึ มสี ภาพชวี ติ ท่ี ไม่ แตกต่างกนั นกั

เนื้อความในตอนแรกของบทความเรอื่ ง ทกุ ขข์ อง ชาวนาในบทกวี สมเดจ็ พระเทพพระรตั นราชสดุ าฯ สยาม บรมราชกมุ ารีได้ทรงยกบทกวีของ จิตร ภมู ิศกั ด์ิซ่ึงกล่าวถึง ชีวิตและความทกุ ขย์ ากของชาวนา

เปิบขา้ วทุกคราวคา จงสจู าเป็นอาจณิ เหงอ่ื กูทส่ี กู นิ จงึ กอ่ เกดิ มาเป็นคน ขา้ วน้ีน่ะมรี ส ใหช้ นชมิ ทุกชนั้ ชน เบอ้ื งหลงั สทิ ุกขท์ น และขมขน่ื จนเขยี วคาว ระยะทางนนั้ เหยยี ดยาว จากแรงมาเป็นรวง ลว้ นทุกขย์ ากลาเคญ็ เขญ็ จากรวงเป็นเมด็ พราว ทุกหยดหยาดลว้ นยากเยน็ เหงอ่ื หยดสกั กห่ี ยาด จงึ แปรรวงมาเปิบกนิ ปดู ปนู กเ่ี สน้ เอน็ และน้าแรงอนั หลงั่ รนิ น้าเหงอ่ื ทเ่ี รอ่ื แดง ทส่ี ซู ดกาซาบฟัน สายเลอื ดกทู งั้ สน้ิ (จติ ร ภมู ศิ กั ด)ิ ์

ต่อมาพระองคไ์ ด้ทรงอ่านบทกวีของชาวจีบบทหน่ึง มีใจความว่า หวา่ นขา้ วในฤดใู บไมผ่ ลิ ขา้ วเมลด็ หน่ึง จะกลายเป็นหมน่ื เมลด็ ในฤดใู บไมร้ ว่ ง รอบขา้ งไมม่ นี าทไ่ี หนทง้ิ วา่ ง แตช่ าวนากย็ งั อดตาย ตอนอาทติ ยเ์ ทย่ี งวนั ชาวนายงั พรวนดนิ เหงอ่ื หยดบนดนิ ภายใตจ้ น้ ขา้ ว ใครจะรบู้ า้ งวา่ ในจานใบนนั้ ขา้ วแตล่ ะเมด็ คอื ความยากแคน้ แสนสาหสั (หลเ่ี ชนิ )

เรอ่ื งยอ่ เน้ือความในตอนแรกของบทความเรอ่ื ง ทุกขข์ องชาวนา ในบทกวี สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้ ทรงยกบทกวขี องจติ ร ภมู ศิ กั ดซิ ์ ง่ึ ไดก้ ลา่ วถงึ ชวี ติ และ ความทุกข์ ยากของชาวนา ต่อมาทรงแปลบทกวจี นี ของหลเ่ี ชนิ เป็น ภาษาไทยทาให้ มองเหน็ ภาพของชาวนาจนี เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ชาวนาไทยว่า มไิ ดม้ คี วามแตกต่างกนั แมใ้ นฤดกู าลเพาะปลกู ภมู อิ ากาศจะ เออ้ื อานวยใหพ้ ชื พนั ธุธ์ ญั ญาหารบรบิ รู ณ์ดแี ต่ ผลผลติ ไมไ่ ดต้ ก เป็นของผผู้ ลติ คอื ชาวนาเทา่ ทค่ี วร

สว่ นทส่ี าคญั ทส่ี ดุ คอื ทรงชใ้ี หเ้ หน็ วา่ แมจ้ ติ ร ภมู ศิ กั ดิ์และ หลเ่ี ชนิ จะมกี ลวธิ กี ารนาเสนอบทกวที แ่ี ตกต่างกนั แต่ทงั้ สองทา่ น มแี นวความคดิ ทค่ี ลา้ ยกนั คอื มงุ่ ทจ่ี ะกลา่ วถงึ ความ ทกุ ขย์ ากของ ชาวนาและทาใหเ้ หน็ วา่ ชาวนาในทกุ แหง่ และ ทกุ ยุคทกุ สมยั ลว้ น ประสบแตค่ วามทกุ ขย์ ากไมแ่ ตกต่างกนั เลย

บทวิเคราะห์ คณุ ค่าด้านภาษา กลวธิ กี ารแตง่ ทกุ ขข์ องชาวนาในบทกวี นบั เป็นตวั อยา่ งอนั ดขี อง บทความทส่ี ามารถยดึ ถอื เป็นแบบอยา่ งได้ ดว้ ยแสดงใหเ้ หน็ แนวความคดิ ทช่ี ดั เจน ลาดบั เรอ่ื งราวเขา้ ใจงา่ ย และมสี ว่ นประกอบ ของการเขยี นบทความอยา่ งครบถว้ น คอื สว่ นนา เน้ือเรอ่ื ง สว่ นสรปุ

บทวเิ คราะห์ คณุ ค่าด้านสงั คม สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ไดท้ รงยกบทกวขี อง จติ ร ภมู ศิ กั ดซิ์ ง่ึ แต่งดว้ ย กาพยย์ านี 11 จานวน 5บท มเี น้ือหาเกย่ี วกบั ความยากลาบากของ ชาวนาทป่ี ลกู ขา้ วซง่ึ เป็นอาหารหลกั ของคนทุกชนชนั้

บทสรปุ พระราชนิพนธ์ เรอ่ื ง ทกุ ขข์ องชาวนาในบทกวแี สดง ใหเ้ หน็ ถงึ ความเขา้ พระทยั และเอาพระทยั ใสใ่ นปัญหาการ ดารงชวี ติ ของ ชาวนาไทย ทงั้ ยงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ พระเมตตา อนั เป่ียมลน้ ของ พระองคท์ ท่ี รงมตี อ่ ชาวนาผมู้ อี าชพี ปลกู ขา้ วเป็นหลกั เรม่ิ ชวี ติ และ การทางานตงั้ แต่เชา้ จรด ค่า ทางานแบบหลงั สฟู้ ้า หน้าสดู้ นิ ตลอด ทงั้ ปี ดงั นนั้ ในฐานะผบู้ รโิ ภค จงึ ควรสานกึ ในคณุ ค่าและ ความหมาย ของชาวนาทป่ี ลกู \"ขา้ ว\" อนั เป็นอาหารหลกั เพอ่ื การมชี วี ติ อยรู่ อด ของคนไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook