Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเขียนสื่อสารด้วยถ้อยคำ

การเขียนสื่อสารด้วยถ้อยคำ

Published by saithip, 2020-08-24 09:17:21

Description: การเขียนสื่อสารด้วยถ้อยคำ

Search

Read the Text Version

“การเขียนเป็นทกั ษะพืน้ ฐาน ของการเรยี นรู้ เป็นเครอ่ื งมือท่ีจะช่วย พฒั นาการศกึ ษารายวิชาตา่ งๆ ท่ีมีความละเอยี ดลกึ ซงึ้ ผทู้ ่ีใชถ้ อ้ ยคาํ ประกอบ การเขียนไดส้ ละสลวยถกู ตอ้ ง สามารถ สรา้ งสรรคเ์ ป็นวิชาชีพได้ แตป่ ระโยชนท์ ่ี สาํ คญั ท่ีสดุ คือ การเขียนชว่ ยลาํ ดบั ความคดิ ในการส่อื สาร ผทู้ ่ีรบั สารจะเขา้ ใจในเนือ้ หา รไทย และจดุ มงุ่ หมายอยา่ งชดั เจน ดงั นนั้ การ เขียน จงึ เป็นทกั ษะท่ีตอ้ งฝึกฝนใหเ้ กิดความชาํ นาญ

การคดั ลายมือ

การคดั ลายมือ เป็นการฝึกเขียนตวั อกั ษรไทยใหถ้ กู ตอ้ งตาม หลกั การเขียนคาํ ไทย ซง่ึ ตอ้ งคาํ นงึ ถงึ ความถกู ตอ้ งของอกั ษรไทย เขียนให้ อา่ นง่าย มีช่องไฟ มวี รรคตอน ตวั อกั ษรเสมอกนั วางพยญั ชนะ สระ และ วรรณยกุ ตใ์ หถ้ กู ท่ี ตวั สะกด การนั ตถ์ กู ตอ้ ง และลายมือสวยงาม การคดั ลายมือมแี บบการคดั หลายแบบ ซง่ึ แบง่ ได้ ๒ ประเภท คือ ตวั เหล่ยี ม และตวั กลมหรอื หวั มน

ลกั ษณะของการคดั ลายมือ การคดั ลายมือมี ๓ ลกั ษณะ คอื ๑. การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เหมาะสาํ หรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๒ เน่ืองจากเป็นชว่ งท่ีกลา้ มเนือ้ และการประสาน ระหวา่ งตากบั มือยงั พฒั นาไมเ่ ต็มท่ี ๒. การคดั ลายมือตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั เหมาะสาํ หรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ และ ๔ เน่ืองจากจะมีการประสานระหวา่ งกลา้ มเนือ้ และตาเพ่ิมมากขนึ้

๓. การคดั ลายมือหวดั แกมบรรจง เป็นการคดั ลายมือหวดั แตใ่ ห้ อา่ นออก การเขียนลายมอื หวดั แกมบรรจงเป็นการเขียนท่ีใชใ้ น ชีวติ ประจาํ วนั ซง่ึ ผเู้ ขียนจะตอ้ งเขียนใหอ้ า่ นง่าย มีช่องไฟ เวน้ วรรคตอน ถกู ตอ้ ง และเขียนดว้ ยลายมือท่ีสวยงาม โดยคดั ใหร้ วดเรว็ สวยงาม ถกู ตอ้ ง และนา่ อา่ น

การคดั ลายมอื ลายมือ คือ ตวั หนงั สือเขียนท่ีมีลกั ษณะเฉพาะ บง่ บอกวา่ เป็นของผหู้ นง่ึ ผใู้ ด ซง่ึ การฝึกคดั ลายมือ จะชว่ ยทาํ ใหผ้ เู้ ขียนเขียนหนงั สือไดอ้ ยา่ งสวยงาม และเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย ข้อควรปฏบิ ัตใิ นการฝึ กคัดลายมอื ๑. น่งั วางสมดุ และจบั ดินสอดว้ ยทา่ ทางและวธิ ีท่ีถกู ตอ้ ง ๒. เขียนดว้ ยความตงั้ ใจ ๓. เขียนตวั อกั ษรถกู ตอ้ งตามแบบการเขียนอกั ษรไทย ๔. เขียนพยญั ชนะจรดเสน้ บรรทดั บน-ลา่ ง ๕. เวน้ ระยะชอ่ งไฟใหเ้ ทา่ กนั และสม่าํ เสมอ ๖. วางรูปพยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ตใ์ หถ้ กู ตาํ แหนง่



ตวั อกั ษรแบบกระทรวงศกึ ษาธิการ

การใช้ภาษา ประกอบการเขยี น

การเขียน คือ การแสดงความรู้ ความคิด ความรูส้ กึ จินตนาการ และความตอ้ งการของผเู้ ขียน เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร เพ่อื ใหผ้ รู้ บั สาร สามารถอา่ นเขา้ ใจตรงตามท่ีผเู้ ขียนตอ้ งการ ซง่ึ ตอ้ งขนึ้ อยกู่ บั องคป์ ระกอบหลายๆ อยา่ งของทงั้ ผเู้ ขียนและผอู้ า่ น การใชภ้ าษา ประกอบการเขียน ทงั้ รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรองตอ้ งรูจ้ กั เลือกใชค้ าํ ให้ ถกู ตอ้ งและมีนา้ํ หนกั โดยยดึ ลกั ษณะของภาษาไทยเป็นพืน้ ฐาน เพ่อื ให้ การเขียนบรรลจุ ดุ มงุ่ หมาย

๑.การเลือกใช้คาํ ใหถ้ กู ตอ้ งตามความหมาย ไดแ้ ก่ ๑.๑) ถกู ตอ้ งตามความหมายท่ีแทจ้ รงิ ของคาํ เช่น ตาํ รวจจบั กมุ กลมุ่ วยั รุน่ ท่ีหมกมนุ่ กนั อยใู่ นหอ้ งเช่า หมกมนุ่ หมายถงึ การเอาใจจดจอ่ อยกู่ บั สิง่ ใดสิง่ หน่งึ ควรใช้ ม่วั สมุ เพราะการถกู จบั แสดงวา่ มพี ฤตกิ รรมท่ีไม่เหมาะสม

๑.๒) ถกู ตอ้ งตามความนยิ ม คาํ ท่ีมีความหมายเดยี วกนั บางครงั้ อาจ ใชแ้ ทนกนั ได้ แตบ่ างครงั้ อาจใชแ้ ทนกนั ไมไ่ ด้ ขนึ้ อยกู่ บั ความนิยม เช่น แถวนีอ้ ากาศชืน้ ทาํ ใหม้ ียงุ ชมุ (มารวมกนั จากท่ีตา่ งๆ) หลงั บา้ นของฉนั มมี ะมว่ งดกเต็มตน้ (มาก, มากกวา่ ปกติ) กรมอตุ นุ ิยมวิทยาแจง้ วา่ ปีนีจ้ ะมฝี นตกชกุ (มีคืน, มีมากมาย) แถวนีม้ ีโจรชกุ ชมุ (มีคนื , มีมากมาย) จะเหน็ วา่ คาํ ทงั้ ๔ มีความหมายเดยี วกนั แตจ่ ะนาํ มาใชป้ ระกอบประโยคใน บรบิ ท ตา่ งกนั โดยนิยมประกอบประโยควา่ “มะมว่ งดก” มากกวา่ ท่ีจะประกอบ วา่ “มะมว่ งชกุ ” หรอื นยิ ม ประกอบประโยควา่ “ยงุ ชมุ ” มากกวา่ ท่ีจะประกอบวา่ “ยงุ ชกุ ชมุ ”

๒) การใช้คาํ ให้ถูกต้องตามระเบยี บภาษา ไดแ้ ก่ ๒.๑) การใชต้ วั สะกด เครอ่ื งหมาย ทณั ฑฆาต์ และรูปวรรณยกุ ต์ ตวั สะกด ภาษาไทยมีคาํ ท่ีสะกดต่างกนั แตอ่ า่ นออกเสยี งเหมือนกนั หากผใู้ ชส้ ะกดไม่ ถกู ตอ้ ง ความหมายของคาํ จะเปล่ยี นแปลงไปไมส่ อดคลอ้ งกบั เจตนา เช่น เขาไมส่ นใจเร่อื งเก่ียวกบั การบา้ นการเมือง เขาไมไ่ ดค้ าดการณล์ ว่ งหนา้ มาก่อน เครือ่ งหมายทณั ฑฆาต มกั มีการเขียนผดิ ตามความเคยชิน เช่น กอปร (ประกอบ) มกั เขียนเป็น กอรป์ ชชั วาล มกั เขียนเป็น ชชั วาล รูปวรรณยกุ ต์ ถา้ วางรูปผิดตาํ แหนง่ ความหมายของคาํ จะผิดไปหรอื ทาํ ใหเ้ สยี งผดิ เชน่ นะคะ มกั เขียนเป็น นะคะ ขมขนึ้ ถา้ เขียนเป็น ข่มขืน ความหมายจะแตกตา่ งกนั

๒.๒) การใช้ลักษณนาม เพราะลกั ษณนามจะบง่ บอกลกั ษณะของนาม ขา้ งหนา้ และตอ้ ง วางใหถ้ กู ท่ี ซง่ึ ปกติลกั ษณนามจะวางไวห้ ลงั จาํ นวนนบั เช่น ผิด ตาํ รวจลอ้ มจบั ๓ โจร ถกู ตาํ รวจลอ้ มจบั โจร ๓ คน ผดิ ถนนเสน้ นีข้ รุขระมาก ถกู ถนนสายนีข้ รุขระมาก ๒.๓) การใช้อาการนาม คือ คาํ วา่ การ ความ ใหถ้ กู ตอ้ งและใชใ้ นท่ีจาํ เป็น เชน่ ผดิ เขาใหค้ วามตอ้ นรบั เธออยา่ งเตม็ ท่ี ถกู เขาตอ้ นรบั เธออยา่ งเตม็ ท่ี ผิด หญิงชราถึงแก่การตาย ถกู หญิงชราถงึ แก่ความตาย

๒.๔) การใช้คาํ เช่ือม (สนั ธาน) คาํ บพุ บทใหถ้ กู ตอ้ ง เช่น ผิด คณุ แม่ซอื้ ของขวญั ใหก้ บั ฉนั ถกู คณุ แมซ่ อื้ ของขวญั ใหแ้ ก่ฉนั ผดิ ประชาชนมอบช่อดอกไมแ้ ก่ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ถกู ประชาชนมอบช่อดอกไมแ้ ดผ่ วู้ า่ ราชการจงั หวดั

๓) ใช้คาํ ใหถ้ ูกตามชนิดและหน้าทข่ี องคาํ และถูกตามฐานะของบุคคล เช่น ผิด วนั นีเ้ ขาใสเ่ สอื้ สีแดง ถกู วนั นีเ้ ขาสวมเสือ้ สีแดง ผิด เป็นคราวเคราะหด์ ีท่ีมีคนผา่ นมาช่วยเธอทนั ถกู เป็นคราวโชคดที ่ีมีคนผา่ นมาชว่ ยเธอทนั ผดิ แหม! เธอปลอ่ ยใหร้ อตงั้ นานกวา่ จะเสดจ็ มาได้ ถกู แหม! ฉนั ตอ้ งรอเธอตงั้ นานกวา่ เธอจะมา

๔) ไม่ใช้คาํ ฟ่ ุมเฟื อย เช่น ผิด ตาํ รวจยิงคนรา้ ยตายหมด ไม่มีใครรอด ถกู คนรา้ ยถกู ตาํ รวจยิงตายทงั้ หมด ๕) ไม่ใช้สาํ นวนภาษาตา่ งประเทศ เช่น ผิด หนงั สอื เลม่ นีถ้ กู แตง่ โดยกวีชาวไทยเม่ือ ๓๐ ปีมาแลว้ ถกู กวีชาวไทยแตง่ หนงั สอื เลม่ นีเ้ ม่ือ ๓๐ ปีท่ีแลว้

มารยาทในการเขียน

๑. การนาํ เสนองานเขียนในรูปแบบส่งิ พมิ พ์ ผเู้ ขียนจะตอ้ งศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู จากแหลง่ ตา่ งๆ มากกวา่ ๑ แหลง่ นาํ มาวเิ คราะห์ แยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ ขอ้ คิดเหน็ เปรยี บเทียบความ น่าเช่ือถือ นอกจากนีข้ อ้ มลู จะตอ้ งมีความทนั สมยั สว่ นการแชรเ์ ร่อื งตา่ งๆ ผ่าน Social Network เร่อื งนนั้ ตอ้ งเป็นเร่อื งจรงิ ไมใ่ ชข่ อ้ ความท่ีมีลกั ษณะเป็นขา่ วลือหรอื เป็นเร่อื ง คาดเดา ๒.เม่ือผเู้ ขียนนาํ ขอ้ ความของผอู้ ่ืนมาใช้ หรอื อา้ งถงึ ในงานเขียนของตน จะตอ้ งใหเ้ กียรติ เจา้ ของผลงานดว้ ยการอา้ งอิงแหลง่ ท่ีมาในรูปแบบตา่ งๆ เช่น เชิงอรรถ บรรณานกุ รม

๓.การเขียนวพิ ากษ์ วจิ ารณ์ แสดงความคดิ เหน็ ตอ่ เรอ่ื งใดเรอ่ื งหนง่ึ หรอื สงิ่ ใดส่งิ หน่งึ ไมว่ า่ จะ เผยแพรผ่ า่ นสิง่ พิมพ์ หรอื ผา่ น Social Network ผเู้ ขียนจะตอ้ งส่อื สาร อยา่ งมีสติ ใชข้ อ้ มลู แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมีเหตผุ ล อยบู่ นพืน้ ฐานของขอ้ เทจ็ จรงิ ไมใ่ ชอ้ ารมณ์ ๔.การส่อื สารแบบออนไลน์ ผเู้ ขียนจะตอ้ งใชง้ านอยา่ งมีสติ รูต้ วั อยเู่ สมอวา่ กาํ ลงั อยู่ ณ ท่ีใด เม่ือเขา้ ไปในพืน้ ท่ีใหมค่ วรศกึ ษาทาํ ความรูจ้ กั กบั ชมุ ชนออนไลนน์ นั้ กอ่ นท่ีจะ เขา้ รว่ มสนทนา หรอื ทาํ กิจกรรมใดๆ

๕. การใชภ้ าษาในงานเขียน ควรสะกดคาํ ใหถ้ กู ตอ้ ง ผกู ประโยคใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ สภุ าพ ไมใ่ ชภ้ าษากาํ กวมหรอื ทาํ ใหต้ ีความไดห้ ลายแง่มมุ สว่ นการใชภ้ าษา ส่อื สารบนโลก ออนไลน์ แมจ้ ะไมเ่ ครง่ ครดั ในเร่อื งไวยากรณ์ แตผ่ เู้ ขียนก็ควรใหค้ วามสาํ คญั กบั การสะกดคาํ ไมใ่ ชถ้ อ้ ยคาํ หยาบคาย เติมอารมณค์ วามรูส้ กึ อยา่ งรุนแรงจนเป็นชนวนให้ เกิดการทะเลาะ วิวาทกนั ในกลมุ่ สมาชิก และควรทบทวนใหถ้ ่ีถว้ นก่อนท่ีจะเขียน ๖. การส่อื สารบนโลกออนไลน์ หากผเู้ ขียนตงั้ ประเดน็ คาํ ถาม หรอื ประเดน็ ท่ีตอ้ งการให้ ผอู้ ่ืน รว่ มแสดงความคดิ เห็นไว้ แลว้ มีผเู้ ขา้ มาตอบคาํ ถาม แสดงความคดิ เห็น ชีแ้ นะ ผเู้ ขียนหรอื ผตู้ งั้ ประเดน็ ควรจะเขา้ ไปขอบคณุ หรอื แสดงการรบั รู้ ซง่ึ ถือเป็นมารยาท สาํ คญั นอกจากนี้ การเขียนแสดงความคิดเห็นตอ่ ประเด็น หรอื เร่อื งราวของผอู้ ่ืน จะตอ้ ง เขียนใหส้ อดคลอ้ ง กบั เร่อื ง ไมใ่ ชเ่ ขียนแสดงความคิดเห็นดว้ ยขอ้ ความขายสนิ คา้ หรอื ประกาศรบั สมคั รงาน เพราะเป็นการไมใ่ หเ้ กียรตเิ จา้ ของเรอ่ื ง และรบกวนการตดิ ตาม ของสมาชกิ คนอ่ืนๆ

การเขียนเป็นการส่อื สารท่ีสาํ คญั ซง่ึ ผเู้ ขียนจาํ เป็นตอ้ งเรยี นรู้ หลกั เกณฑ์ วิธีการเขียน ตลอดจนหลกั การใชภ้ าษา เพ่อื เลอื กสรรถอ้ ยคาํ ภาษามาใชไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม และสละสลวย นอกจากนีผ้ เู้ ขียนตอ้ ง ฝึกฝนการเขียนอยา่ งสมํา่ เสมอ เน่ืองจากการเขียน เป็นทงั้ ศาสตรแ์ ละศิลป์ ท่ี ตอ้ งอาศยั ทกั ษะการฝึกฝน โดยเรม่ิ ตน้ จากการตงั้ จดุ ประสงค์ ท่ีชดั เจนวา่ ผเู้ ขียนตอ้ งการนาํ เสนอเรอ่ื งใด กาํ หนดกลมุ่ เปา้ หมายและเลือกประเภทของ งานเขียนใหเ้ หมาะสม นาํ เสนอดว้ ยการใชถ้ อ้ ยคาํ สาํ นวนภาษาอยา่ งประณีต เพ่อื ใหก้ าร ส่อื สารเกิดประสทิ ธิภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook